ธนาคารออมสินสินเชื่อ

Download Report

Transcript ธนาคารออมสินสินเชื่อ

ประวัติธนาคารออมสิน
“แบงค์ ลฟี อเทีย” ต้ นแบบการออม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรง
เห็ น คุ ณ ประโยชน์ ข องการออมทรั พ ย์ เพื่ อ ให้
ประชาชนรู ้ จกั การประหยัด การเก็บออม มี สถานที่
เก็บ รั ก ษาทรั พ ย์สิน เงิ น ทองของประชาชน ให้
ปลอดภัยจากโจรผูร้ ้าย จึงทรง ริ เริ่ มจัดตั้งคลังออมสิ น
ทดลองขึ้ น โดยทรงพระราชทานนามแบงค์ ว่ า
“ลีฟอเทีย”ในปี พ.ศ. 2450 เพื่อทรงใช้ศึกษาและ
สารวจนิ สัยคนไทยในการออมเบื้องต้น พระองค์ทรง
เข้าใจในราษฎรของพระองค์และทรงทราบดี ว่าควร
ใช้ กุ ศ โลบายใดอัน จะจู ง ใจคนไทยให้ ม องเห็ น
ความสาคัญของการออม
กาเนิด ธนาคารออมสิ น
คลังออมสิ น สังกัดกรมพระคลังมหาสมบัติ
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พ.ศ. 2456 –
2471 เพื่อให้คลังออมสิ นได้เป็ นประโยชน์
เกื้อกูลเผื่อแผ่ไปถึงราษฎรโดยทัว่ กัน
พระองค์จึงได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้
ดาเนินการจัดตั้ง “คลังออมสิ น” ขึ้นในสังกัด
กรมพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงพระคลัง
มหาสมบัติ
และพระราชทานพระบรมรา
ชานุญาตประกาศใช้ “พระราชบัญญัติคลัง
ออมสิ น พ.ศ. 2456” ประกาศใช้ในวันที่ 1
เมษายน พ.ศ. 2456
เติบโต อย่ างรุ ดหน้ า
กองคลังออมสิ น สังกัดกรมไปรษณี ยโ์ ทรเลข
กระทรวงพาณิ ชย์และคมนาคม พ.ศ. 2472 –
2489 ต่อมาในปี พ.ศ. 2472 พระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 ทรงมี
พระราชดาริ เห็นควรโอนกิจการคลังออมสิ น
ให้้ไปอยูใ่ นความรับผิดชอบของ
กรมไปรษณี ยโ์ ทรเลข กิจการได้เริ่ มแพร่ หลาย
และ เป็ นที่นิยมของประชาชนอย่างกว้างขวาง
ซึ่งนับได้วา่ กิจการคลังออมสิ นในช่วงระยะนี้
เติบโตขึ้นมาก จึงเรี ยกได้วา่ เป็ น "ยุคแห่ ง
ความก้ าวหน้ าของการคลังออมสิ นแห่ ง
ประเทศไทย"
รากฐานความ มัน่ คง
ธนาคารออมสิ น สังกัดกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2490 – ปั จจุบนั
ต่อมาภายหลังเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง รัฐบาลได้เห็นถึงคุณประโยชน์ ของการ
ออมทรัพย์และความสาคัญของ คลังออมสิ นที่มีต่อการพัฒนาประเทศ จึงได้ยกฐานะของ
คลังออมสิ นขึ้นเป็ นองค์การของรัฐ
มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล
ดาเนินธุรกิจภายใต้
“พระราชบัญญัติธนาคารออมสิ น พ.ศ. 2489” มีการบริ หารงานโดยอิสระ ภายใต้การ
ควบคุมของคณะกรรมการ ซึ่ งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง เริ่ ม
ดาเนินธุรกิจในรู ปธนาคาร ออมสิ น ตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2490 และคาว่า “คลังออมสิ น”
ก็ไ็ ด้เปลี่ยน เป็ นคาว่า “ธนาคารออมสิ น” นับแต่บดั นั้นเป็ นต้นมา
ปัจจุบนั ธนาคารออมสิ นมีฐานะเป็ นนิติบุคคล เป็ นรัฐวิสาหกิจ ในรู ปของสถาบัน
การเงินทีม่ รี ัฐบาล เป็ นประกันอยู่ภายใต้ การกากับดูแลของ กระทรวงการคลัง
มีสาขา 1,121 สาขา ทั่วประเทศ มี อายุครบ 101 ปี เมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2557
นโยบายสินเชื่อ
(Credit Policy)
สินเชื่อต้องห้าม
ธนาคารต้อง ไม่อนุ มตั ิ สินเชื่อดังต่อไปนี้
1.สินเชื่อที่ให้แก่ธุรกิจผิดกฎหมาย เช่น การพนัน ยาเสพติด การค้าประเวีีฯ
2.สินเชื่อที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศระงับการให้สินเชื่อ
3.สินเชื่อที่ให้แก่บุคคลหรือนิติบุคคลที่ลม้ ละลาย หรือศาลมีคาสังพิ
่ ทกั ษ์ทรัพย์
4.สินเชื่อที่มีวตั ถุประสงค์การใช้เงินกูเ้ กีย่ วข้องกับกิจกรรมทางการเมือง
5.สินเชื่อที่ให้แก่การเก็งกาไรที่ดินหรือหลักทรัพย์
6.สินเชื่อที่ให้แก่ธุรกิจที่ขดั กับความสงบเรียบร้อย หรือขัดกับศีลธรรมอันดี
7. สินเชื่อที่ให้แก่ธุรกิจประเภท อาบอบนวด โรงแรมม่านรูด
การวิเคราะห์สินเชื่อ
7 C’s
1. Character
Character
หมายถึงการดูลกั ษีะของผูก้ ูเ้ ป็ นการพิจารีาความซื่อสัตย์ ความ
มันคง
่
และอุปนิสยั ซึ่งจะมีผลต่อการชาระหนี้ คืน ธนาคารสามารถแยกออกได้เป็ น
ข้อย่อยๆ ดังนี้
ความรับผิดชอบ
ความมันคง
่
ความซื่อสัตย์
การตรงต่อเวลา
ความเสมอต้นเสมอปลาย
ประวัติการชาระหนี้
ที่อยู่
ลักษีะงานที่ทา
1. Character
ฐานะพื้ นฐานครอบครัว
ประวัติการล้มละลาย
วิธีการชาระหนี้
นโยบายการชาระหนี้
* Willingness to pay
วิธีการประเมิน CHARACTER สามารถทาได้หลายวิธี
การสัมภาษี์ส่วนตัว
จากเจ้าหนี้ รายอื่น
จากบุคคลในวงการธุรกิจ
2. Capacity
Capacity
หมายถึง ความสามารถในการชาระหนี้ เมือ่ ถึงกาหนดเวลา นันคื
่ อธนาคารจะดู
Factor ต่างๆ ดังนี้
ลูกค้าจะจัดการกับสินเชื่อที่ขอมาอย่างไร นันคื
่ อ พิจารีาว่าลูกค้านาเงินกูไ้ ปลงทุน
ทาอะไรและจะเกิดผลประโยชน์มากน้อยแค่ใหน
ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้ น หรือรายได้ของผูก้ ู ้ จะสามารถชาระหนี้ ได้ตามเงือ่ นไขที่ธนาคารต้องการ
ความสามารถชาระหนี้ ภายใต้วิกฤติการี์
พื้ นฐานของผูก้ ู ้ หรือผูบ้ ริหาร
สุขภาพของผูก้ ู ้ หรือผูบ้ ริหาร
ประวัติการประกอบกิจการ
ทาเลที่ต้ งั ของธุรกิจหรือโครงการ
ภาระหนี้ สินที่ผูก้ ูม้ ีอยู่ในปั จจุบนั
2. Capacity
การประเมิน CAPACITY อาจกระทาได้ดงั นี้
ทา Cash-Flow Projection
วิเคราะห์งบการเงินของผูก้ ู ้
วิเคราะห์ภาระหนี้ สินของผูก้ ูก้ บั สถาบันการเงินอื่นและกับ
บุคคลภายนอก
3. Capital
Capital หมายถึง
ทรัพยากรทางการเงิน
ของลูกค้า หรือส่วนทุน
ของลูกค้านันเอง
่
ข้อที่น่าสังเกต ลูกค้าที่
เป็ น Consumer Credit
มักจะมีส่วนทุนค่อนข้าง
น้อยกว่าลูกค้าที่เป็ น
Commercial Credit
สัดส่วนระหว่าง Capital กับ
ภาระการกูย้ ืมควรมีอตั ราที่
เหมาะสมตามสภาพธุรกิจ
โดยเฉพาะสินเชื่อประเภท
โครงการควรพิจารีาให้
รอบคอบ
4. Collateral
COLLATERAL หมายถึง สินทรัพย์ที่ลูกค้านามาให้ธนาคารใช้เป็ นหลักทรัพย์
ค้ าประกัน หลักทรัพย์ที่ใช้ค้ าประกันจะช่วยให้ธนาคารมีความมันใจในการ
่
ปล่อยสินเชื่อ และเป็ นตัวสนับสนุ น 3 C’s ที่กล่าวมาข้างต้น
บทบาทของ COLLATERAL
ปั ญหาเรื่องการชาระหนี้
จะเด่นชัดเมือ่ สินเชื่อที่ธนาคารให้แก่ลูกค้ามี
ประเภทของหลักประกันมีอยู่หลายชนิดและการพิจารีารับหลักประกันก็ตอ้ ง
พิจารีาตามความเหมาะสม
4. Collateral
หลักทีธ่ นาคารใช้พจิ ารีา COLLATERAL คือ
•
•
•
•
•
เป็ นหลักประกันที่เป็ นที่ต้ งั ของกิจการ (Core Asset)
สภาพคล่องของหลักประกัน
มูลค่าของหลักประกัน
แนวโน้มในอนาคตของหลักประกัน
ทางเข้า-ออกของหลักประกัน
5. Condition
CONDITION หมายถึง สภาพแวดล้อมหรือสภาวะการี์ทางเศรษฐกิจและ
การเมืองที่มีผลกระทบต่อสินเชื่อที่พิจารีา
ข้ อน่าสังเกตเกี่ยวกับ
การพิจารณา
CONDITIONS
•
การประเมิน
CONDITIONS จะต้ อง
พิจารณาใน 2 ด้ าน คือ
•
•
•
เป็ นปั จจัยที่ผูก้ ูไ้ ม่สามารถควบคุมได้ (Uncontrollable Factor)
ผูว้ ิเคราะห์จะต้องพิจารีาให้ดีว่า CONDITIONS ที่จะ
พิจารีาเป็ น CONDITIONS ของท้องถิน่ หรือประเทศ
ธนาคารพิจารีา CONDITIONS ที่กระทบต่อธุรกิจของลูกค้า
ธนาคารพิจารีาความสามารถของลูกค้าในการจัดการธุรกิจ
ภายใต้ CONDITIONS ที่เกิดขึ้ น
การจัดวงเงิน
การจัดโครงสร้างวงเงินสินเชื่อ
เพือ่ ประโยชน์ในการติดตามและควบคุมการใช้วงเงินของลูกค้า
โดยมีหลักการดังนี้
สอดคล้องกับวิธีการ สอดคล้องกับกระแส
ดาเนินธุรกิจ
เงินสดของลูกค้า
เหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์ของ
การใช้เงิน
หลักในการจัดวงเงิน
2. มูลค่าการลงทุนรวม
1. วัตถุประสงค์ในการขอกู ้
•
•
สินเชื่อระยะยาว (L/T)
สินเชื่อระยะสั้น (P/N,
O/D)
•
เพือ่ ดูรายละเอียดการ
ลงทุนทั้งหมด
หลักในการจัดวงเงิน
3. เงินทุน
เพือ่ ดู D/E Ritio
สัดส่วนหนี้ สินต่อทุน
ปกติไม่ควรเกิน 60%
ของมูลค่าการลงทุน
รวม หรือ 1.5 ต่อ 1
4. ความสามารถใน
การชาระหนี้
กาไรคงเหลือ
/EBITDA เพียงพอต่อ
การชาระหนี้ หรือไม่
5. หลักประกัน
มูลค่าหลักประกันคุม้
มูลหนี้ เป็ นไปตาม
หลักเกีฑ์ทีธ่ นาคาร
กาหนดหรือไม่
หลักในการจัดวงเงิน
เงินกูร้ ะยะยาว (L/T)
•
ต้องวิเคราะห์ D/E Ratio และ Verify ส่วนทุนด้วยทุกครั้ง
เพือ่ ให้แน่ใจว่ามิได้มาจากการก่อหนี้
การพิจารีาโครงสร้างการลงทุน
แหล่ งใช้ ไปของ
เงินทุน
ผู้ก้ อู อกเอง
กู้ธนาคาร
ที่ดนิ
8
8
-
อาคาร
7
1
6
ครุ ภณ
ั ฑ์
5
1
4
ค่ าใช้ จ่ายก่ อนการดาเนินงาน
1
1
-
เงินทุนหมุนเวียน
3
-
3
มูลค่ าการลงทุน
24
11
13
รายการ
แหล่ งที่มาของเงินทุน
สัดส่วนเงินกู้ต่อเงินลงทุนของโครงการ = 13 /24 = 0.54 : 1
สัดส่วนเงินกู้ต่อส่วนของเจ้ าของ (D/E) = 13 /11 = 1.18 : 1
หลักในการจัดวงเงิน
กรีีวงเงินเบิกเกินบัญชี (O/D)
ให้คานวีความจาเป็ นในการใช้วงเงินประกอบด้วย
เงินทุนหมุนเวียน = ล/น การค้า + สต็อกสินค้า
- เจ้าหนี้ การค้า - เงินทุนหมุนเวียนเดิม
ธุรกิจพาีิชย์
ลูกหนี้ การค้า = ยอดขายต่อเดือน x (%) ขายเชื่อ x ระยะเวลาในการให้เครดิต
เจ้าหนี้ การค้า = ต้นทุนขายต่อเดือน x (%) ซื้ อเชื่อ x ระยะเวลาได้รบั เครดิต
สต็อกสินค้า = ต้นทุนขายต่อเดือน x ระยะเวลาในการเก็บสินค้า
ธุรกิจอุตสาหกรรม
ลูกหนี้ การค้า = ยอดขายต่อเดือน x (%) ขายเชื่อ x ระยะเวลาในการให้เครดิต
เจ้าหนี้ การค้า = ต้นทุนวัตถุดิบต่อเดือน x (%) ซื้ อเชื่อ x ระยะเวลาได้รบั เครดิต
สต็อกสินค้า = ต้นทุนผลิตต่อเดือน x ระยะเวลาในการสต็อกสินค้า
การคานวีเงินทุนหมุนเวียน
ตัวอย่าง
กิจการมียอดขายสินค้าจานวน 3.00 ล้านบาท โดยเป็ นการขาย
เชื่อ100% ระยะเวลาในการให้เครดิตเทอมลูกค้า 3 เดือน ยอดซื้ อ
สินค้าเฉลีย่ เดือนละ 2.10 ล้านบาท เครดิตเทอมประมาี 3 เดือน
สต็อกสินค้าทุกขีะประมาี 4.20 ล้านบาท ปั จจุบนั บริษทั มีวงเงิน
หมุนเวียนอยู่ 4.00 ล้านบาท
การคานวีเงินทุนหมุนเวียน
ลูกหนี้ การค้า = ยอดขายต่อเดือน x (%) ขายเชื่อ x ระยะเวลาในการให้เครดิต
= 3,000,000 บาท x100%x 3 เดือน
= 9,000,000 บาท
เจ้าหนี้ การค้า = ต้นทุนขายต่อเดือน x (%) ซื้ อเชื่อ x ระยะเวลาได้รบั เครดิต
= 2,100,000 บาท x 100%x 3 เดือน
= 6,300,000 บาท
สต็อกสินค้า = 4,200,000 บาทต่อเดือน
การคานวีเงินทุนหมุนเวียน
เงินทุนหมุนเวียนที่ตอ้ งใช้ = ลูกหนี้ + สต็อกสินค้า - เจ้าหนี้
= 9,000,000 บาท + 4,200,000 บาท – 6,300,000 บาท
= 6,900,000 บาท
วงเงินหมุนเวียนเพิม่ = เงินทุนหมุนเวียน - วงเงินเบิกเกินบัญชี
= 6,900,000 บาท – O/D ธ.ออมสิน
= 6,900,000 บาท – 4,000,000 บาท
= 2,900,000 บาท
แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน
ตัวอย่าง 1
ลูกค้ามีโครงการลงทุนผลิตบรรจุภี
ั ฑ์ ต้องใช้เงินสร้างโรงงาน 10
ล้านบาท และซื้ อเครือ่ งจักร 20 ล้านบาท ได้เสนอขอสินเชื่อ 25
ล้านบาท และตนเองได้ลงทุนในรูปเงินสด 5 ล้านบาท สาหรับที่ดิน
ตั้งโรงงานนั้น ลูกค้าจะก่อสร้างบนทีด่ ินของตนเอง ซึ่งซื้ อไว้นานแล้ว
ในราคา 1 ล้านบาท ปั จจุบนั มีมูลค่าตามราคาตลาด 10 ล้านบาท
แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน
แหล่ งใช้ ไปของเงินทุน
แหล่ งที่มาของเงินทุน
รวม
รวม
D/E RATIO =
การประมาีการความสามารถในการชาระหนี้
ประมาีการงบ
กาไรขาดทุน
EBITDA
ICR
DSCR
ความสามารถในการชาระหน้
ICR
Interest Coverage Ratio
(EBITDA)
ดอกเบีย้ จ่ าย
DSCR
(EBITDA)
Debt Service Coverage Ratio ดอกเบี ้ยจ่าย + เงินต้ นชาระคืน
>1
>1
ประมาีการงบกาไร-ขาดทุน
รายได้ = ราคาขาย x ปริมาีขาย
ต้นทุนสินค้า (ไม่รวมค่าเสือ่ มราคา)
= วัตถุดิบ + แรงงาน + ค่าใช้จ่ายในการผลิต
กาไรขั้นต้น
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ไม่รวมค่าเสือ่ มราคา)
กาไรจากการดาเนินงาน (EBITDA)
การวิเคราะห์
สินเชื่อบุคคล
การวิเคราะห์สินเชื่อบุคคล
C1
Character
C2
Capacity
C3
Capital
C4
Collateral
การวิเคราะห์
สินเชื่อธุรกิจ SMEs
ภาพรวมการวิเคราะห์สินเชื่อธ ุรกิจ SMEs
การวิเคราะห์สินเชื่อธ ุรกิจ SMEs
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การวิเคราะห์เชิงค ุณภาพ
Quality
Quantity
การประย ุกต์หลัก 5C ในการวิเคราะห์
การวิเคราะห์สินเชื่อธ ุรกิจ SMEs
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การวิเคราะห์เชิงค ุณภาพ
Character
Capacity
Collateral
Capital
Condition
การประย ุกต์หลัก 5C ในการวิเคราะห์
การวิเคราะห์สินเชื่อธ ุรกิจ SMEs
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
Capacity
Capital
วันนี้เน้น
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ : Quality
เพื่อพิจารณาว่าล ูกค้านาเงินกไ้ ู ปลงท ุนทาอะไรและจะเกิด
ผลประโยชน์มากน้อยแค่ใหน (ROA, ROI, ROE, NPV, IRR)
Capacity
ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจะสามารถชาระหนี้ได้ตามเงื่อนไขของ
ธนาคารหรือไม่ (ICR , DER, DSCR)
ความสามารถในการชาระหนี้ภายใต้สถานการณ์วิกฤติ
(worstcase sconario)
สภาพทางการเงิน (CR , QR)
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ : Quality
Capital
เพื่อพิจารณาทรัพยากรทางการเงิน/สินทรัพย์
ทางการเงิน (Monetary Asset) หรือ ส่วนท ุน
(Equity) ของล ูกค้า (Leverage : DR, DE)
การวิเคราะห์ Capacity และ Capital
วิเคราะห์งบการเงิน
(Financial Statement
Analysis)
วิเคราะห์อตั ราส่วน
ทางการเงิน (Financial
Ratio Analysis)
วิเคราะห์กระแส
เงินสด (Cash Flow
Analysis)
วิเคราะห์ความสามารถในการชาระหนี้ของบ ุคคล
แยกต่างหากจากนิติบ ุคคล
การวิเคราะห์งบการเงิน
(Financial Statement Analysis)
กาหนดวัตถ ุประสงค์
รวบรวมข้อมูลที่ตอ้ งใช้
วิเคราะห์ตามแนวดิ่ง
เลือกวิธีการที่ใช้วิเคราะห์
วิเคราะห์และเปรียบเทียบ
แปลความและสร ุปผลการ
วิเคราะห์
วิเคราะห์ตามแนวนอน
วิเคราะห์แนวโน้ม
วิเคราะห์อตั ราส่วน
ทางการเงิน
งบการเงิน : Financial Statement
สาหรับกิจการที่มีสว่ นได้เสียสาธารณะ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การนาเสนองบการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน
งบกาไรขาดท ุนเบ็ดเสร็จ
งบแสดงการเปลี่ยนแปลง
ส่วนของเจ้าของ
งบกระแสเงินสด
งบการเงินรวม
หมายเหต ุประกอบงบ
การเงิน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พรบ.การบัญชี 2543
มาตราฐานการบัญชี (TAS,TFRS)
ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีใน
พระบรมราชูปถัมภ์
งบการเงิน : Financial Statement
สาหรับกิจการที่ไม่มีสว่ นได้เสียสาธารณะ
1.
2.
3.
4.
การนาเสนองบการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน
งบกาไรขาดท ุน/งบกาไร
ขาดท ุนเบ็ดเสร็จ
งบแสดงการเปลี่ยนแปลง
ส่วนของผูเ้ ป็นเจ้าของ
หมายเหต ุประกอบงบ
การเงิน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พรบ.การบัญชี 2543
มาตราฐานการบัญชี (TFRS for
NPAE) ออกโดยสภาวิชาชีพ
บัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์
งบการเงินที่ตอ้ งจัดทา
ผูม้ ีหน้าที่จดั ทา
บัญชี
งบแสดง
ฐานะทาง
การเงิน
1.ห้างหน้ ุ ส่วนจด
ทะเบียน

2.บริษทั จากัด
งบกาไร
ขาดท ุน
งบกาไร
ขาดท ุน
เบ็ดเสร็จ
งบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงส่วน
ของผูเ้ ป็นเจ้าของ
งบ
กระแส
เงินสด
งบ
การเงิน
รวม
หมายเหต ุ
ประกอบงบ
การเงิน
งบการเงิน
เปรียบเทียบ
กับปีก่อน

-
-
-
-

-


-

-
-


3.นิติบ ุคคลที่ตงั้ ขึ้น
ตามกฎหมาย
ต่างประเทศ


-

-
-


4.กิจการร่วมค้า
ตามประมวล
รัษฎากร


-

-
-


5.บริษทั มหาชน
จากัด

-






ประเภทนิติบ ุคคล
นิติบ ุคคล
ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์
- ห้างหน้ ุ ส่วนสามัญ
นิติบ ุคคล
- ห้างหน้ ุ ส่วนจากัด
- บริษทั จากัด
ตามประมวล
รัษฎากร
- กิจการร่วมค้า
พรบ.บริษทั มหาชน
- บริษทั มหาชน
(จากัด)
กฎหมายอื่นๆ
- พรบ.สหกรณ์
- พรบ.ออมสิน
- พรบ.การจัดสรร
ที่ดิน 2543
- พรบ.นิติบ ุคคล
อาคารช ุด
การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน
(Ratio Analysis)
1. วัดสภาพคล่องของกิจการ (Liquidity Ratio)
2. วัดประสิทธิภาพในการดาเนินธ ุรกิจ/จัดการสินทรัพย์
(Activity Ratio)
3. วัดโครงสร้างทางการเงิน/ความสามารถในการชาระหนี้
(Leverage Ratio)
4. วัดความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratio)
5. วัดมูลค่าตลาด (ความน่าลงท ุน) (Market Value Ratio)
อัตราส่วนวัดความสามารถ
ในการชาระหนี้ (Leverage Ratio)
หนี้สินหมุนเวียน
โครงสร้างทางการเงิน
Financial Structure
หนี้สินไม่หมุนเวียน
ส่วนของเจ้าของ
โครงสร้างเงินท ุน
Capital Structure
อัตราส่วนวัดความสามารถ
ในการชาระหนี้ (Leverage Ratio)
อัตราส่วนหนี้สิน
ต่อสินทรัพย์
หนี้สินรวม
สินทรัพย์รวม
แสดงโครงสร้างทางการเงินของกิจการว่า มาจากการก่อหนี้หรือ
ภาระผูกพันเมื่อเทียบกับเงินท ุนทัง้ สิ้นของกิจการ
> 0.5 กิจการมีภาระผูกพันในการชาระหนี้ต่า (เสี่ยงต่า)
< 0.5 กิจการมีภาระผูกพันในการชาระหนี้สงู (เสี่ยงสูง)
อัตราส่วนวัดความสามารถ
ในการชาระหนี้ (Leverage Ratio)
อัตราส่วนหนี้สินไม่
หมุนเวียนต่อสินทรัพย์รวม
หนี้สินไม่หมุนเวียนรวม
สินทรัพย์รวม
แสดงโครงสร้างเงินท ุนว่ากิจการจัดหาเงินท ุนจากการก่อหนี้หรือ
ภาระผูกพันระยะยาวที่กิจการต้องจ่ายชาระฏกยใช้สินทรัพย์รวม
> 0.5 กิจการมีภาระผูกพันในการชาระหนี้ต่า (เสี่ยงต่า)
< 0.5 กิจการมีภาระผูกพันในการชาระหนี้สงู (เสี่ยงสูง)
อัตราส่วนวัดความสามารถ
ในการชาระหนี้ (Leverage Ratio)
อัตราส่วนหนี้สินต่อ
ส่วนของเจ้าของ
D/E Ratio
หนี้สินรวม
ส่วนของเจ้าของรวม
แสดงโครงสร้างเงินท ุนว่าเงินท ุนของกิจการมาจากการก่อหนี้
หรือภาระผูกพันเมื่อเทียบกับส่วนของเจ้าของ
> 1 กิจการมีภาระผูกพันในการชาระหนี้ต่า (เสี่ยงต่า)
< 1 กิจการมีภาระผูกพันในการชาระหนี้สงู (เสี่ยงสูง)
อัตราส่วนวัดความสามารถ
ในการชาระหนี้ (Leverage Ratio)
อัตราส่วนความสามารถใน
การชาระดอกเบี้ย
ICR (Interest ConverageRatio)
EBIT / EBITDA
ดอกเบี้ยจ่าย
แสดงโครงสร้างเงินท ุนว่ากิจการมีภาระดอกเบี้ยจ่ายหรือต้นท ุนทางการเงิน
ที่ใช้กาไรมาชาระได้หรือไม่ (เป็นต้นท ุนทางการเงินจากการก่อหนี้สินไม่
หมุนเวียน)
> 1 กิจการไม่มีกาไรมากพอในการจ่ายชาระต้นท ุนทางการเงิน(เสีย่ งสูง)
< 1 กิจการมีกาไรมากพอในการจ่ายชาระต้นท ุนทางการเงิน (เสี่ยงต่า)
อัตราส่วนวัดความสามารถ
ในการชาระหนี้ (Leverage Ratio)
อัตราส่วนความสามารถในการ
ชาระหนี้สินทางการเงินในรอบปี
Debt Service Coverage Ratio :
DSCR
EBITDA
ดอกเบี้ยจ่าย +เงินต้นที่
ชาระในรอบปี
แสดงโครงสร้างเงินท ุนว่ากิจการว่า กิจการมีภาระหนี้ระยะยาวที่ครบ
กาหนดชาระในรอบปี โดยใช้กาไรมาชาระได้หรือไม่
> 1 กิจการไม่มีกาไรมากพอในการจ่ายชาระคืนหนี้ที่ครบกาหนดต้องจ่าย
ในรอบปี (เสี่ยงสูง)
< 1 กิจการมีกาไรมากพอในการจ่ายชาระ คืนหนี้ที่ครบกาหนดต้องจ่ายใน
รอบปี (เสี่ยงต่า)
การวิเคราะห์กระแสเงินสด
งบกระแสเงินสด
กิจกรรมดาเนินงาน
กิจกรรมลงท ุน
กิจกรรมจัดหาเงิน
-ขาย/ซื้อสินค้า/บริการ
-รับ/จ่ายเจ้าหนี้การค้า
-รับ/จ่าย คชจ.ดาเนินงาน
-จ่ายภาษีเงินได้
-ขาย/ซื้อที่ดินอาคารและ
อ ุปกรณ์
-ขาย/ซื้อหน้ ุ ท ุน หน้ ุ กข้ ู อง
กิจการอื่น
-ให้กิจการอื่นกย้ ู มื
-จ่ายเงินสดปันผล
-ไถ่ถอนหน้ ุ ก ้ ู
-ขายหน้ ุ ก ้ ู
-กย้ ู มื เงินระยะยาว/สัน้
WORK SHOP
การวิเคราะห์สินเชื่อ
ธ ุรกิจ SMEs