ประเมินนโยบาย

Download Report

Transcript ประเมินนโยบาย

128730
นโยบายสาธารณะ
การประเมินผลนโยบายสาธารณะ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ธันยวัฒน์ รัตนสัค
1
ความหมายของการประเมินผลนโยบายสาธารณะ
การประเมินผล หมายถึง การใช้วธิ กี ารหรือเทคนิคเชิงวิเคราะห์
เพือ่ วัดผลการปฏิบตั งิ านว่าควรจะดาเนินงานต่อไปหรือไม่ หรือ
เปลีย่ นแปลงกิจกรรมบางกิจกรรมในอันทีจ่ ะเพิม่ ประสิทธิภาพ
การดาเนินงาน โดยเฉพาะผลกระทบจากเลือ่ นไขทีจ่ ะถูก
เปลีย่ นแปลง (Fox and Meyer, 1995: 45)
2
Anderson ให้ความหมายว่า การประเมินผลนโยบาย เป็ น
กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการประมาณการ การเปรียบเทียบผลของ
การแปลงนโยบายไปสูภ่ าคปฏิบตั กิ บั สิง่ ทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้
กิจกรรมนี้เป็ นกิจกรรมทีก่ ระทาอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลาทุก
ขัน้ ตอนของกระบวนการนโยบาย
3
การประเมินผลเกีย่ วข้องกับกระบวนการวัดคุณค่าของผลการ
ดาเนินการตามนโยบาย เพือ่ ทีจ่ ะนามาเปรียบเทียบกับ
เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้ และข้อควรสังเกตอีก
ประเด็นหนึ่งคือ การประเมินผลนัน้ ไม่ได้แยกเป็ นเอกเทศจาก
ขัน้ ตอนอื่นของกระบวนการนโยบาย แต่เกีย่ วข้องกัน
ตลอดเวลา
4
การติดตามผล (monitoring) คือ การทบทวนอย่างต่อเนื่อง หรือ
อย่างเป็ นระยะ และการดูแลตรวจตรา โดยฝา่ ยบริหารทุกระดับ
เกีย่ วกับการดาเนินกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง เพือ่ ให้แน่ใจว่า
กิจกรรมเหล่านัน้ ดาเนินไปตามแผนงาน ทัง้ ในแง่ปจั จัยนาเข้า
ปจั จัยนาออก และกิจกรรมอื่นๆ ทีว่ างแผนไว้
5
ลักษณะการประเมินผลนโยบาย (Joseph D. Comtois)
๑.การประเมินผลต้องมีลกั ษณะเป็ นสหวิชา คือ เอาความรูจ้ าก
หลายๆ ศาสตร์มาใช้
๒.การประเมินผลต้องเป็ นทีย่ อมรับทัง้ ผูป้ ระเมินเองและผูม้ ี
อานาจตัดสินใจ
๓.การประเมินผลต้องนายุทธวิธตี ่างๆ มาผสมผสานกันอย่าง
เหมาะสม เพือ่ ให้เข้าใจผลของนโยบายอย่างชัดเจนขึน้
6
๔.การประเมินผลต้องกระทาอย่างเป็ นกลางให้มากทีส่ ดุ
๕.การรวบรวมข้อมูลต่างๆ ควรเน้นการติดต่อสือ่ สารระหว่าง
บุคคลในหน่วยงานมากกว่าระหว่างหน่วยงานด้วยกันเอง
๖.การประเมินผลต้องมีความยืดหยุน่ พอทีจ่ ะยอมรับระเบียบ
วิธกี ารศึกษาวิจยั ทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
7
Carol Weiss เห็นว่า ธรรมชาติของการประเมินผลนโยบายนัน้
หลีกเลีย่ งการเข้าไปยุง่ เกีย่ วกับการเมือง หรือถูกแทรกแซงจาก
การเมืองไปไม่ได้ เนื่องจากการประเมินผลนโยบายนัน้ มี
เป้าหมายทีจ่ ะหาข้อสรุปเกีย่ วกับคุณค่าของการดาเนินการตาม
นโยบาย การหาข้อสรุปดังกล่าว จึงเกีย่ วพันไปถึงการแบ่งปนั สิง่
ทีม่ คี ุณค่าในสังคม ซึง่ ก็คอื กิจกรรมที่ Harold Lasswell เรียกว่า
การเมือง การประเมินผลในทีส่ ดุ จะนามาซึง่ ข้อสรุปว่าควรจะมี
การคงไว้ รักษา หรือเปลีย่ นแปลงนโยบายต่างๆ หรือไม่ อย่างไร
8
ความสาคัญของการประเมินผลนโยบาย
William Dunn กล่าวว่าการประเมินผลนโยบายมีความสาคัญมาก
ต่อกระบวนการนโยบายและต่อผูก้ าหนดนโยบายและวิเคราะห์
นโยบาย
๑.ทาให้นกั วิเคราะห์นโยบายและผูก้ าหนดนโยบายมีขอ้ มูลที่
ถูกต้อง เทีย่ งตรง และเชือ่ ถือได้เกีย่ วกับผลการดาเนินการตาม
นโยบาย
9
๒.ช่วยให้นกั วิเคราะห์นโยบายและผูก้ าหนดนโยบายทราบถึง
ความถูกต้องเหมาะสม และความชัดเจนของวัตถุประสงค์หรือ
เป้าหมายของนโยบายทีก่ าหนดไว้
๓.ช่วยให้การนิยามปญั หานโยบาย และการเสนอทางเลือกในการ
แก้ปญั หาในโอกาสต่อไปกระทาได้อย่างละเอียดถีถ่ ว้ น รอบคอบ
และรัดกุมขึน้
10
Carl Weiss เห็นว่าการประเมินผลนโยบายทาให้ทราบถึงระดับ
ความสาเร็จของการดาเนินการตามนโยบาย ซึง่ จะช่วยให้การ
ตัดสินใจทีส่ าคัญ 6 ประการ เป็ นไปได้งา่ ยขึน้
๑.การตัดสินใจว่าจะดาเนินการต่อไปหรือยกเลิกนโยบายนัน้
๒.การตัดสินใจปรับปรุงกระบวนการ และขัน้ ตอนต่างๆ ในการ
ดาเนินงาน
๓.การตัดสินใจเพิม่ หรือยกเลิกวิธกี ารบางประการ
11
๔.การตัดสินใจทีจ่ ะนานโยบายนัน้ ไปใช้ในสถานทีอ่ น่ื
๕.การตัดสินใจในการจัดสรรงบประมาณให้กบั นโยบายต่างๆ ว่า
ควรจะแบ่งอย่างไร
๖.การตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธแนวทางของนโยบายนัน้ ๆ
12
ประเภทของการประเมินผลนโยบาย
๑.พิจารณาจากวิธกี ารประเมิน
๑.๑ วิธกี ารตามแนวปริมาณ (quantitative approach)
คือการนาเอาวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์กายภาพมาใช้ในการ
ประเมินผล เน้นการให้คา่ ทางตัวเลขกับปรากฎการณ์ต่างๆ
ทางนโยบาย
13
“...4 ปี 6 เดือน ของสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ 8.178 ครัง้ มี
ผูเ้ สียชีวติ รวม 3,071 ราย บาดเจ็บ 4,986 ราย กล่าวโดยรวม
ในรอบ 54 เดือนทีผ่ า่ นมามีผเู้ สียชีวติ และบาดเจ็บรวมกันสูง
ถึง 8,057 ราย...”
14
15
๑.๒ การประเมินผลตามแนวคุณภาพ (Qualitative Approach)
เน้นเอาวิธกี ารของนักมานุษยวิทยา นักสังคมวิทยามาใช้ใน
การประเมินผล
16
๒.พิจารณาจากผูป้ ระเมิน
๒.๑ การประเมินผลโดยหน่วยงานของรัฐบาล ได้แก่
หน่วยงานราชการ หรือคณะกรรมาธิการของรัฐสภาก็ได้
๒.๒ การประเมินผลโดยองค์การอิสระ เช่น หนังสือพิมพ์
พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ
๒.๓ การประเมินผลโดยนักวิชาการ
17
กาหนด
เป้าหมาย
วิเคราะห์
ปญั หา
อุปสรรค
กาหนด
วิธกี าร
ประเมิน
จัดความ
เปลีย่ นแปลง
แยกแยะ
ผล
วิเคราะห์
ผล
18
๓.พิจารณาจากเป้าหมายการประเมิน
๓.๑ การประเมินผลแบบเทียม มุง่ หาคาตอบให้ได้วา่ ผลของ
นโยบายคืออะไร โดยไม่สนใจนาผลไปเปรียบเทียบกับ
วัตถุประสงค์ของนโยบายทีก่ าหนดไว้
๓.๒ การประเมินผลแบบเป็ นทางการ มุง่ ประเมินผลลัพธ์ทเ่ี กิด
จากการแปลงนโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั วิ า่ บรรลุวตั ถุประสงค์ท่ี
กาหนดไว้อย่างเป็ นทางการหรือไม่ เพียงใด
19
๓.๓ การประเมินแบบพิจารณาความเหมาะสม มุง่ ประเมิน
ผลลัพธ์ทเ่ี กิดจากการแปลงนโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั วิ า่ บรรลุ
วัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้อย่างเป็ นทางการและตอบสนอง
ความคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียหรือไม่
20
เกณฑ์การประเมินผล
๑.ประสิทธิผล (effectiveness) คือขอบเขตของการทีน่ โยบาย
ได้รบั ผลประโยชน์ต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้ รวมถึงการ
ได้รบั ผลประโยชน์อ่นื ๆ ทีไ่ ม่ได้คาดหวังไว้อกี ด้วย
๒.ประสิทธิภาพ (efficiency) คือ ขอบเขตของการลดค่าใช้จา่ ย
ซึง่ เป็ นตัวเงิน ซึง่ สามารถทราบได้จากต้นทุนรวม หรือ
อัตราส่วนระหว่างผลประโยชน์และต้นทุน
21
๓.ความพอเพียง (adequacy) คือ ความสามารถของการ
ดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของนโยบายภายใต้เงือ่ นไขของ
ทรัพยากรทีม่ อี ยู่ โดยวัดจาก
- งบประมาณจากัด
-งบประมาณเปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม
-ประสิทธิผลแน่นอน
-ประสิทธิผลเปลีย่ นแปลงได้
22
งบประมาณ
จากัด
กาหนดชัด
ประสิทธิ
ผล
เปลีย่ นแปลงได้
ไม่จากัด
ประเภท1
ประเภท2
ประเภท3
ประเภท4
23
ก.ประสิทธิผลกาหนดไว้แน่นอน และงบประมาณกาหนดไว้
แน่นอน วัดความพอเพียงได้จากทรัพยากรทีต่ อ้ งใช้ และผลที่
ต้องการกาหนดไว้ชดั เจน
ข.ประสิทธิผลกาหนดไว้แน่นอน แต่งบประมาณเปลีย่ นแปลงได้
นโยบายทีด่ ที ส่ี ดุ คือนโยบายทีใ่ ช้งบประมาณน้อย
24
ค.ประสิทธิผลเปลีย่ นแปลงได้ แต่งบประมาณจากัด นโยบายที่
ดีทส่ี ดุ คือนโยบายทีบ่ รรลุเป้าหมายมากทีส่ ดุ ภายใต้
งบประมาณทีม่ อี ยู่
ง.นโยบายทีไ่ ม่กาหนดเป้าหมายแน่นอน งบประมาณก็
เปลีย่ นแปลงได้ นโยบายทีด่ ที ส่ี ดุ คือ นโยบายทีใ่ ช้งบประมาณ
น้อย แต่บรรลุเป้าหมายมากทีส่ ดุ
25
๔.ความเป็ นธรรม (equity) นโยบายทีเ่ ป็ นธรรมคือ นโยบายที่
คานึงถึงการจัดสรรผลประโยชน์หรือการให้บริการต่างๆ อย่าง
เป็ นธรรม
๕.ความสามารถในการตอบสนอง (responsiveness) นโยบาย
นัน้ สามารถตอบสนองความต้องการ ความพึงพอใจของกลุ่ม
ต่างๆ ในสังคมหรือไม่
๖.ความเหมาะสม (appropriation) อาศัยหลายเกณฑ์ประกอบ
กัน
26
กระบวนการในการประเมินผล
๑.การกาหนดรายละเอียดว่าจะประเมินอะไร
๒.การวัดผล
๓.การวิเคราะห์ขอ้ มูล
27
ปัญหาการประเมินผลนโยบายสาธารณะ
๑.ความไม่ชดั เจนของเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบาย
๒.ปญั หาตัวบุคคลทีท่ าการประเมินผลนโยบาย
๓.ปญั หาอื่นๆ ได้แก่
๓.๑ ปญั หาเรือ่ งข้อมูลข่าวสาร
28
๓.๒ ปญั หาการใช้เทคนิคในการประเมินนโยบาย
๓.๒ ปญั หาเกีย่ วกับลักษณะของนโยบาย
29
จริยธรรมของผูป้ ระเมินผล
๑.เป็ นผูไ้ ม่มอี คติ
๒.มีความรูค้ วามสามารถในการใช้ระเบียบวิธวี จิ ยั ในการ
ประเมินผลตามหลักวิชาการ
๓.มีความเทีย่ งตรงในการวิเคราะห์ตลอดกระบวนการ
ประเมินผล
30
๔.มีความมันคง
่ ไม่ถกู ครอบงาโดยง่ายจากผูต้ ดั สินใจนโยบาย
หรือจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย
๕.มีความสัมพันธ์ทเ่ี ป็ นกลางกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย
๖.ไม่เข้าร่วมกับผูไ้ ม่มสี ว่ นได้สว่ นเสีย (non-stakeholders) ที่
ทาการวิพากษ์วจิ ารณ์นโยบายหรือโครงการทีก่ าลังทาการ
ประเมินอยู่
31