ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ ภาค2-53

Download Report

Transcript ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ ภาค2-53

ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์กบั การกาหนดนโยบาย
เศรษฐกิจ: การประย ุกต์ใช้ในเศรษฐกิจไทย
จากบทความของ ศ.ดร.เมธี ครองแก้ว
เรื่อง “ใครกาหนดนโยบายเศรษฐกิจไทย”
เสนอในการสัมมนาวิชาการประจาปี ๒๕๓๑
คณะเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์
1
บทบาทและความสาคัญของทฤษฎี
ทฤษฎี = ความรูค้ วามเข้าใจที่สามารถอธิบายปั ญหาหรือ
ปรากฏการณ์ที่ทาการศึกษา
 กระบวนทัศน์ (Paradigm)
 การปฏิวต
ั ทิ างวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)
 บทบาท: อธิบายและพยากรณ์

2
ทฤษฎีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจ
(Theory of Economic Policy)

Economic Policy
 Quantitative Policy: นโยบายที่ไม่มผ
ี ลกระทบต่อโครงสร้างระบบเศรษฐกิจ
แต่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ นัน้ เกิดกับตัวแปรภายในระบบเป็ นการ
เปลี่ยนแปลงที่ทาให้จดุ สมดุลในโครงสร้างเดิมเปลี่ยนที่ไป
 Qualitative Policy: นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
เศรษฐกิจ เช่น การที่โครางสร้างทางเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบการ
แข่งขันเป็ นระบบผูกขาด การรวมตัวทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศเป็ น
ตลาดร่วม หรือการแปรสภาพกิจกรรมการผลิตสินค้าหรือบริการจาก
เอกชนสูร่ ฐั หรือจากรัฐสูเ่ อกชน
3
ทฤษฎีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจ
(Theory of Economic Policy)
 วิธีวิทยา
ปริมาณ Inductive
SpecificGeneralทุนนิยม
อนุมาน Deductive GeneralSpecificสังคมนิยม
 ตัวแปรเป้าหมาย (Target Variable)
 ตัวแปรเครื่องมือ (Instrument)
4
ทฤษฎีว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจ
(Theory of Economic Policy)
 Tinbergen
 ไม่วา่ รัฐบาลจะตัง้ เป้าหมายไว้กี่เป้าหมายก็ตามการจะให้บรรลุเป้าหมายนัน
้ ๆ
ได้ รัฐบาลจะต้องมีเครื่องมืออย่างอย่างน้อยในจานวนที่เท่ากัน หรืออีกนัย
หนึง่ รัฐบาลไม่สามารถตัง้ เป้าหมายมากกว่าจานวนเครื่องมือซึง่ สามารถ
นาเอามาใช้ได้
 ปั ญหาหลักที่เราจะต้องพิจารณาในการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจก็คือ ปั ญหา
เกี่ยวกับความมีประสิทธิภาพของเครื่องมือต่างๆ หลักเกณฑ์ก็คอื ผูก้ าหนด
นโยบายมุง่ หวังที่จะให้ผลที่เกิดกับตัวแปรเป้าหมายอันเนือ่ งมากจากการใช้ตวั
แปรเครื่องมือมีคา่ สูงสุดหรือดีที่สดุ
 กรอบของการกาหนดนโยบายและวิธีการวิเคราะห์ที่จะนาไปสูก
่ ารดาเนิน
นโยบายและการแก้ปัญหาของระบบเศรษฐกิจที่ได้ผลดีที่สดุ
5
ทฤษฏีว่าด้วยรัฐแนวมาร์กซ์
(Maxist Theory of the State)

มองรัฐว่าคือองค์กรของชนชัน้ ปกครอง ซึ่งมีเป้าหมายสุดท้ายคือ
การธารงไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชนชัน้ ของตน โดยการดาเนิน
นโยบายที่จะขูดรีดกีดกันชนชัน้ ผูถ้ กู ปกครองซึ่งด้อยฐานะกว่า
6
ทฤษฏีการเลือกของสังคม
(Public Choice Theory)

พยายามที่จะใช้แนวความคิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก
(neoclassic) ในการอธิบายนโยบายเศรษฐกิจที่กาหนดขึน้ ภายใต้การ
ควบคุมของระบบการเมือง ข้อสมมุตหิ ลักของทฤษฎีการเลือกของ
สังคมคือการแสวงหาอรรถประโยชน์ของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ
ซึ่งอยู่ในสถานภาพแตกต่างกัน
 Social/ Public goods vs. Private goods
 Free rider
 Market failure
 Political Economy
7
ทฤษฎีการเลือกของสังคม
(Theory of Public Choice)
 James A. Buchanan
 อรรถประโยชน์สว
่ นบุคคล
Self-interest
ประชาชนผูอ้ อกเสียงเลือกตัง้ โดยทัว่ ไป
กลุม
่ ผลประโยชน์
พรรคการเมือง
ข้าราชการประจา
8
ทฤษฎีการเลือกของสังคม
(Theory of Public Choice)
 ประชาชนทัว่ ๆไป Rational People
ตัดสินใจได้
เรียงลาดับทางเลือกตามความพึงพอใจได้
มีความคงเส้นคงวา Transitive
เลือกประพฤติหรือปฏิบต
ั ติ ามทางเลือกที่อยู่ในลาดับสูงสุด
ทาเช่นนีท
้ กุ ครัง้ ที่เผชิญเหตุการณ์นี้
9
ทฤษฎีการเลือกของสังคม
(Theory of Public Choice)
 กลุม
่ ผลประโยชน์ Optimal Provision of Collective goods
กลุม
่ ยิ่งเล็กจะทาให้การมีประสิทธิภาพและได้ผลงานที่ใกล้เคียง
กับจุดเหมาะสมได้ดกี ว่ากลุม่ ใหญ่เพราะไม่ตอ้ งคอยเป็ นห่วงเรื่อง
สมาชิกคนอื่นจะพลอยได้รบั ผลประโยชน์จากเงินลงทุนของตน
ในกลุม
่ ที่มสี มาชิกขนาดใหญ่และสมาชิกขนาดเล็กร่วมกับ
สมาชิกขนาดใหญ่มกั จะต้องเสียเปรียบสมาชิกขนาดเล็กในเรื่อง
ผลประโยชน์ที่ได้รบั และส่วนแบ่งค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่จะต้อง
เสียไป
10
ทฤษฎีการเลือกของสังคม
(Theory of Public Choice)
 พรรคการเมือง: การได้รบ
ั เลือกตัง้ ประชาชนให้รฐั บาล
บริหารประเทศ
 Marginal Vote Gain (กิจกรรม) = Marginal Vote Loss (ภาษี)
 ต้นทุนการกาหนดนโยบาย vs. ต้นทุนการให้ความร่วมมือ
11
ทฤษฎีการเลือกของสังคม
(Theory of Public Choice)

ข้าราชการประจา: ชือ่ เสียง อานาจ รายได้และทรัพย์สมบัติ ใน
ระหว่างปฏิบตั หิ น้าที่บริหารนโยบายสังคม
 Assumption:
 มีความมุง่ หวังที่จะได้มาซึ่งงบประมาณที่มากที่สด
ุ
มากการทางานให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด
 ไม่มง่ ุ หวังกาไรแต่เป็ นองค์กรที่ได้รบ
ั การสนับสนุนทางการเงินจากแหล่ง
อื่น
 ได้เปรียบฝ่ ายนิตบ
ิ ญ
ั ญัตใิ นเรื่องข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับต้นทุนของ
กิจกรรมต่างๆในระบบราชการ
12
ทฤษฎีการเลือกของสังคม
(Theory of Public Choice)

ข้อน่าสังเกตจากทฤษฏีของ Niskanen
 รูปแบบพฤติกรรมของข้าราชการจะมีลก
ั ษณะที่กาหนดจากฝ่ ายผูใ้ ห้ (ข้าราชการ)
มากกว่าผูร้ บั (ประชาชน) (Supply-determined model of bureaucratic output) การ
ได้รบั งบประมาณมาทากิจกรรมเป็ นการรักษาบทบาทและสถานภาพของตนเองใช้
อานาจผูกขาดในเรื่องข้อมูลให้ได้มาซึ่งงบประมาณและขนาดกิจกรรมซึ่งสูงกว่า
หรือมากกว่าขนาดที่เหมาะสมเมือ่ พิจารณาจากแง่มมุ ของสังคมส่วนรวม
 ความรูส้ ึกที่ว่ารัฐบาลที่มขี นาดใหญ่นน
ั้ สิทธิการตัดสินใจหรือการกาหนดนโยบาย
จะถูกผ่องถ่ายจากมือของประชาชนโดยทัว่ ไปไปยังมือของนักการเมืองและ
ข้าราชการประจาซึ่งจะเป็ นผูต้ ดั สินใจหรือกาหนดนโยบายแทนในนามของ
“ผลประโยชน์ของส่วนรวม”
13
How about Thailand?
Riggs  “อมาตยาธิปไตย” (Bureaucratic polity)
 ดร.ศุภชัย (๑๙๘๑)

 ระบบราชการจะเป็ นตัววางกติกาของเกมทางเศรษฐกิจและจะเข้ามา
แทรกแซงในเกมโดยใช้ชอ่ งทางของระเบียบบริหาร
 ฐานอานาจของการบริหารอยูใ่ นเขตเมือง
 มาตรการทางเศรษฐกิจระบบราชการมักจะเป็ นมาตรการระยะสัน
้ แก้ไข
ปั ญหาเฉพาะหน้า
 เศรษฐศาสตร์ระบบราชการในประเทศไทยมุง่ เน้นไปในทิศทางของการ
แก้ไขปั ญหาทาเศรษฐกิจโดยใช้นโยบายการเงินกับการคลัง
 เศรษฐศาสตร์ระบบราชการของไทยชอบที่จะได้รบ
ั ความช่วยเหลือจาก
ต่างประเทศ
 นโยบายราชการไทยมีความต่อเนือ
่ งที่สถาบันอื่นอาจจะไม่มี
14
ทฤษฎีว่าด้วยการแสวงหาเศรษฐผล
(Rent-seeking Theory)


รัฐบาลซึ่งมีอานาจในการสร้างกฎเกณฑ์และการบังคับ สามารถก่อให้เกิด
กาไรที่สงู ขึน้ กว่าสภาพที่มกี ารแข่งขันกันเต็มที่ได้ โดยการจากัดขนาดของ
การผลิตและการตัง้ ราคาให้สงู ขึน้ ซึ่งก็คือลักษณะของการผูกขาดอย่างหนึง่
นัน้ เอง ส่วนกาไรที่สงู ขึน้ กว่าปกติหรือที่นเี้ รียกว่า “เศรษฐผล” (rent) นีใ้ ครๆ
ก็อยากได้เพราะฉะนัน้ ในสังคมที่ยอมให้มกี ารแข่งขันวิ่งเต้นด้วยวิธีการต่างๆ
เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิผกู ขาดดังกล่าว ต้นทุนของกิจกรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งเศรษฐ
ผลนัน้ ย่อมเป็ นต้นทุนที่เป็ นความสิ้นเปลืองของสังคม
ทฤษฎีนชี้ ใี้ ห้เห็นถึงโทษของกิจกรรมแสวงหาเศรษฐผลซึ่งมีอยู่ทวั ่ ไปในสังคม
ทุนนิยม หลังจากอธิบายว่าเพราะเหตุใดจึ่งมีความพยายามจากกลุม่ ต่างๆ
วิ่งเต้นเพื่อให้ได้มาซึ่งสถานภาพที่จะก่อให้เกิดเศรษฐผลให้แก่ตนได้
15
เศรษฐผลจากการผูกขาด
Pm
Pc
LMC
Qm
Qc
16
ทฤษฎีว่าด้วยการแสวงหาเศรษฐผล
(Rent-seeking Theory)
 กิจกรรมการแสวงหาเศรษฐผล (Rent-seeking Acitivities)
ลักษณะปทัสฐานนิยม (Normative Aspect)
ลักษณะปฏิฐานนิยม (Positive Aspect
 Normative Aspect
ต้นทุนของการแสวงหาเศรษฐผลในระบบเศรษฐกิจเป็ นเท่าใด?
ประโยชน์ที่ได้จากเศรษฐผลจะถูกทาให้ละลายหมดโดยการวิ่งเต้น?
บทบาทของผูบ
้ ริโภคในการแสวงหาเศรษฐผลของผูผ้ ลิตหรือไม่?
17
ทฤษฎีว่าด้วยการแสวงหาเศรษฐผล
(Rent-seeking Theory)
 Positive Aspect
ทาไมบางภาคของระบบเศรษฐกิจจึงได้รบ
ั การคุม้ ครอง
แต่บางภาคไม่ได้?
อะไรเป็ นสาเหตุของสิทธิประโยชน์พิเศษที่บางคนได้รบ
ั
จากรัฐ
องค์กร ส่วนใดของรัฐเป็ นผูใ้ ห้ประโยชน์และด้วยวิธีการ
ใด?
18
รัฐเศรษฐศาสตร์ (Political Economics)
กับนโยบายเศรษฐกิจ

พยายามหาความสัมพันธ์ที่ชดั เจนระหว่างตัวแปรทาง
เศรษฐศาสตร์กบั ตัวแปรทางการเมือง เช่น ผลของสภาวะเงินเฟ้อ
หรือการว่างงานที่จะมีตอ่ ความนิยมชมชอบทางการเมืองของ
พรรครัฐบาล เป็ นต้น
 มีการใช้วิธีการทางเศรษฐมิตเิ พื่อศึกษาพฤติกรรมทางรัฐศาสตร์
เป็ นการพัฒนาคามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจและ
การเมืองให้สงู ขึน้ ไปอีกขัน้ หนึง่ ซึ่งอาจจะช่วยในการพยากรณ์หรือ
ทานายความเปลี่ยนแปลงในนโยบายทางเศรษฐกิจและการเมืองให้
เป็ นระบบและมีความแม่นยามากขึน้ ได้
19
รัฐเศรษฐศาสตร์ (Political Economics)
กับนโยบายเศรษฐกิจ




รัฐบาลมีบทบาทมากน้อยเพียงใดในระบบเศรษฐกิจ?
มีความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอะไรบ้างที่มอี ิทธิผลหรือผลกระทบต่อการ
ตัดสินใจหรือนโยบายทางการเมือง ความเชือ่ มัน่ หรืออุดมการณ์ทาง
การเมืองของรัฐบาลมีผลต่อนโยบายเศรษฐกิจอย่างไรบ้าง?
ประชาชนในระบบประชาธิปไตยมีชอ่ งทางหรือบทบาทมากน้อยเพียงใดที่จะ
ผลักดันให้นโยบายเศรษฐกิจบางอย่างเกิดขึน้ ได้หรือให้ยกเลิกไป?
รัฐบาลควรจะมีหลักการอย่างไรในการเปลี่ยนแปลงจุดเน้นในนโยบาย
เศรษฐกิจในช่วงเวลาหรือภาระทางสังคมต่างๆกัน?
20
ร ูปแบบระบบการเมืองเศรษฐกิจ (Politics-Economic Model)
เครื่ องมือนโยบายเศรษฐกิจ
•นโยบายการเงิน
ข้ าราชการ
(การดาเนินนโยบาย)
เป้ าหมายเรื่ องการได้รับการเลือกตัวใหม่
หลักการ แนวคิด ลัทธิ
•นโยบายการคลัง
•การควบคุมทางตรง
เศรษฐกิจ
ความจากัดด้านงบประมาณ
รัฐบาล
ผลทางเศรษฐกิจ
•เงินเฟ้ อ
•การว่างงาน
•การเติบโตทางเศรษฐกิจ
ประชาชน
ความนิยมในรัฐบาล
(การสนับสนุนทางการเมือง) การแสดงออกในการเลือกตัว
21
เศรษฐศาสตร์วิวฒ
ั นาการ (Evolutionary Economics)
และการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจ
เชือ่ ว่า: ปั ญหาทางเศรษฐกิจและสังคมเป็ นปั ญหาเชิงวิวฒ
ั นาการซึ่ง
เกิดขึน้ ในขณะที่ระบบเศรษฐกิจสังคมและการเมืองของมนุษย์วิวฒ
ั นา
กรหรือเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ฉะนัน้ การจะแก้ปัญหาในลักษณะเช่นนีไ้ ด้
ก็โดยการสร้างสถาบันทางสังคมที่เหมาะสม ที่สามารถปรับตัวเองให้เข้า
กับปั ญหาและแก้ปัญหาในที่สดุ
 สถาบัน

 Friedland: กลุม
่ บทบาท (Roles) ที่ได้ถกู จัดระบบไว้เป็ นอย่างดีแล้วเพื่อสนอง
เป้าหมายของสังคม (organized pattern of behavior)
 Morse: ส่วนประกอบของสังคมที่มล
ี กั ษณะและขอบเขตแน่นอนและเป็ นที่
ยอมรับ ส่วนประกอบได้แก่ ความคิด มโนทัศน์ สัญลักษณ์ กฏเกณฑ์
22
เศรษฐศาสตร์วิวฒ
ั นาการ (Evolutionary Economics)
และการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจ


เนือ่ งจากการจัดตัง้ และการจัดการสถาบันทางสังคมต่างๆต้องใช้ทรัพยากร
ดังนัน้ นโยบายเศรษฐกิจเป็ นวิธีการอย่างหนึง่ ที่สร้างบทบาทให้แก่สถาบันเพื่อ
ให้แก่สถาบันเพื่อให้การแก้ปัญหาให้แก่ผซู้ ึ่งกาหนดนโยบายประสงค์จะให้แก้หาก
จะมีความขัดแย้งกันในผลประโยชน์ ผูซ้ ึ่งฉลาดกว่าหรือแข็งแรงกว่ายอม
ปรับเปลี่ยนสถาบันเพื่อประโยชน์ของฝ่ ายตน
Others
 ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สิน (Economics of Property Rights)
 ทฤษฎีเกี่ยวกับการกาหนดระเบียบกฎเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์ (Theory of Economic
Regulations)
23
ลักษณะเด่นของระบบเศรษฐกิจไทย
ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช




ลักษณะเศรษฐกิจแบบเสรีและเป็ นระบบเปิ ดต่อเศรษฐกิจโลก มีขอ้ จากัดน้อยใน
การควบคุมและสร้างเสริมสินทรัพย์ทางเศรษฐกิจ
ลักษณะการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทยเป็ นลักษณะทุนพาณิชย์ไม่ใช่ทนุ
อุตสาหกรรมที่แท้จริงและพัฒนาของกิจการกลุม่ ธุรกิจครอบครัว
กิจกรรมส่วนใหญ่เป็ นของคนไทยทาให้อิทธิผลและอานาจของทุนต่างชาติตอ่
การกาหนดนโยบายเศรษฐกิจโดยตรงเป็ นไปได้ยาก
ภาครัฐมีขนาดเล็กเมือ่ เทียบกับระบบเศรษฐกิจทัง้ หมด แต่บทบาทของภาครัฐ
ต่อระบบเศรษฐกิจมีมากเพราะรัฐมีเครื่องมือในการกากับ ชีน้ า จากัดและ
ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากมายหลายด้าน
24