ฝ่าคลื่นลมมรสุม (1973

Download Report

Transcript ฝ่าคลื่นลมมรสุม (1973

เศรษฐกิจไทย หลังสงครามโลก
ค.ศ. 1950 - 1995
(พ.ศ. 2493 - 2538)
1
เอกสารอ้ างอิง
• James Ingram: Economic Change in
Thailand during1850- 1970, Chs. 11,
12
• Chris Dixon: The Thai Economy:
Uneven Development and
Internationalisation, Chs. 3, 4
2
เอกสารอ้ างอิง
• Peter Warr (ed.) (2005), Thailand
Beyond the Crisis Ch.1
• อัมมาร สยามวาลา (2541), “เศรษฐกิจไทย: 50
ปี ของการขยายตัว”, ความรู้ น้ันสาคัญยิง่ หหญ
• นิรมล สุ ธรรมกิจ (2551), สั งคมกับเศรษฐกิจ
กรณีศึกษาประเทศไทย (2500 – 2545) บทที่ 5
3
ชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (1939 – 1945) และ
กอนวิกฤตการณ์ เศรษฐกิจปี 1997 สามารถแบง
ได้ เป็ น 4 ยุค ตามการเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญทาง
เศรษฐกิจ
4
 ยุคที่ 1 : ฟื้ นตัวหลังสงคราม
(ค.ศ. 1946 – 1957 พ.ศ. 2489 - 2500)
 ยุคที่ 2: เริ่มความราบรื่น
(ค.ศ. 1958 -1972 พ.ศ. 2501 - 2515)
 ยุคที่ 3 : ฝาคลืน่ ลมมรสุ ม
(ค.ศ. 1973 -1985 พ.ศ. 2516 - 2528)
 ยุคที่ 4 : กระชุมกระชวย
(ค.ศ. 1986 -1995 พ.ศ. 2529 - 2538)
5
ปัจจัยทีม่ ีผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย
•
•
•
•
•
•
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรมนุษย์
เทคโนโลยี
เศรษฐกิจโลก
นโยบายเศรษฐกิจ
สถานการณ์ การเมือง
6
นายกรัฐมนตรีของไทยหนชวงเวลานี้
• 2481 – 2487 : จอมพล ป. พิบูลสงคราม
(สงครามโลกครั้งที่ 2 : 2482 – 2488)
• 2487 – 2490 : พันตรีควง อภัยวงศ์ , นายทวี
บุณยเกตุ, ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช, ศ. ดร. ปรีดี
พนมยงค์ , พลเรือตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์
(เริ่มมีรัฐประหาร)
7
นายกรัฐมนตรีของไทยหนชวงเวลานี้
• 2490 – 2494 : พันตรี ควง อภัยวงศ์
• 2494 – 2500 : จอมพล ป. พิบูลสงคราม (มาจาก
การรัฐประหาร)
• 2500 – 2501 : นายพจน์ สารสิ น, จอมพลถนอม
กิตติขจร
• 2502 – 2506 : จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (มาจาก
การรัฐประหาร)
8
นายกรัฐมนตรีของไทยหนชวงเวลานี้
• 2506 – 2516 : จอมพลถนอม กิตติขจร
• 2516 – 2520 : ศ. สั ญญา ธรรมศักดิ์, ม.ร.ว. เสนีย์
ปราโมช, ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช, นายธานินทร์
กรัยวิเชียร
• 2520 – 2523: พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
(มาจากการรัฐประหาร)
9
นายกรัฐมนตรีของไทยหนชวงเวลานี้
• 2532 – 2531: พลเอก เปรม ติณสู ลานนท์
• 2531 – 2534 : พลเอก ชาติชาย ชุณหวัณ
• 2534 – 2535 : นายอานันท์ ปัณยารชุน (มาจาก
การรัฐประหาร)
10
นายกรัฐมนตรีของไทยหนชวงเวลานี้
•
•
•
•
2535 – 2538 : นายชวน หลีกภัย
2538 – 2539 : นายบรรหาร ศิลปอาชา
2539 – 2540 : พลเอก ชวลิต ยงหจยุทธ
2540 – 2544 : นายชวน หลีกภัย
11
ยุคที่ 1 + 2:
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ผลกระทบจาก WW2 :
 สิ นค้ าขาดแคลน
 อัตราเงินเฟ้อสู งมาก
 แทบไมเหลือทุนสารองระหวางประเทศ
12
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ผลกระทบจาก WW2 :
 แพ้สงคราม ต้ องชดหช้ สัมพันธมิตรด้ วยข้ าว
2 ล้านตัน
 เก็บภาษีจากข้ าวโดยหช้ ระบบอัตรา
แลกเปลีย่ นหลายอัตรา และตอมาหช้ เก็บ “พรี
เมี่ยมข้ าว”
13
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ฟื้ นตัวได้ เร็วเพราะการสงออก โดยข้ าวและ
ยางเป็ นที่ต้องการมากหนโลก เนื่องจากเกิด
สงครามเกาหลีหนต้ นทศวรรษ 1950’s
14
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ลักษณะการฟื้ นตัว
 การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสู งถึงปี ละ 6.6%
หนชวง 1951-1969 (เริ่มมีสถิตบิ ัญชีรายได้
ประชาชาติ)
 อัตราเงินเฟ้อต่า ~ 2% ตอปี
15
Period
1951-1986 (Pre-boom)
1987-1996 (Boom)
1997-1998 (Crisis)
1999-2003 (Post-crisis)
Whole period 1951-2003
Real GDP
Real GDP growth
growth
per capita
6.5%
3.9%
16
Period
1951-1986 (Pre-boom)
1987-1996 (Boom)
1997-1998 (Crisis)
1999-2003 (Post-crisis)
Whole period 1951-2003
Real GDP
Real GDP growth
growth
per capita
6.5%
9.2%
-6.1%
4.0%
6.2%
3.9%
8.0%
-7.1%
3.3%
4.2%
17
Period
1951-1986 (Pre-boom)
1987-1996 (Boom)
1997-1998 (Crisis)
1999-2003 (Post-crisis)
Whole period 1951-2003
Real GDP
Real GDP growth Population
growth
per capita
growth
6.5%
9.2%
-6.1%
4.0%
6.2%
3.9%
8.0%
-7.1%
3.3%
4.2%
2.6%
1.2%
1.0%
0.7%
2.0%
18
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ประชากร :
 20 ล้ านคนหนปี 1951
 35 ล้ านคนหนปี 1969
 ขยายตัวปี ละ 3.1% (คอนข้ างสู ง : baby boom)
 รายได้ ตอหัวเพิม่ ปี ละ 3%
19
3.5%
60.0
3.0%
50.0
2.5%
40.0
2.0%
Population (mill.)
30.0
1.5%
Population growth
20.0
1.0%
10.0
0.5%
0.0
0.0%
19
50
19
55
19
60
19
65
19
70
19
75
19
80
19
85
19
90
19
95
20
00
20
05
70.0
20
70.0
3.1%3.2%
3.0%
3.0%
60.0
61.4
50.6
2.6%
46.3
41.3
2.3%
50.0
36.3
40.0
31.2
30.0
19.6
20.0
54.6
58.3
64.2 3.5%
22.8
26.6
3.0%
2.5%
2.0%
1.8%
1.5%
1.5%
1.3%
1.0% 1.0%
0.9%
0.5%
0.0
0.0%
Population growth
19
50
19
55
19
60
19
65
19
70
19
75
19
80
19
85
19
90
19
95
20
00
20
05
10.0
Population (mill.)
21
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 การสงออกหลากหลายชนิดมากขึน้ พืชหหม เชน
ข้ าวโพด มันสาปะหลัง
 การนาเข้ าสิ นค้ าอุตสาหกรรม (โดยเฉพาะสิ นค้ า
ทุน) เพิม่ อยางเร็ว
  ขาดดุลการค้ าและบัญชีเดินสะพัดตอเนื่อง
ตั้งแตปลายทศวรรษ 1950’s
22
100%
90%
80%
70%
60%
50%
40%
30%
20%
10%
0%
1950
1952
1954
1956
1958
1960
Share of 4 exports (rice, rubber, tin, teak)
1962
1964
1966
1968
1970
Share of rice
23
6,000
4,000
2,000
Merchandise trade
balance
0
-2,000
Service trade
balance
-4,000
Current account
balance
-6,000
-8,000
-10,000
-12,000
1951 1954 1957 1960 1963 1966 1969
24
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ตั้งแตปี 1963 การลงทุนหนประเทศมีมูลคามากกวาการ
สงออก
 ไมจริงอีกตอไป วาการลดสงออกทาหห้ การนาเข้ าลดลง
 บัญชีชาระเงินมีปัญหามากขึน้ เมือ่ สงออกลด
 การลงทุนหนประเทศทาหห้ การนาเข้ าเพิม่ ขึน้ และการค้ า
ขาดดุล
25
Investment and Export as % of GNP
25.0%
20.0%
15.0%
I/GNP
X/GNP
10.0%
5.0%
0.0%
1956
1958
1960
1962
1964
1966
1968
1970
26
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 โครงสร้ างเศรษฐกิจเปลีย่ นมาก:
 สั ดสวนเกษตรหน GDP ลดลงตอเนื่อง สั ดสวน
อุตสาหกรรมเพิม่ อยางเร็ว
1951
1968
เกษตร
50%
32%
อุตสาหกรรม 18%
31%
บริการ
32%
37%
27
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 เกษตรก็ยงั สาคัญหนด้ านแรงงาน (80% ของกาลัง
แรงงาน) และการสงออก
 ปลูกพืชหหมมากขึน้ : ข้ าวโพด มันสาปะหลัง
ข้ าวฟาง ถั่วเหลือง
จากเดิม: ข้ าว ยาง อ้ อย และฝ้ าย
28
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ข้ าว: ผลผลิตตอไรลดลงตลอดเป็ นเวลาหลายปี
เพราะการขยายพืน้ ที่นอกเขตชลประทาน
แตผลผลิตตอไรกลับสู งขึน้ หนทศวรรษ 1960’s
เพราะการขยายเขตชลประทาน การปรับปรุงพันธุ์
พืช และการหช้ เครื่องจักร (ควายเหล็ก)
29
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ประเด็นถกเถียงเกีย่ วกับนโยบายเก็บภาษีสงออก
ข้ าว (พรีเมี่ยมข้ าว Rice Premium) ระหวางปี
1955 และกลางทศวรรษ 1980’s ....... ยกเลิกไปหน
ทีส่ ุ ด
30
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ข้ อดีของพรีเมี่ยมข้ าว:
 รายได้ เข้ ารัฐ
 ชวยหห้ เงินเฟ้อต่า
 สงเสริมหห้ เกษตรกรหันไปปลูกพืชอืน่ นอกจาก
ข้ าว
 เพิม่ ราคาสงออกข้ าว (อานาจหนตลาดโลก)
 ลดกาไรสวนเกินของพอค้ าคนกลาง
31
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ข้ อเสี ยของพรีเมี่ยมข้ าว:
 กดราคาและรายได้ ของชาวนา
 ลดแรงจูงหจหนการปรับปรุงผลผลิต
 ทาหห้ ราคาข้ าวหนประเทศผันผวน
32
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 พืชเศรษฐกิจอืน่ ๆ:
 ขยายพืน้ ที่เกษตรได้ เพราะถนนหหมเชื่อมชนบท
 ผลิตแยกตามภาค : ปอกระเจาหนอีสาน
ข้ าวโพดหนภาคกลาง ยางหนภาคหต้
 เกษตรกรรายยอยตอบสนองเร็วตอราคา
33
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 พืชเศรษฐกิจอืน่ ๆ:
 ผลิตเพือ่ สงออกสวนหหญ (ราคายางสู งขึน้ ชวง
สงครามเกาหลีหนทศวรรษ 1950’s)
 ชวยเพิม่ ทีม่ าของเงินตราตางประเทศ
 พืชหหม + ยังปลูกข้ าวอยู เพราะเหตุผลทาง
วัฒนธรรมและลดความเสี่ ยง
34
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 หนชวงต้ น 1950’s รัฐบาลเพิม่ บทบาทลงทุนหน
รัฐวิสาหกิจ (สิ่ งทอ กระดาษ แก้ ว นา้ ตาล ........)
 แรงจูงหจ/วัตถุประสงค์ 3 ประการ:
 จากัดอิทธิพลของคนจีน
 รัฐบาลจาเป็ นต้ องริเริ่มเพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรม
 ประโยชน์ สวนตัวของคนหนรัฐบาล
35
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 หนชวงต้ น 1950’s รัฐบาล จอมพล ป. พิบูล
สงครามเพิม่ บทบาทลงทุนหนรัฐวิสาหกิจ (สิ่ งทอ
กระดาษ แก้ ว น้าตาล กระสอบ........) โดยมี
”บริษัทสงเสริมเศรษฐกิจ” เป็ น holding company
 รัฐวิสาหกิจสวนหหญไร้ ประสิ ทธิภาพและขาดทุน
36
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (1958-63) นโยบาย
เปลีย่ นเป็ นการสนับสนุนหห้ เอกชนลงทุนหน
โรงงาน รัฐบาลลงทุนเฉพาะโครงสร้ างพืน้ ฐาน
(infrastructure) เชน ไฟฟ้า ถนน โทรคมนาคม
และการสงเสริม (promotion)
37
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (1959-63) เป็ นจุด
เริ่มของการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจ โดยมี ดร.
ป๋ วย อึง๊ ภากรณ์ เป็ นตัวจักรสาคัญ
 สถาบันหหม: สภาพัฒนาฯ สนง. สงเสริมการ
ลงทุน (BOI) สานักงบประมาณ และสานักงาน
เศรษฐกิจการคลัง
38
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ทหาร-ข้ าราชการ-นักธุรกิจจีน สั มพันธ์ หกล้ ชิดขึน้
และเอือ้ ประโยชน์ หห้ กนั
 คอรัปชั่นกับเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ ตอเนื่อง
39
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ภาษีนาเข้ าและการสงเสริมการลงทุน
 การขยายตัวสู งหนสาขาอุตสาหกรรม:
15% ของ GDP หนปี 1968 โดยโรงงานสวน
หหญเป็ นการแปรรู ปอาหาร และสิ นค้ าผู้บริโภค
40
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 สานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (Board
of Investment หรือ BOI) กอตั้งหนปี 1959
 การสงเสริมโดยหห้ สิทธิประโยชน์ : ยกเว้ นภาษีนาเข้ า/
การค้ า/กาไร ตางชาตินาเข้ าชางและซื้อที่ดินได้ ไมมี
การแขงขันจากรัฐ
 หนชวงแรกมักจะสงเสริมอุตสาหกรรมทีผ่ ลิตทดแทน
การนาเข้ า
41
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 เพิม่ อัตราภาษีนาเข้ าเพือ่ คุ้มครอง
อุตสาหกรรมหนประเทศและรายได้ เข้ ารัฐ
 อัตราภาษีสูงสาหรับสินค้ าผู้บริโภค (สาเร็จรู ป)
และอัตราตา่ สาหรับสิ นค้ าทุน  “effective”
rates of protection สาหรับสิ นค้ าสาเร็จรู ปยิง่
สู งกวา
42
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 สั ดสวนของสิ นค้ าทุนหนสิ นค้ านาเข้ าทั้งหมด
สู งขึน้ (จาก 25% เป็ น 47%) หนขณะที่สัดสวน
ของสิ นค้ าบริโภคลดลง
 เป็ นผลจากการขยายตัวด้ านอุตสาหกรรม
43
Import Classification
1950 1955 1960 1965 1969
Consumer goods
59.0 48.8 39.2 31.3 25.8
Materials for consumer goods 9.4 11.3 12.1 18.2 20.5
Materials for capital goods
6.5 9.2 11.1 7.4 7.2
Capital goods
25.1 30.7 37.6 43.1 46.5
Total
100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
44
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 Ingram สรุปวาการลงทุนด้ านอุตสาหกรรม
 นาเข้ าเครื่องจักรและวัตถุดบิ มาเพือ่ หช้ หนการ
ผลิตทดแทนการนาเข้ าสิ นค้ าบริโภคสาเร็จรู ป
 ไมมี economies of scale
 ไมมีศักยภาพหนการสงออก
45
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 หช้ ระบบอัตราแลกเปลีย่ นหลายอัตรา (multiple
exchange rate ชวง 1947-1955) เพือ่ เพิม่ ทุน
สารองและควบคุมเงินเฟ้ อ
 ผู้สงออกสิ นค้ าบางชนิดต้ องขาย $ หห้ ธปท. หน
อัตราทางการกาหนด ซึ่งต่ากวาอัตราตลาด
(10 vs 24 baht/$)
46
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 ระบบอัตราแลกเปลีย่ นหลายอัตรา (multiple exchange
rate ชวง 1947-1955)
 ธปท. ขาย $ หนอัตราทางการสาหรับสิ นค้ านาเข้ าที่
จาเป็ น (นา้ มัน ยา)
 นอกนั้น ซื้อขาย $ กันที่อตั ราตลาด
 เปลีย่ นมาเป็ นอัตราเดียว ยึดคงทีก่ บั US$ ตั้งแตปี
1955
47
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 นโยบายการเงินแบบอนุรักษ์ นิยมปริมาณเงินเพิม่
ตามการผลิต + การถือเงินสารองระหวางประเทศ
ไว้ มากๆ (เพิม่ ทุนสารองได้ ท้งั ทีข่ าดดุลบัญชี
เดินสะพัด เพราะการชวยเหลือจากตางชาติ การ
กู้ยมื การลงทุนจากตางชาติ การหช้ จายทางทหาร
ของสหรัฐฯ หนสงครามเวียดนาม)
 เสถียรภาพด้ านราคา
48
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 การถือเงินสารองระหวางประเทศไว้ มากๆ
เพราะกลัววาบัญชี BOP เกินดุลเพียงชั่วคราว
เนื่องจาก
• คาดวาสหรัฐฯ จะถอนตัวจากสงครามเวียดนาม
(กระทบตอการหช้ จายทางทหารหนไทย)
49
ฟื้ นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972)
 แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรก (1961-1966) และ
การจัดตั้งสภาพัฒน์ (NESDB): กาหนดเป้ าหมาย
ทางเศรษฐกิจและแผนการลงทุนของรัฐหน
โครงสร้ างพืน้ ฐาน (ไฟฟ้ า ขนสง ชลประทาน
การศึกษา ฯลฯ)
 ปัจจุบันอยูหนชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (20072011)
50
ยุคที่ 3: ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 เข้ าสู ยุคความไมแนนอนทางเศรษฐกิจและ
ความไร้ เสถียรภาพทางการเมือง
 วิกฤตการณ์ น้ามัน 2 ครั้ง:
 1973/74 : ราคาน้ามันโลกเพิม่ 4 เทาตัว
 1979/80: น้ามันแพงมากและปริมาณขาดแคลน
 90% ของพลังงานเชิงพาณิชย์ มาจากน้ามันนาเข้ า
51
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 สั ดสวนของนา้ มันหนมูลคาการนาเข้ าทั้งหมด
สู งขึน้ จากวิกฤตการณ์
• จาก 10% เป็ น 20% (1973/74)
• จาก 20% เป็ น 30% (1979/80)
52
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP growth)
ลดลง
• เป็ น 4.1% หนปี 1974
• เป็ น 4.9% หนปี 1980
อัตราการขยายตัวเฉลีย่ = 6.5% ตอปี ระหวาง
1973-1985
53
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 อัตราการวางงานสู ง (รวมทั้งแรงงานที่มีการศึกษา
สู ง)
 อัตราเงินเฟ้อเกิน 10% (double digit) หนชวง
วิกฤตการณ์ น้ามัน
54
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสู งขึน้ :
 ยังไมสู งมากหนปี 1973/74 เพราะราคาสิ นค้ า
เกษตรสงออกสู งขึน้ ด้ วย
 การขาดดุลกลับสู งถึง 6% - 7% ของ GDP
หนปี 1979-81
55
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
หนีต้ างประเทศเพิม่ อยางเร็ว และมียอด
เป็ น 30% ของ GDP หนปี 1985
หนีส้ วนหหญเป็ นการกู้โดยรัฐวิสาหกิจ
และหนีเ้ พือ่ ซื้ออาวุธ
56
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 เหตุการณ์ ทยี่ งิ่ ทาหห้ เลวร้ ายมากขึน้ :
 การถอนตัวของสหรัฐฯ จากสงครามเวียดนาม
หนปี 1976  สหรัฐฯ หช้ จายด้ านการทหารหน
ไทยลดลง
 สงครามหนกัมพูชาและการกอการร้ ายหนไทย
หลังปี 1976  ความจาเป็ นหนการหช้ จายทาง
ทหารมากขึน้
57
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 เหตุการณ์ ทยี่ งิ่ ทาหห้ เลวร้ ายมากขึน้ :
 อัตราดอกเบีย้ หนโลกเพิม่ สู งและเศรษฐกิจ
ถดถอยหนประเทศอุตสาหกรรมหนต้ น
ทศวรรษ 1980’s
 ความวุนวายทางการเมืองของไทย
(14 ตุลาคม 1973 และ 6 ตุลาคม 1979)
58
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 นโยบายที่หช้ หนการแก้ไขปัญหา:
 สงเสริมการสงออกเริ่มหนทศวรรษ 1970’s
เชน เงินกู้ดอกเบีย้ ตา่ จาก ธปท. การคืนภาษี
นาเข้ าสาหรับวัตถุดบิ นาเข้ าเพือ่ การผลิต
สงออก
59
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 นโยบายที่หช้ หนการแก้ไขปัญหา:
 ควบคุมและชดเชยราคานา้ มันเพือ่ ลด
ปัญหาเงินเฟ้อ ผลกระทบตอการขาดดุล
งบประมาณและการหช้ พลังงานอยางไม
ประหยัด
60
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 นโยบายที่หช้ หนการแก้ไขปัญหา:
 สงเสริมการสารวจและพัฒนาพลังงานหน
ประเทศ  พบแหลงก๊าซธรรมชาติหนอาว
ไทย และเริ่มนามาหช้ ได้ หนปี 1981
61
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 นโยบายที่หช้ หนการแก้ ไขปัญหา :
 ลดคาเงินบาท 2 ครั้ง (ปี 1981 และปี 1984) ชวย
กระตุ้นการสงออก
 แผนพัฒนาฯ 3 ฉบับ (3, 4, 5) ตั้งเป้ าพัฒนา
ชนบท ลดความยากจน และการฟื้ นฟู/ปรับ
โครงสร้ างเศรษฐกิจ
62
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
นโยบายทีห่ ช้ หนการแก้ ไขปัญหา:
 การพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก
(Eastern seaboard) กลุมอุตสาหกรรม
หช้ ก๊าซธรรมชาติ และทาเรือนา้ ลึก 2
แหงหหม (แหลมฉบัง และมาบตาพุด)
63
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 สาขาอุตสาหกรรมเพิม่ สั ดสวนทั้งหน GDP
และหนการสงออก (เกิน 20% หนปี 1980):
 ชนิดอุตสาหกรรมหลากหลายขึน้ มีท้งั
อุตฯ เกษตร (แปรรู ปไก สั บปะรดกระป๋ อง)
อุตฯ สิ่ งทอ อุตฯ ยานยนต์
64
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 สาขาอุตสาหกรรมเพิม่ สั ดสวนทั้งหน GDP และหน
การสงออก (เกิน 20% หนปี 1980):
 พัฒนาอุตฯ เพือ่ การสงออกหนทศวรรษ 1970’s
เชน แปรรูปอาหาร เสื้อผ้ า ผลิตภัณฑ์ ไม้ เครื่อง
หนัง และเครื่องหช้ ไฟฟ้า/อิเล็กโทรนิกส์
65
ฝาคลืน่ ลมมรสุม (1973-1985)
 เกษตรกรรม:
 ประมงและปศุสัตว์ มีความสาคัญมากขึน้
 ราคาพืชผันผวนและตกต่า
 เกษตรขยายตัวช้ า สั ดสวนหนเศรษฐกิจลดลง
(เหลือ 15% ของ GDP หนปี 1985)
66