วิทยากรมช.28-8

Download Report

Transcript วิทยากรมช.28-8

การบริหารสิ นเชื่อ (Credit Management)
โดย นางกาญจนา ยอแสงสุ ขกมล
ผูจ้ ดั การธนาคารออมสิ นสาขาแม่อาย
วันที่ 28 สิ งหาคม 2556
ภาควิชาการเงินการธนาคาร คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หัวข้ อการบรรยาย
1. ธนาคารออมสินและบริการของธนาคารออมสิน
2. การวิเคราะห์สินเชื่อธุรกิจ SMEs และธุรกิจรายย่อย
3. การบริหารหนี ้มีปัญหา
หัวข้ อที่ 1 ธนาคารออมสินและบริการของ
ธนาคารออมสิน
ประวัตธิ นาคารออมสิน
“แบงค์ลีฟอเทีย” ต้ นแบบแห่งการออม
มูลเหตุอนั เป็ นที่มาของชื่อ "ลีฟอเทีย" นัน้ นามาจากชื่อย่อของผู้เป็ นกรรมการ ซึง่ มีอยู่ด้วยกัน ๓ ท่าน อัน
ได้ แก่
ลี แปลว่า ใหญ่ ได้ แก่ รัชกาลที่ ๖ ขณะทรงดารงอิสริ ยยศเป็ นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ซึง่ เป็ นประธาน
กรรมการหรื อ เจ้ าของแบงค์
ฟอ ได้ แก่ เฟื อ้ ม.ล.เฟื อ้ พึง่ บุญ ณ อยุธยา – พลเอกเจ้ าพระยารามราฆพ เป็ นกรรมการผู้จดั การ
เทีย ได้ แก่ เทียบ เทียบ อัศวรักษ์ – พระยาคธาธรบดี เป็ นกรรมการ การดาเนินกิจการของแบงค์ในระยะ
เริ่ มต้ น มีเจ้ าหน้ าที่เสมียน ๑ คน คอยดูแลบัญชีเอกสาร
กำเนิดธนำคำรออมสิน
ยุคที่ 1
คลังออมสิน สังกัดกรมพระคลังมหาสมบัติ
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พ.ศ.2456 – 2471
เติบโตอย่ ำงรุ ดหน้ ำ
ยุคที่ 2
กองคลังออมสิน สังกัดกรมไปรษณีย์โทรเลข
กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม พ.ศ.2472 – 2489
รำกฐำนควำมมั่งคง
ยุคที่ 3
ธนาคารออมสิน สังกัดกระทรวงการคลัง
พ.ศ.2490 - ปั จจุบนั
“1 เมษายน 2490 คาว่า ‘คลังออมสิน’ ได้ เปลี่ยนเป็ นคาว่า ‘ธนาคารออมสิน’”
ปั จจุบนั ธนาคารออมสินมีฐานะเป็ นนิติบคุ คล เป็ นรัฐวิสาหกิจในรูปแบบของสถาบัน
การเงินที่มีรัฐบาลเป็ นประกัน อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของกระทรวงการคลัง มี
สาขา 998 แห่งทัว่ ประเทศ มีอายุครบ 100 ปี เมื่อ 1 เมษายน 2556 ที่ผ่านมา
บริการของธนาคารออมสิน





ด้ านเงินฝาก
ด้ านสลากออมสิน *
ด้ านสงเคราะห์ชีวิตและครอบครัว **
ด้ านสินเชื่อ *
ด้ านอื่นๆ
 บริการทางการเงินผ่านเครื่ อง ATM
 บริการชาระเงินออนไลน์
 บริการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
 โอนเงินต่างประเทศ
 บริการแลกเหรี ยญ
 ฯลฯ **
บริการพิเศษของธนาคารออมสิน
“บริ การเรื อเคลือ่ นที”่
“บริ การรถเคลือ่ นที”่
หัวข้ อที่ 2 การวิเคราะห์ สินเชื่อธุรกิจ SMEs
และธุรกิจรายย่ อย
หลักการวิเคราะห์สินเชื่อ 5 C’s
1. อุปนิสยั ของลูกค้ า (CHARACTER)
2. ความสามารถในการชาระหนี ้ (CAPACITY)
3. เงินทุน (CAPITAL)
4. หลักประกัน (COLLATERALS)
5. สถานการณ์ (CONDITION)
สรุ ปหลักในการวิเคราะห์ สินเชื่อ
1.วัตถุประสงค์ของสินเชื่อ
2.ประวัติของลูกค้ าและหุ้นส่วน
3.ประวัติการติดต่อกับธนาคาร
4.ผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน (กาลังการชาระหนี ้)
5.หลักประกัน
6.ภาวะตลาดสินค้ า และแนวโน้ ม
7.สรุปความเห็น
“การให้ สินเชื่อเป็ นการแต่ งงานที่แท้ จริง”
1.วัตถุประสงค์ ของสินเชื่อ
-ความจาเป็ นในการขอสินเชื่อ “สินเชื่อที่ไม่มี
วัตถุประสงค์เป็ นสินเชื่อที่แย่มาก”
-มีความสมเหตุสมผล
-จานวนเงิน ประเภทสินเชื่อที่เหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์และขนาดธุรกิจ
-การขอสินเชื่อทาให้ การดาเนินธุรกิจดีขึ ้น
อย่างไรบ้ าง
“สินเชื่อที่ไม่ มีวัตถุประสงค์ จะไม่ สามารถ
ควบคุมการใช้ สินเชื่อได้ ”
สินเชื่อต้ องห้ ามตามนโยบายสินเชื่อของธนาคาร
เป็ นสินเชื่อต้ องห้ ามตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ ทางการหรื อ ธปท.
กาหนด
สินเชื่อที่เชื่อมโยงโดยตรงหรื อโดยอ้ อมกับธุรกิจที่ผิดกฎหมาย
สินเชื่อที่ให้ แก่ บุคคล หรื อนิตบิ ุคคลที่ล้มละลาย
สินเชื่อที่ให้ แก่ บุคคล หรื อนิตบิ ุคคลซึ่งศาลมีคาสั่งพิทักษ์ ทรั พย์
สินเชื่อที่มีวัตถุประสงค์ การใช้ เงินกู้เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมทางการเมือง
สินชื่อที่ให้ แก่ ธุรกิจเก็งกาไรที่ดนิ หรื อหลักทรั พย์
2.ประวัตขิ องลูกค้ า/กิจการ
-มีประสบการณ์ดีหรื อไม่ อายุ พื ้นฐานครอบครัว
บิดา มารดา ญาติ พี่น้อง
-พื ้นฐานการศึกษาเรี ยนมาตรงกับสายอาชีพ
หรื อไม่
-อุปนิสยั
-ประสบการณ์เดิม ประสบการณ์ในธุรกิจ (อดีตปั จจุบนั -อนาคต)
-ประวัติห้ นุ ส่วนคนอื่นๆที่บริหารร่วมกัน (บอก
ประวัติธุรกิจด้ วย)
-ระบบ เป้าหมาย มีระบบการจัดการในธุรกิจ
บ้ างหรื อไม่ เป้าหมายในการทางานและนโยบาย
“สินเชื่อต้ องหลีกเลี่ยงนิสัยที่ไม่ ดี”
3.ประวัตกิ ารติดต่ อกับธนาคาร
-เริ่มต้ นติดต่อครัง้ แรกเมื่อไร
-ผู้แนะนาให้ มาใช้ บริการ (มีสว่ นให้ ความเชื่อถือแก่
ธนาคาร)
-ติดต่อด้ านใดบ้ าง พัฒนาการติดต่อเป็ นอย่างไร
-ผลการติดต่อเรี ยบร้ อยหรื อไม่ มีปัญหาอะไรบ้ าง
-ดูประวัติจาก credit bureau *
“การเขียนเสนอสินเชื่อ ต้ องเสนอรายละเอียด
สินเชื่อให้ ชัดเจนทุกๆหัวข้ อ อย่ าตัดข้ อมูล ที่สาคัๆๆ ออก”
4.ผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน
-หากเป็ นส่วนตัวบุคคลให้ ดรู ายได้ -รายจ่าย แต่ถ้า
เป็ นนิติบคุ คลให้ ดงู บการเงิน
-ดูฐานะลูกหนี ้ ให้ ดงู บดุล
-ดูฐานะการเงิน ให้ ดงู บกาไรขาดทุน อย่ าดูถูกงบที่
ลูกหนีใ้ ห้ มา
-ผลการดาเนินงานในรอบบัญชีที่ผ่านมามีกาไร
ขาดทุนอย่างไร การขาย ต้ นทุนสินค้ าขาย กาไรเบื ้องต้ น
ค่าใช้ จ่ายในการดาเนินงาน กาไรจากการดาเนินงาน ค่าเสื่อม
ราคา ภาษี เงินได้ กาไรสุทธิ ฯลฯว่าเหมาะสมกับธุรกิจและมี
ความสามารถในการชาระหนี ้เพียงใด ถ้ ามีความสามารถ ให้
เปรี ยบเทียบผลการดาเนินงานของธุรกิจกับคูแ่ ข่งขัน หรื อผู้อื่นที่
อยูใ่ นธุรกิจเดียวกันจะดี
เงินทุนที่ใช้ ในการลงทุน
เงิน
ส่ วนตัว
กำรลงทุนรวม
ที่ดนิ
หรือ
เงินกู้
อาคาร เครื่ องจักร
อุปกรณ์ คชจ.อื่นๆ
ส่ วนร่ วมทุน
กรณีท่ ี 1
มูลค่ าการลงทุน
10 ล้ านบาท
ส่ วนทุน หนี ้
7 ลบ. 3 ลบ.
กรณีท่ ี 2
มูลค่ าการลงทุน
20 ล้ านบาท
ส่ วนทุน 12 ลบ.
มูลค่ าการลงทุน
30 ล้ านบาท
ส่ วนทุน หนี ้
15 ลบ. 15 ลบ.
กรณีท่ ี 3
หนี ้ 8 ลบ.
• สัดส่ วนหนีส้ ินต่ อเงินทุน (D/E Ratio)
• สัดส่ วนเงินกู้ต่อมูลค่ าการลงทุน
กรณีท่ ี 1
กรณีท่ ี 2
D/E = 0.43 : 1
= 30 %
D/E = 0.67 : 1
= 40 %
กรณีท่ ี 3
D/E = 1 : 1
= 50 %
5.หลักประกัน*
-เงินฝาก
-ที่ดิน อาคาร โรงงาน (ผู้ถือกรรมสิทธิ์เป็ นใคร)
-สิทธิการเช่า (มอบอานาจการโอนสิทธิการเช่า) มอบ
อานาจให้ ธนาคารจาหน่ายจ่ายโอน
-หุ้น พันธบัตร
-บุคคลค ้าประกันส่วนตัว
“ลูกหนีท้ ่ ไี ม่ นาหลักทรั พย์ ของตนมาเป็ นประกันแต่
นาของคนอื่นมาเป็ นประกัน แสดงว่ าเป็ นลูกหนีท้ ่ ีอาจจะมี
ปั ๆหา”
“ตัง้ ข้ อสังเกตอายุของผู้มาขอกู้ หากอายุมากแล้ วไม่
มีทรั พย์ สิน แสดงว่ าเป็ นคนไม่ รับผิดชอบ”
 ตรวจดูหนังสื อสาคัญสาหรับทีด่ ินแปลงนั้นว่ าเป็ นชนิดใด ใครเป็ นเจ้ าของ
 ในการตรวจที่ดินควรพิจารณาเรื่องดังต่ อไปนี้






การใช้ ประโยชน์
ลักษณะและสภาพ
สาธารณูปโภค
การคมนาคม
สิ่ งแวดล้อมและความเจริญ
ทรัพย์สินส่ วนควบ
 ประเด็นอืน่ ๆ ที่ต้องตรวจสอบ คือราคาที่ดินที่ซื้อมา ราคาประเมิน
ภาระติดพัน การเวนคืนเอกสารสิ ทธิ
6.ภาวะการตลาดสินค้ าและภาวะเศรษฐกิจทั่วไป
-Demand ของสินค้ าที่ผลิต กลุม่ ลูกค้ า คูแ่ ข่งขัน
-Supply ของสินค้ าโดยส่วนรวมและของธุรกิจเอง
-ข้ อจากัดด้ านการผลิต สถานที่ เครื่ องจักร แรงงาน
ภูมิอากาศ
-ด้ านกฎหมาย ฯลฯ (กฎหมายแพ่งและพาณิชย์)
-การคาดการแนวโน้ มในอนาคต ต้ องคาดการแนวโน้ ม
ธุรกิจให้ ได้ ควรดูเหตุผล สภาวะแวดล้ อม
-การศึกษาเศรษฐกิจ ภาวะสินค้ าในอนาคตอีก 5 ปี
ข้ างหน้ า
“โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา”
7.สรุ ปและความเห็น
จากการดูมาจากข้ อ 1-6 แล้ วหยิบเอาสิง่ ดีๆ ในแต่
ละข้ อมาสรุป เพื่อตัดสินใจว่าจะให้ สินเชื่อหรื อไม่ให้ สินเชื่อที่
มีความเสี่ยงมาก ต้ องอนุมตั ิให้ ผ่อนชาระในระยะสันและ
้
ดอกเบี ้ยสูงๆ สินเชื่อที่เสี่ยงน้ อย ต้ องให้ ผ่อนชาระในระยะยาว
ดอกเบี ้ยไม่สงู มากนัก
“การวิเคราะห์ สินเชื่อต้ องอาศัยประสบการณ์ และทักษะในการพิจารณา”
การจัดโครงสร้ างวงเงินสินเชื่อ
เพื่อประโยชน์ ในการติดตามและควบคุมการใช้ วงเงิน
ของลูกค้ า โดยมีหลักการดังนี ้
สอดคล้ องกับวิธีการดาเนินธุรกิจ
สอดคล้ องกับกระแสเงินสดของลูกค้ า
เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ของการใช้ เงิน
ข้ อควรระวังในการจัดวงเงิน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ความถูกต้ องของข้ อมูล
Double Financing
การให้ วงเงินเกินความจาเป็ น
เงื่อนไขวงเงินต้ องเป็ นที่ยอมรับทั้ง 2 ฝ่ าย
สามารถตรวจสอบการใช้ เงินได้
กาหนดเงื่อนไขการชาระคืนที่เหมาะสม
หัวข้ อที่ 3 การบริหารหนีม้ ีปัๆหา
ประเภทของลูกหนี ้
1. PL – หนี ้ค้ างชาระที่ยงั รับรู้เป็ นรายได้ ค้ างชาระไม่เกิน 3 เดือน
2. NPLs – หนี ้ค้ างชาระที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ (Non-Performing Loans)
ค้ างชาระเกิน 3 เดือนขึ ้นไป
สั ญญาณเตือนภัย (WARNING SIGN) และอาการของหนีท้ ปี่ ัญหา
อาการของหนีท้ มี่ ปี ัญหา
1. ลูกหนี้ไม่ให้ขอ้ มูลหรื อหลบเลี่ยงการติดต่อ
2. มีข่าวในทางลบของลูกหนี้
3. โครงการล่าช้ากว่ากาหนดหรื อเกิด COST OVER RUN
4. ผิดนัดชาระเงินกูต้ ามสัญญา
5. การเคลื่อนไหวบัญชีนอ้ ย และมีการเกินวงเงินบ่อยครั้ง
6. เช็คการค้าเรี ยกเก็บเงินไม่ได้หรื อนาเช็คส่ วนตัวมาขายลด
7. ใช้วงเงินสิ นเชื่อประเภท P/N ผิดวัตถุประสงค์
8. ไม่สามารถส่ งสิ นค้า ได้ตามกาหนด
9.มีหนี้สินกับสถาบันการเงินอื่น ๆ มาก
10.เกิดการเปลี่ยนแปลงผูบ้ ริ หาร
11.ผลประกอบการ ขาดทุน
อาการของหนีท้ ี่มีปัญหา
เมื่อตรวจพบอาการของหนี้ที่มีปัญหาแล้ว ควรจะรี บดาเนินการ เพื่อแก้ไขปั ญหานั้น โดย
มีข้นั ตอนการดาเนินการ ดังนี้
1. ตรวจสอบภาระหนี้ท้ งั หมดของลูกหนี้ และผลการติดต่อ
2. ตรวจสอบเอกสาร และหลักประกัน
3. ออกเยีย่ มเยียนลูกหนี้หรื อเชิญพบเพื่อเจรจา
4. วิเคราะห์ปัญหาของลูกหนี้
5. หาสาเหตุของปัญหา
6. กาหนดแนวทางการแก้ไข
7. ดาเนินการแก้ไข
8. ติดตาม และประเมินผล
สาเหตุของปัญหา
สาเหตุของปัญหาที่พบเสมอ ๆ มีสาเหตุสาคัญ 3 ประการคือ
1) สาเหตุจากความบกพร่ องของธนาคาร
2) สาเหตุจากตัวลูกหนี้ เอง
3) ปั จจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อลูกหนี้
1). สาเหตุจากความบกพร่ องของธนาคาร
- ขาดการวิเคราะห์สินเชื่อที่ดี
- พนักงานธนาคารขาดประสบการณ์
- เน้นเป้ าหมายมากกว่าคุณภาพสิ นเชื่อ
- ให้สินเชื่อโดยเกรงใจผูแ้ นะนา
- ไม่ควบคุมการใช้วงเงินสิ นเชื่อให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์
- ทิ้งปัญหาไม่ดาเนินการแก้ไขมาตั้งแต่ตน้
- ขาดการประสางานระหว่างกัน
- HUMAN ERROR
- ความไม่ซื่อสัตย์ของพนักงาน
2) สาเหตุจากตัวลูกหนีเ้ อง
- สภาพธุรกิจโดยรวมเกิดปัญหา
- สิ นค้าขายไม่ได้หรื อผลิตสิ นค้าไม่ตรงตามความต้องการของตลาด
- ใช้เงินผิดวัตถุประสงค์
- เกิดการเปลี่ยนแปลงผูบ้ ริ หาร
- มีภาระหนี้สินเกินตัว
- จัดระบบงานไม่ดี เกิดการรั่วไหล
- เช็คการค้าของลูกหนี้เรี ยกเก็บเงินไม่ได้
- OVER INVESTMENT
- ลงทุนใน FIX ASSET มากเกินไป
- เทคนิคการผลิตและเครื่ องจักรล้าสมัย
3) ปัจจัยภายนอกทีม่ ผี ลกระทบต่ อลูกหนี้
- ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ (ECONOMICS)
- ปัจจัยทางด้านการเมือง (POLITICAL)
- ปัจจัยทางด้านนโยบายของรัฐ (GOVERNMENT POLICY)
- ปัจจัยทางด้านตลาดสิ นค้า (MARKETING)
- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค
- UNFORSEEN FACTOR (ปั จจัยที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า)
การวางแนวทางเพื่อแก้ ไขหนีท้ ่ ีมีปัๆหา
จะต้องคานึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้
1. ความจริ งใจของลูกหนี้ในการแก้ไขปั ญหา
2. สภาพธุรกิจที่ดาเนินอยู่
3. ความสามารถในการชาระหนี้
4. หลักประกัน
5. วิธีการควบคุม
 ในกรณีทธี่ ุรกิจยังดาเนินการต่ อไปได้
 ในกรณีทธี่ ุรกิจต้ องมีการเยียวยารักษา
1. Restructure ใหม่
1. Split หนี ้
2. ลดเงินต้ นหรื อดอกเบี ้ย
2. รับโอนทรัพย์สินเพื่อชาระหนี ้
3. การเพิ่มทุน
3. การดาเนินคดี
4. ให้ ก้ เู พิ่ม
5. Reorganization
6. การเจรจาให้ ขายทรัพย์เพิ่ม
7. เปลี่ยนหนี ้เป็ นทุน
Q&A