บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติม
Download
Report
Transcript บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติม
บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคา
ที่ไม่ ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
Computer Multimedia Instruction Practice Type Entitled
“Thai Language Writing with Incorrect Orthographic
Rules”
for Third Grade Students
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ เสกสรรค์ แย้ มพินิจ และชมัยพร บัวทอง
คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่
ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ที่มาและความสาคัญ
ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ ประจาชาติ เป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่ อหห้ เกิด
ความเป็ นเอกภาพ
และเสริมสร้ างบุคลิกภาพของคนหนชาติหห้ มี
ความเป็ นไทย เป็ นเครื่องมือทีห่ ช้ หน การติดต่ อสื่ อสาร เพือ่ สร้ างความเข้ าหจ
และความสั มพันธ์ ที่ดีต่อกัน การหช้ ภาษาไทยเป็ นทักษะทีต่ ้ องฝึ กฝนจนเกิด
ความชานาญหนการหช้ ภาษาเพือ่ การสื่ อสาร ผ่ านสื่ อเทคโนโลยีเกีย่ วกับการ
เรียนการสอน ซึ่งหนปัจจุบันมีบทบาทอย่ างมากหนการเผยแพร่ ความรู้
โดยเฉพาะหนสื่ อคอมพิวเตอร์ มัลติมเี ดีย
1)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่
ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ทีม่ าและความสาคัญ (ต่ อ)
ผู้วจิ ัยหนฐานะครูผ้ ูสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา
๒๒ (หต้ ร่มเย็น) อาเภอเคียนซา จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี ได้ จัดการเรียนการสอนปี หนการศึกษา 2552
แล้ วพบว่ า ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา (เช่ น ลพบุรี
- แม่ กบ / อิฐ - แม่ กด) อยู่หนเกณฑ์ ต่า จึงเห็นสมควรศึกษา เพือ่ พัฒนาผลการเรียนของผู้เรียนหห้
สู งขึน้ ซึ่งปัญหาทีพ่ บเกิดจากตัวครูกล่ าวคือหช้ วธิ ีการสอนแบบบรรยายเพียงอย่ างเดียวทาหห้ ผ้ ูเรียน
เกิดความเบือ่ หน่ าย ไม่ ต้งั หจเรียน จึงต้ องปรับเปลีย่ นวิธีการสอนของครู โดยการนาสื่ อทีม่ คี ุณภาพมา
ช่ วยหนการจัดกิจกรรมการสอนผู้วจิ ัยจึงสนหจศึกษาการสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียแบบฝึ ก
ปฏิบตั ิ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
1)
2) วัตถุประสงค์
2.1 เพือ่ สร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียน
สะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
2.2 เพือ่ ประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบัติ
เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่
3
2.3 เพือ่ หาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทีเ่ รียนด้ วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย แบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรง
มาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
2.4 เพือ่ หาความพึงพอหจของผู้เรียนทีเ่ รียนด้ วยบทเรียนคอมพิวเตอร์
มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
3) สมมติฐานของการวิจัย
3.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาที่ไม่ ตรง
มาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 มีคุณภาพหนเกณฑ์ ดขี นึ้ ไป
3.2 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทีเ่ รียนด้ วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมเี ดีย
แบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยคะแนนทดสอบ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียนอย่ างมี
นัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01
3.3 นักเรียนมีความพึงพอหจต่ อบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง
การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 อยู่หนระดับ
มากขึน้ ไป
4) ขอบเขตของการศึกษา
การวิจัยครั้งนี้ เป็ นการวิจัยกึง่ ทดลอง (Quasi Experimental
research) ผู้ทาการวิจัยดาเนินการทดลองกับประชากรทั้งหมด
การวิจัยครั้งนีศ้ ึกษาจากประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ของโรงเรียนไทยรัฐ วิทยา๒๒ (หต้ ร่มเย็น) อาเภอเคียนซา จังหวัดสุ
ราษฎร์ ธานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 จานวน 35 คน
(โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 22 หต้ ร่มเย็น,2553)
ขอบเขตเนือ้ หาของบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง
การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ประกอบด้ วย มาตราแม่ กก มาตรา
แม่ กด มาตราแม่ กน มาตราแม่ กบ
5) ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้ องกับงานวิจัย
ตัวแปรต้ น คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกด
คาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ตัวแปรตาม คือ
คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคา
ทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทีเ่ รียนด้ วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย
แบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3
ความพึงพอหจของผู้เรียนทีเ่ รียนด้ วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียแบบฝึ ก
ปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่
3
6) วิธีเก็บข้ อมูลหนการวิจัย
แบบแผนการทดลอง
หช้ แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียวทีม่ ีการทดสอบก่ อน
เรียนและหลังเรียน (One - Group Pretest - Posttest
Design)
7) เครื่องมือทีห่ ช้ เก็บรวบรวมข้ อมูลหนการวิจัย
แบบประเมินคุณภาพ
แบบประเมินคุณภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ แบบฝึ กปฏิบัติ เรื่ อง การเขียนสะกดคา
ทีไ่ ม่ ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 แบ่ งเป็ น 2 ด้ าน คือ
แบบประเมินคุณภาพด้ านเนือ
้ หา แบ่ งออกเป็ น 4 หัวข้ อหหญ่ จานวน 18 หัวข้ อ
ย่อย เป็ นแบบประเมินค่ า 5 ระดับ (Likert Scale) คือ ดีมาก ดี ปานกลาง
น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด
แบบประเมินคุณภาพด้ านสื่ อและการนาเสนอ แบ่ งออกเป็ น 5 หัวข้ อหหญ่ จานวน
25 หัวข้ อย่อย ซึ่งแบ่ งออกเป็ น ส่ วนของภาพประกอบ ส่ วนตัวอักษร ด้ านเสี ยง
ประกอบ ด้ านปฏิสัมพันธ์ และด้ านการเชื่อมโยงเนือ้ เรียนหาหนบทเรียน เป็ นแบบ
ประเมินค่ า 5 ระดับ (Likert Scale) คือ ดีมาก ดี ปานกลาง น้ อย น้ อยที่สุด
7) เครื่องมือทีห่ ช้ เก็บรวบรวมข้ อมูลหนการวิจัย
แบบทดสอบ
เป็ นแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนของกลุ่มตัวอย่ างบทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ แบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 มีดังนี้
แบบทดสอบก่ อนเรี ยน 20 ข้ อ เป็ นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
แบบทดสอบหลังเรี ยน 20 ข้ อ เป็ นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
7) เครื่องมือทีห่ ช้ เก็บรวบรวมข้ อมูลหนการวิจัย
แบบประเมินความพึงพอหจ
แบบประเมินความพึงพอหจของผู้เรี ยนทีม
่ ตี ่ อบทเรียนคอมพิวเตอร์ แบบฝึ กปฏิบตั ิ เรื่อง การเขียน
สะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 มี 6 ด้ าน เป็ นแบบประเมินค่ า 5
ระดับ (Likert Scale) คือ มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด
ดังนี้
แบบประเมินคุณภาพด้ านเนือ
้ หาและการดาเนินเรื่อง
แบบประเมินคุณภาพ ด้ านการฝึ กปฏิบต
ั ิและส่ งเสริมการเรียนรู้
แบบประเมินคุณภาพ ด้ านภาพ ภาษา และเสี ยง
แบบประเมินคุณภาพ ด้ านตัวอักษรและสี
แบบประเมินคุณภาพ ด้ านความรู้ และประสบการณ์
แบบประเมินคุณภาพ ด้ านการหช้
8) ผลการวิจัย
ผลการสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การ
เขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ประกอบด้ วย แบบทดสอบก่อนเรียน วัตถุประสงค์ เนือ้ หาของบทเรียน
มีเทคนิคช่ วยจา และมีกจิ กรรมแบบฝึ กปฏิบัติทบทวนการเรียนรู้
แบ่ งเป็ น 4 กิจกรรมคือ การเขียนแจกลูกคา การฝึ กเขียนข้ อความจากคา
การฝึ กเขียนคา การฝึ กเขียนคาคล้องจองผู้เรียนสามารถเรียนได้ ด้วย
ตนเอง เลือกเรียนเรื่องหดก่อนหลังก็ได้ และแบบทดสอบหลังเรียน ดัง
ภาพ
8) ผลการวิจัย
8) ผลการวิจัย
8) ผลการวิจัย
8) ผลการวิจัย
8) ผลการวิจัย
8) ผลการวิจัย
8) ผลการวิจัย
8) ผลการวิจัย
9) อภิปรายผล
ผลการสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบตั ิ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรง
มาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ได้ ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์
มัลติมเี ดีย แบบฝึ กปฏิบตั ิ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 3 โดยผ่ านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทางด้ านเนือ้ หาและด้ านสื่ อการนาเสนอ มี
ค่ าเฉลีย่ อยู่หนเกณฑ์ ดี อันเนื่องมาจากการออกแบบทีก่ ระทาอย่ างเป็ นระบบโดยนาขั้นตอน
การออกแบบ 5 ขั้นตอน ของไพโรจน์ ตีรธนากุล และไพบูลย์ เกียรติโกมล (ไพโรจน์ ตีรณธนา
กุล, ไพบูลย์ เกียรติโกมล และ เสกสรรค์ แย้ มพินิจ, 2546:9-214) คือ การวิเคราะห์ เนือ้ หา
(Analysis) การออกแบบหน่ วยการเรียน (Design) การพัฒนาหน่ วยการเรียน
(Development) การพัฒนาเนือ้ หาสู่ โปรแกรม (Implementation) และการ
ประเมินผลการเรียน (Evaluation) ทั้งหมดมีรายละเอียด
16 ขั้นตอน จึงได้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบตั ิ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตราของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 มีคุณภาพ ซึ่งสอดคล้ องกับผลการวิจัยของ เด่ นศักดิ์ อิงอาจ
(ปรียานุช แคนติ, 2546)ทีไ่ ด้ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเิ ดียกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย เรื่อง คาควบกลา้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ผลการศึกษาพบว่ า บทเรียนคอมพิวเตอร์
มัลติมเี ดียมีคุณภาพตามเกณฑ์ คือ อยู่หนเกณฑ์ ดมี าก
9) อภิปรายผล
ผลการประเมินคุณภาพทางด้ านเนือ้ หาและด้ านการนาเสนอ ผลการประเมินด้าน
เนือ้ หาโดยภาพรวม อยู่หนระดับดี ส่ วนผลการประเมินด้ านการนาเสนอโดย
ภาพรวมก็อยู่หนระดับดี โดยผลการประเมินหนส่ วนของภาษาและเสี ยงประกอบ
พบว่ าอยู่หนเกณฑ์ ดมี าก อันเนื่องมาจากได้ นาหลักทฤษฎีการออกแบบบทเรียน
คอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียของ ทักษิณา สวนานนท์ (ทักษิณา สวนานนท์ ,
2530:211-213)มาหช้ หนการสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมเี ดียแบบฝึ ก
ปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตราของนักเรียน
ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 ซึ่งสอดคล้ องกับผลการวิจัยของ ลายอง แดงวานิชกุล( ลายอง
แดงวานิชกุล, 2540)ทีพ่ บว่ าแสง สี และเสี ยงมีส่วนช่ วยเร้ าความสนหจของ
ผู้เรียน สามารถช่ วยหห้ ผ้ เู รียนมีความสนุกหน การเรียนเพิม่ มากขึน้
ซึ่งส่ งผลหห้
การเรียนนั้นพัฒนาขึน้ ได้
9) อภิปรายผล
ผลการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาที่ไม่ ตรง
มาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ผู้ศึกษาวิจยั สร้ างขึน้ พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสู งกว่าก่อน
เรียนอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 อันเป็ นผลจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การ
เขียนสะกดคาที่ไม่ ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 มีการสร้ างอย่ างเป็ นระบบของการสร้ างบทเรียน
คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย 5 ขั้นตอน(ถนอม เลาหจรัสแสง,2541:7) ได้ หช้ หลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
มัลติมีเดียตามทฤษฎีด้วยหลักการออกแบบของทักษิณา สวนานนท์ (ทักษิณา สวนานนท์ , 2530:211-213) ได้
ผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือ้ หาและด้ านการนาเสนอและปรับปรุงตามที่ผ้เู ชี่ยวชาญได้ เสนอแนะ
มีแบบทดสอบที่มีคุณภาพโดยการออกแบบทดสอบตามหลักการของ มนต์ ชัย เทียนทอง (ลายอง แดงวานิชกุล,
2540) ทาหห้ สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์การศึกษา และส่ งผลหห้ ผ้เู รียนมีผลสั มฤทธิ์ทางการ
เรียนสู งขึน้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของกิตติพงศ์ ดารักษ์ (กิตติพงศ์ ดารักษ์ , 2547:46)ที่พบว่าระบบการ
จัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย เรื่อง สานวนและภาษิตไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
มีคุณภาพและประสิทธิภาพสามารถช่ วยหห้ ผ้เู รียนมีความรู้เพิม่ ขึน้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนด้ วย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียสู งกว่าก่อนเรียนอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .01
9) อภิปรายผล
ความพึงพอหจของกลุ่มตัวอย่ างทีม่ ตี ่ อบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบตั ิ เรื่อง การ
เขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 อยู่หนเกณฑ์ ความพึงพอหจมาก
เนื่องจากบทเรียนมีการออกแบบและพัฒนาขึน้ ตามความต้ องการของผู้เรียน โดยนาหลักการ
ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียของสุ กรี รอดโพธิ์ทอง (พัชนา อินทรัศมี, 2552
:13-14) และหนตัวบทเรียนมีกจิ กรรมส่ งเสริมความรู้ความเข้ าหจโดยหห้ นักเรียนทาแบบฝึ กหัด
ทบทวนความรู้เพือ่ การสร้ างปฏิสัมพันธ์ และมีองค์ ประกอบของสื่ อมัลติมเี ดียทีน่ ่ าสนหจ มีการ
แสดงคะแนนก่ อนเรียนและหลังเรียนหห้ ผ้ ูเรียนได้ รับทราบผลหนทันที และผู้เรียนสามารถเลือก
เรียนบทเรียนหดก่ อนหลังได้ ตามความต้ องการ จึงทาหห้ ผ้ ูเรียนเกิดความพึงพอหจต่ อบทเรียน
มัลติมเี ดีย ซึ่งสอดคล้ องกับงานวิจัยของ วันชัย ก่ อนกาเนิด (วันชัย ก่ อนกาเนิด, 2550:7072 )ศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้วยวิธีแบบร่ วมมือกับวิธีเรียนแบบอิสระผ่ าน
สื่ อคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์ ) เรื่ององค์ ประกอบศิลป์ ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ทีพ่ บว่ า นักเรียนมีความพึงพอหจต่ อสื่ อคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดียหน
ระดับมาก
10) ข้ อเสนอแนะ
ข้ อเสนอแนะหนการนาไปหช้ งาน
1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ มล
ั ติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตราของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ทีส่ ร้ างขึน้ มีคุณภาพอยู่หนเกณฑ์ ดี เพราะได้ สร้ างตามขั้นตอน
ของการสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ มลั ติมเี ดีย จึงเป็ นสื่ อทีเ่ หมาะสมหนการนาไปหช้ ประกอบการ
จัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
2. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ มล
ั ติมเี ดียแบบฝึ กปฏิบตั ิ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่ ตรงมาตราของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโดยผลการทดสอบหลังเรียน
สู งกว่ าก่ อนเรียนอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .01 ทั้งนีเ้ พราะเป็ นสื่ อทีผ่ ้ ูเรียนสามารถเรียน
ได้ ตามความสนหจโดยสามารถเลือกเรียนเรื่องหดก่ อนหลังก็ได้ มีเสี ยงประกอบ มีภาพที่สวยงาม
มีข้อความอักษรทีอ่ ่ านง่ าย มีแบบฝึ กปฏิบตั ิเพือ่ ทบทวนความรู้ มีการแสดงผลการเรียนหห้ ผ้ ูเรียน
ได้ ทราบ ได้ ผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทั้งด้ านเนือ้ หาและการนาเสนออยู่หนเกณฑ์ ดี
จึงสามารถนาไปหช้ ประกอบการสอนได้ ดี
10) ข้ อเสนอแนะ
ข้ อเสนอแนะเพือ่ การวิจยั ครั้งต่ อไป
1. ควรศึกษาความคงทนหนการเรี ยนของผู้เรี ยนหลังจากเรี ยน
ด้ วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย
2. ควรศึกษาการสร้ างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย หน
รู ปแบบอืน่ ทีส่ ามารถมีการโต้ ตอบกับครู ผู้สอน เช่ น การสร้ าง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบเกม เป็ นต้ น
บทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียแบบฝึ กปฏิบัติ เรื่อง การเขียนสะกดคาทีไ่ ม่
ตรงมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ เสกสรรค์ แย้ มพินิจ และชมัยพร บัวทอง
คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี
ขอบคุณมากค่ ะ