บทที่ 6 การต่อยอดการวางแผนทรัพยากรองค์กร

Download Report

Transcript บทที่ 6 การต่อยอดการวางแผนทรัพยากรองค์กร

บทที่ 6
พัฒนาการต่ อขยายระบบ
การวางแผนทรัพยากรองค์ กร
มาตรฐานการวางแผนทรัพยากร
• ผู้พฒ
ั นาการวางแผนทรัพยากรองค์กรต่างพยายามที่จะทาระบบอื่นๆ ทุก
ประเภทมาตอบสนองผู้ใช้ โดยมีเหตุผลดังนี ้
• โดยไม่ต้องจัดหาระบบอื่นๆ ของผู้พฒ
ั นารายอื่น
• เหตุผลทางการค้ าที่จะรักษาลูกค้ าไว้ ให้ มากที่สดุ
• ข้ อจากัดทางด้ านเทคนิค เนื่องจากขาดมาตรฐานในการเชื่อมต่อจึงไม่มี
เทคโนโลยีการเชื่อมต่อที่ได้ รับความยอมรับในวงกว้ าง
• ผู้พฒ
ั นาการวางแผนทรัพยากรองค์กรต้ องสร้ างมาตรฐานของตนเอง อย่าง
กรณีของเอสเอพีอาบัป (SAP ABAP) เพราะต้ องการใช้ การเชื่อมต่อโดย
ไฟล์ ซึง่ ต้ องทางานแบบแบทช์เท่านัน้ ซึง่ ต้ องใช้ ต้นทุนสูงทังการพั
้
ฒนาและ
การบารุงรักษา
การเชื่อมต่อโปรแกรมการวางแผนทรัพยากรองค์กร
• โปรแกรมการวางแผนทรัพยากรองค์กรต่างๆ จึงไม่ต้องการที่จะเชื่อมต่อ แต่
เอางบประมาณสาหรับพัฒนาการเชื่อมต่อไปใช้ ในการพัฒนาระบบอื่นๆ ที่
ลูกค้ าต้ องการ เพราะใช้ งบลงทุนพอๆ กัน
• แต่ระบบเหล่านันมั
้ กจะเป็ นระบบที่เน้ นการไหลของงาน (flow centric)
ให้ การทางานระหว่างหน่วยงานเป็ นไปได้ อย่างรวดเร็ วยิ่งขึ ้น
• การวางแผนทรัพยากรองค์กรออกแบบมาเน้ นการเป็ นแกนกลางของระบบ
ฐานข้ อมูลองค์กร และมีการจัดการไหลแบบ data centricการวางแผน
ทรัพยากรองค์กร จึงสามารถทางานได้ ในระดับหนึง่ เท่านัน้
• เมื่อเทคโนโลยีที่ใช้ ในการเชื่อมต่อผ่านมาตรฐานต่างๆ โดยเฉพาะ เว็บ 2.0
ได้ รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย ทาให้ ผ้ พู ฒ
ั นาการวางแผนทรัพยากร
องค์กรต่างยอมรับการเชื่อมต่อมากขึ ้น
การเชื่อมต่อโปรแกรมการวางแผนทรัพยากรองค์กร
• เมื่อการวางแผนทรัพยากรองค์กรยอมรับในการเชื่อมต่อมากขึ ้น การต่อ
ขยายระบบก็เป็ นไปได้ โดยรวดเร็ว ระบบต่างๆ สามารถทางานประสาน
กับการวางแผนทรัพยากรองค์กรได้ มากขึ ้น
• ความพร้ อมของเทคโนโลยี จึงช่วยให้ การเชื่อมต่อเป็ นไปได้ ทงแบบ
ั้
แบทช์ และแบบออนไลน์ ทังที
้ ่เป็ นการพัฒนาโปรแกรมเชื่อมต่อเป็ นพหุ
ภาคี และโปรแกรมเชื่อมต่ออย่างหลากหลาย เช่น การบูรณาการ
แอพพลิเคชัน่ ขององค์การ (Enterprise Application
Integration – EAI)
1. การต่ อขยายด้ วยระบบบริหารลูกค้ าสั มพันธ์
• ระบบบริ หารลูกค้ าสัมพันธ์หรื อซีอาร์ เอ็ม (Customer Relationship
Management – CRM) นี ้ เป็ นระบบงานที่เน้ นการไหลของงานเช่นกัน
(flow centric) ข้ อมูลของระบบบริ หารลูกค้ าสัมพันธ์จะถูกผลักให้ ไหลผ่านไปยัง
ฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการบริ การลูกค้ าและการขายสินค้ าและบริการต่างๆ เช่น
เมื่อลูกค้ าซื ้อสินค้ าจากฝ่ ายขาย ระบบจะแจ้ งไปยังฝ่ ายบริ การให้ ดาเนินการเข้ า
บริ การหลังการขาย หลังจากนันข้
้ อมูลจะไหลไปยังฝ่ ายติดตามและประเมินผล ทา
การติดตามสอบถามลูกค้ าถึงความพึงพอใจในสินค้ าและบริ การ เป็ นต้ น ซึง่
กระบวนการต่างๆ เหล่านี ้จะไหลไปอย่างต่อเนื่อง
• มีเพียงบางขันตอนที
้
่ต้องเชื่อมโยงกับการวางแผนทรัพยากรองค์กร เช่น เมื่อมีการ
ขายสินค้ าจะส่งข้ อมูลการขายไปยังระบบงานขายเพื่อออกใบกากับภาษี
การต่ อขยายด้ วยระบบบริหารลูกค้ าสั มพันธ์
2. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดการโซ่ อุปทาน
• ระบบการจัดการโซ่อปุ ทานหรื อเอสซีเอ็ม (Supply Chain
Management - SCM) เป็ น โปรแกรมที่ออกแบบมาที่เน้ นการ
จัดการการปฏิบตั กิ าร (operation management) มากกว่า
งานด้ านบัญชี (accounting) ซึง่ ได้ รับการนามาใช้ ในการจัดการโซ่
อุปทานของธุรกิจค้ าปลีกอย่างแพร่หลาย และสามารถรองรับการ
จัดการตังแต่
้ อตุ สาหกรรมต้ นน ้าจนถึงปลายน ้า โดยเน้ นการวางแผนการ
จัดหาและการจัดส่งที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนที่สมั พันธ์กบั งานบัญชี
จะเกิดเมื่อดึงกระบวนการจัดหา และต่อเนื่องไปถึงงานบัญชีเจ้ าหนี ้งบ
ต้ นทุนการผลิตและงบการเงินต่างๆ
2. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดการโซ่ อุปทาน
2. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดการโซ่ อุปทาน
• การจัดการโซ่อปุ ทานจะทางานเชื่อมกับการวางแผนทรัพยากรองค์กร
และระบบบริหารคลังสินค้ า (Warehouse Management
System - WMS) เพื่อให้ การขนส่งมีประสิทธิภาพ เมื่อทาการ
สัง่ ซื ้อสินค้ าจากซัพพลายเออร์ แล้ วซัพพลายเออร์ จะทาการจัดส่งไปที่
คลังสินค้ าเลย แทนที่จะส่งมาที่สานักงานก่อน กรณีเช่นนี ้ ระบบจัดซื ้อ
จะสามารถระบุรายละเอียดการจัดส่งพร้ อมทังสถานที
้
่รับของจาก ซัพ
พลายเออร์ ให้ เป็ นสถานที่ตงคลั
ั ้ งสินค้ าได้ และจะทาการส่งใบรับสินค้ า
(goods receive note) ไปยังคลังสินค้ า เพื่อรอรับสินค้ าที่จะมา
ส่งโดยซัพพลายเออร์ ได้ ช่วยให้ สะดวกรวดเร็วและประหยัดค่าขนส่ง
และยังคงสามารถควบคุมและตรวจสอบได้ อย่างรวดเร็ว
2. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดการโซ่ อุปทาน
3. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดซื้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ /
การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
• ระบบการจัดซื ้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) ถือเป็ นระบบที่ตอ่
ขยายจากระบบจัดซื ้อมาตรฐานของการวางแผนทรัพยากรองค์กร ระบบการจัดซื ้อจัด
จ้ างอิเล็กทรอนิกส์มกั จะวางไว้ บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเพื่อให้ ผ้ จู าหน่ายที่เป็ น
สมาชิกสามารถเข้ ามารับข้ อมูลความต้ องการสินค้ าหรื อใบสัง่ ซื ้อ โดยอาจจะเป็ นการ
ส่งไฟล์อีดีไอหรื อไฟล์สาหรับการแลกเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI file) ไป
ทางอีเมลของซัพพลายเออร์ จากนันซั
้ พพลายเออร์ ก็ดาเนินการเตรี ยมการส่งสินค้ า
และส่งใบแจ้ ง รายละเอียดการจัดส่งล่วงหน้ า (Advance Shipping Note ASN) มาให้ ผ้ ซู ื ้อเพื่อการยืนยันและ ตรวจสอบและดาเนินการภายใน และดาเนิน
กระบวนการการจัดซื ้อและรับสินค้ าตามปกติ
• ระบบการจัดซื ้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ มักจะวางบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ส่วนการ
วางแผนทรัพยากร องค์กรมักจะติดตังที
้ ่ในสานักงานที่ดาเนินการ (local) ดังนัน้ จึง
ต้ องมีขนตอนการเชื
ั้
่อมข้ อมูลของทัง้ 2 ระบบเข้ าด้ วยกัน
3. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดซื้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ /
การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
• กรณีที่มีขนตอนการประมู
ั้
ล อาจจะเพิ่มระบบการประมูลอิเล็กทรอนิกส์
(e-Auction) ในขันตอนการสื
้
่อสารไปยังซัพพลายเออร์ ให้ เข้ ามา
ประมูลก่อน ในขันตอนที
้
่ 2 เมื่อซัพพลายเออร์ ใดชนะประมูล จึงจะ
ดาเนินการในขันตอนที
้
่ 3 ภายหลัง
3. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดซื้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ /
การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
3. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดซื้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ /
การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
• ระบบการจัดซื ้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ ในธุรกิจค้ าปลีกยุคใหม่ จะ
ประกอบด้ วยรูปแบบของตัวแทนขายจัดการคลังสินค้ า (Vendor
Managed Inventory - VMI) โดยจะให้ ซพั พลายเออร์ ที่มี
การทาข้ อตกลง สามารถล็อกออนเข้ ามายังเซิร์ฟเวอร์ เพื่อตรวจสอบ
ปริมาณสินค้ าคงคลัง และเมื่อระดับปริมาณสินค้ าคงคลังถึงจุดที่ยงั ซัพ
พลายเออร์ คิดว่าควรจะดาเนินการส่งสินค้ า เพื่อเติมเต็มตามข้ อตกลง
3. การต่ อขยายด้ วยระบบการจัดซื้อจัดจ้ างอิเล็กทรอนิกส์ /
การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
4. การต่ อขยายด้ วยระบบบริหารคลังสิ นค้ า
• ระบบบริหารคลังสินค้ า (Warehouse Management
System - WMS) จะช่วยให้ ผ้ บู ริหารทราบถึงปริมาณสินค้ าคง
คลังรวม และลงลึกไปถึงแต่ละคลังย่อย การวางแผนทรัพยากรองค์กร
จะเก็บ ข้ อมูลการซื ้อขายและปริมาณสินค้ าคงคลังย้ อนหลังเพือ่ การวาง
แผนการจัดซื ้ออย่างมีประสิทธิภาพได้ ในอนาคต ซึง่ จะช่วยลดต้ นทุน
การถือครองสินค้ าและลดความเสี่ยงของธุรกิจได้ อย่างมาก โดยเฉพาะ
ในยุคที่คา่ ใช้ จ่ายด้ านพลังงาน การขนส่ง และค่าครองชีพอื่นๆ สูงขึ ้น
อย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารจะสามารถกาหนดยุทธศาสตร์ การจัดซื ้อและการ
ผลิตได้ อย่างดี จากข้ อมูลในการวางแผนทรัพยากรองค์กร
4. การต่ อขยายด้ วยระบบบริหารคลังสิ นค้ า
• ระบบบริหารคลังสินค้ าที่ทาขึ ้นมาเฉพาะสามารถรองรับระบบงานของ
ศูนย์กระจายสินค้ า (Distribution Center) เนื่องจากคลังสินค้ า
ขนาดใหญ่มกั จะมีที่ตงนอกเมื
ั้
อง ขณะที่ฝ่ายสานักงานมักจะอยูใ่ น
สถานที่สะดวกในการติดต่อธุรกรรมกับคูค่ ้ ามากกว่า
4. การต่ อขยายด้ วยระบบบริหารคลังสิ นค้ า
• ระบบบริหารคลังสินค้ าจะรองรับทางานแบบออนไลน์และสามารถ
เชื่อมต่อกับการวางแผนทรัพยากรองค์กรแบบออนไลน์ด้วย
กระบวนการทางานในทุกขันตอน
้
จะสามารถประสานกับระบบการ
วางแผนทรัพยากรองค์กรได้ ตลอดเวลา ช่วยให้ การจัดการคลังสินค้ าใน
ต่างพื ้นที่ทาได้ โดยง่าย เช่น เมื่อยังซัพพลายเออร์ จดั ส่งสินค้ าไปยัง
คลังสินค้ าแล้ วระบบบริหารคลังสินค้ า ก็จะส่งข้ อมูลการรับสินค้ า
(goods receive note) มายังสานักงานใหญ่ เพื่อเปรี ยบเทียบ
กับใบสัง่ ซื ้อก่อนหน้ านี ้ และสามารถรับใบแจ้ งหนี ้จากยังซัพพลายเออร์
อย่างรัดกุมป้องกันความผิดพลาด
4. การต่ อขยายด้ วยระบบบริหารคลังสิ นค้ า
5. การทาระบบประสานการทางานออนไลน์
ระหว่ างอุปสงค์ และอุปทาน
• การวางแผนทรัพยากรองค์กรสามารถต่อขยายระบบเชื่อมต่อกับระบบงานส่วนหน้ า เช่น
ระบบพีโอเอส (POS) ระบบงานขายหน้ าร้ าน เป็ นต้ น ซึง่ ให้ ข้อมูลฝั่ งอุปทานส่งต่อไปยัง
ระบบวางแผนการปฏิบตั ิงานเพื่อการจัดจาหน่าย (S&OP) เพื่อการวางแผนการผลิตหรื อ
จัดซื ้อแบบอัตโนมัติไปยังซัพพลายเออร์ ได้ การต่อเชื่อมระบบงานส่วนหน้ าแบบออนไลน์จะ
ช่วยให้ การทางานของระบบวางแผนการปฏิบตั ิงานเพื่อการจัดจาหน่าย (S&OP) เกิด
ประโยชน์สงู สุด ในทางกลับกัน ระบบวางแผนการปฏิบตั ิงานเพื่อการจัดจาหน่าย (S&OP)
ก็ทาให้ ข้อมูลการขายเป็ นประโยชน์ในการวางแผนมากยิ่งขึ ้น ช่วยให้ บริ ษัทสามารถลดระดับ
สินค้ าคงคลังได้ โดยไม่เสียโอกาสทางการขายและให้ บริ การลูกค้ าได้ อย่าง ต่อเนื่องด้ วย
ต้ นทุนที่ต่ากว่า เรี ยกว่าการทาระบบประสานการทางานออนไลน์ระหว่างอุปสงค์และ
อุปทาน (Online Demand-Supply Reconciliation) ซึง่ ผู้ใช้ งานระบบการ
วางแผนทรัพยากรองค์กร จะสะดวกสบายและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทางานได้
เนื่องจากการไหลของข้ อมูลเป็ นไปอย่างอัตโนมัติ ซึง่ ระบบงานนี ้ถูกนามาใช้ ในกิจการแฟรน
ไชส์ (franchise) ขนาดใหญ่หลายแห่ง
5. การทาระบบประสานการทางานออนไลน์
ระหว่ างอุปสงค์ และอุปทาน
6. ยกระดับไปสู่ ชุดธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กบั
การวางแผนทรัพยากรองค์ กร
• โปรแกรมการวางแผนทรัพยากรองค์กรอาจจะทางานแบบเว็บ
แอพพลิเคชัน่ ทังระบบ
้
หรื อนาบางระบบขึ ้นสูเ่ ครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เช่น
ระบบรับคาสัง่ ซื ้อ ระบบซื ้อสินค้ าอิเล็กทรอนิกส์ (e- Shopping)
เป็ นต้ น กรณีที่นาบางระบบขึ ้นสูเ่ ครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตนัน้ ผู้ใช้ จะไม่ต้อง
เรี ยนรู้การวางแผน ทรัพยากรองค์กรใหม่ เนื่องจากมีเพียงบางระบบที่
ใหม่ แต่ระบบอื่นๆ จะใช้ แบบเดิม
6. ยกระดับไปสู่ ชุดธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กบั
การวางแผนทรัพยากรองค์ กร
• ตัวอย่างการนาระบบรับคาสัง่ ซื ้อขึ ้นสูเ่ ครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต และทาการ
เชื่อมต่อกับโปรแกรม การวางแผนทรัพยากรองค์กร เมื่อลูกค้ าเข้ าสูเ่ ครื อข่าย
อินเทอร์ เน็ตและทารายการซื ้อ ระบบจะเก็บ ข้ อมูลบนเซิร์ฟเวอร์ ทอี่ ยูบ่ น
เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต และเมื่อระบบทาการเชื่อมต่อกับการวางแผน
ทรัพยากรองค์กรจะทาการส่งข้ อมูลเข้ าสูร่ ะบบรับคาสัง่ ซื ้อพื ้นฐานของการ
วางแผนทรัพยากรองค์กรที่ ผู้ใช้ เคยใช้ มาอยูก่ ่อนแล้ ว แนวทางการติดตัง้
ระบบเช่นนี ้ช่วยให้ องค์กรที่ลงทุนการวางแผนทรัพยากร องค์กรมาแล้ ว
สามารถดาเนินธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้ ทนั ที โดยไม่ต้องปรับเปลี่ยนระบบทัง้
ระบบ และ ผู้ใช้ จะได้ รับผลกระทบน้ อย เนื่องจากไม่ต้องเรี ยนรู้ระบบใหม่ แต่
การเชื่อมต่อระบบจะต้ องได้ รับการ ทดสอบการทางานแบบประสานเวลา
(synchronize) เป็ นอย่างดีก่อนเริ่ มใช้ ระบบ
6. ยกระดับไปสู่ ชุดธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กบั
การวางแผนทรัพยากรองค์ กร
6. ยกระดับไปสู่ ชุดธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กบั การวางแผน
ทรัพยากรองค์ กร
• บริ ษัทอาจจะนาระบบบริ หารงานทังหมดขึ
้
้นไปไว้ บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ โดย
ประกอบด้ วย สานักงานไซเบอร์ (cyber office) ซึง่ จะเก็บระบบข้ อมูล การจัดเก็บ
เอกสาร หนังสือสัง่ การทั ้งหมดของ พนักงานทุกคนตามโครงสร้ างการบริ หาร มีร้านค้ าไซ
เบอร์ (cyber shop) เป็ นหน้ าร้ านบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต สามารถทาเป็ นเว็บท่าขนาด
ใหญ่ เพื่อเป็ นศูนย์กลางของหน้ าร้ านทุกสาขา มีระบบจัดการ ความรู้ (Knowledge
Management – KM) ชุมชนนักปฏิบตั ิหรื อซีโอพี (Community of
Practice – CoP) บล็อก (blog) กระดานสนทนาหรื อเว็บบอร์ ด (webboard)
เป็ นศูนย์รวมฐานความรู้ขององค์กร ทังหมด
้
รวบรวมระบบงบประมาณ ระบบสารสนเทศ
เพื่อการจัดการหรื อเอ็มไอเอส (Management Information System –
MIS) ทั ้งหมด และระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรเพื่อสื่อสารกันผ่าน เครื อข่าย
อินเทอร์ เน็ตได้ อย่างรอบด้ าน สามารถเชื่อมโยงระบบกับผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียทัง้ 4 ด้ านคือ
ลูกค้ า (customer) ซัพพลายเออร์ (supplier) คูค่ ้ า (partner) พนักงาน
(employee)
6. ยกระดับไปสู่ ชุดธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กบั การวางแผน
ทรัพยากรองค์ กร
• ชุดธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business Suit) มีศนู ย์การควบคุม
(control center) ส่วนกลาง สามารถเฝ้าระวังติดตาม
(monitor) และสัง่ การ (command) ได้ ตลอดเวลา ไม่จากัด
สถานที่ ผ่าน ระบบเครื อข่ายทัว่ โลกได้ มีระบบประชุมทางไกลผ่าน
เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตราคาประหยัดได้ ทวั่ โลก พร้ อมกัน กล่าวโดยสรุป
คือ นาทุกสิง่ ทุกอย่างขึ ้นไปไว้ บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตทังหมด
้
(ภาพที่
7.45) กรณีที่นาระบบงานทังหมดขึ
้
้นสูเ่ ครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตมีข้อควร
คานึงซึง่ จะได้ กล่าวในตอนต่อไป
6. ยกระดับไปสู่ ชุดธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กบั การวางแผน
ทรัพยากรองค์ กร