Credit Process

Download Report

Transcript Credit Process

แนวทางการกากับดูแลสถาบันการเงิน
โดยธนาคารแห่งประเทศไทย
ผบ. สุทศั น์ ไกรวงศ์ – 5 มกราคม 2558
สายกากับสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
กรอบการบรรยาย
1. เรื่องทัวไป
่
1.1 โครงสร้างการกากับดูแลระบบสถาบันการเงิน (สง.) ไทย
1.2 บทบาทของ ธปท. และสายกากับสถาบันการเงิน
1.3 พัฒนาการด้านการตรวจสอบสถาบันการเงิน
1.4 อานาจในการตรวจสอบและและความรู้ที่จาเป็ นของผูต้ รวจสอบ
2. แนวการตรวจสอบธุรกรรมที่สาคัญ (Significant Activities : SA)
2.1 การกาหนด SA
2.2 การประเมินการตรวจสอบแนว SA
3. เครื่องมือที่สถาบันการเงินใช้ในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต
3.1 นโยบายเครดิต
3.2 กระบวนการสินเชื่อที่ดี (Credit Process)
3.3 การจัดการกับสินเชื่อที่มีปัญหา
3.4 การจัดชัน้ และกันเงินสารอง
2
1.1 โครงสร้างการกากับดูแลระบบสถาบันการเงินในประเทศไทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ธนาคารพาณิ ชย์
- บริ ษทั เงิ นทุน
- เครดิ ตฟองซิ เอร์
สถาบันการเงิ น
เฉพาะกิ จ
- ธุรกิ จหลักทรัพย์
- ธุรกิ จประกันชีวิต
( ตลาดหลักทรัพย์ )
- ธุรกิ จประกันวิ นาศภัย
( ตลาดอนุพนั ธ์ )
( ตลาดตราสารล่วงหน้ า )
สหกรณ์
3
สถาบันการเงินที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของ ธปท.
หน้ าที่ตาม พ.ร.บ. ธุรกิจสถาบัน
การเงิน
- ธนาคารพาณิชย์ไทย [14]
- ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย [1]
- ธนาคารพาณิชย์ที่เป็ นบริษทั ลูกของ
ธนาคารต่างประเทศ [1]
- สาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ [14]
- บริษทั เงินทุน [2]
- บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ [3]
หน้ าที่ตามที่ได้รบั มอบหมายจาก
ก. คลัง และ พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้อง
- สถาบันการเงินเฉพาะกิจ [8]
- บริษทั บริหารสินทรัพย์ไทย [1]
- บริษทั บริหารสินทรัพย์ [24]
- Non-bank : บัตรเครดิต [11]
: สินเชื่อส่วนบุคคล [27]
- บริษทั ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ [1]
- ผูใ้ ห้บริการการชาระเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์ [e-payment]
4
1.2 บทบาทและหน้ าที่หลักของ ธปท.
หน้ าที่หลักของ ธปท.
ดูแลด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงิน
• ดูแลเงินเฟ้ อให้อยู่ในกรอบที่กาหนด
• รักษาเสถียรภาพด้านต่างประเทศ
• ลดความผันผวนของค่าเงินบาทที่กระทบ
ต่อเศรษฐกิจ
• ดูแลให้ระบบเศรษฐกิจมีความยืดหยุ่นและ
ปรับตัวต่อความผันผวนทัง้ ภายใน และ
ภายนอกได้ดี
ดูแลด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน
• มุง่ เน้ นให้มีการพัฒนาระบบการกากับ
ตรวจสอบ สง. ที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
• มุ่งพัฒนาให้ สง. ไทยมีความมันคง
่ มีการดาเนิน
การตามมาตรฐานสากล สามารถปรับตัวและ
แข่งขันกับ สง. ต่างประเทศได้
• กากับดูแลไม่ให้ประชาชนถูกเอาเปรียบจาก สง.
สายกากับสถาบันการเงิน / สายนโยบายสถาบันการเงิน
5
โครงสร้างองค์กร สายกากับสถาบันการเงิน
ฝ่ าย
ตรวจสอบ 1
ฝ่ ายตรวจสอบ
ความเสีย่ งและ IT
ฝ่ าย
ตรวจสอบ 2
ฝ่ ายตรวจสอบสถาบัน
เฉพาะกิจ
และ Non-bank
ฝ่ ายวิเคราะห์
และติดตามฐานะ
ฝ่ ายกากับ
สถาบันการเงิน
ฝ่ ายวางแผน
และพัฒนา
6
บทบาทของสายกากับสถาบันการเงิน
สายกากับสถาบันการเงิน มีหน้าทีห่ ลักในการกากับ ตรวจสอบ วิเคราะห์และติดตามฐานะการ
ดาเนินงาน ตลอดจนการบริหารความเสีย่ งของสถาบันการเงินเป็ นรายสถาบัน รวมทัง้ พิจารณา
คาขออนุญาตต่าง ๆ และดาเนินการกับสถาบันการเงินทีม่ ปี ญั หาในการดาเนินกิจการหรือ
ปฏิบตั ฝิ า่ ฝืนกฎหมาย
พรบ. ธปท.
คืนเงินฝาก/ชาระบัญชี
DPA
จัดตัง้ / ใบอนุญาต
รมต. (ธปท.+ กนส.)
พรบ. ธุรกิ จ สง.
กากับ & ตรวจสอบ
ธปท. (กนส.)
พรบ. คุ้มครอง
เงิ นฝาก
การกากับสถาบันการเงิน
ปิ ดกิจการ
เพิกถอนใบอนุ ญาต
ธปท. (กนส.) รมต.
ควบคุม
ธปท. &DPA
ช่วยฐานะ
FIDF & ครม.
ช่วยสภาพคล่อง
ธปท. (กนส.) & ครม.
7
การกากับดูแลอย่างต่อเนื่ องของ ธปท.
กาหนดขอบเขตการตรวจสอบ
ประเมินความเสีย่ งของ สง.
หารือร่วมกันระหว่าง
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
การเตรียม
การตรวจสอบ
ตรวจสอบที่
สถาบันการเงิ น
มาตรการแทรกแซง
โครงสร้างการสนับสนุ น
- แผนฉุกเฉินกรณีเกิดวิกฤตการณ์ สง.
- ระบบบริหารข้อมูล
- การพัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพ - แนวทางป้องกัน/มาตรการแก้ไขปญั หาของ
สง. ทีม่ ฐี านะเงินกองทุนต่ากว่าเกณฑ์ท่ี
พนักงาน
กฎหมายกาหนด
- การวิจยั และพัฒนา
- กระบวนการพัฒนาผูต้ รวจสอบ
พิ จารณาคาขอผ่อน
ผัน/คาขอใบอนุญาต
ติ ดตามและวิ เคราะห์
ตรวจสอบ
รายงานการวิ เคราะห์รายไตรมาสและทบทวนระดับความเสี่ยงโดยรวม
ติ ดตามการปฏิ บตั ิ ของ สง. ตามข้อสังเกตจากการตรวจสอบ
ประชุมกับผูบ้ ริ หารระดับสูงของ สง. และผูส้ อบบัญชีภายนอก
รายงานผลการ
ตรวจสอบและข้อสังเกต
ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน
กระบวนการประเมินความเพียงพอของ
เงินกองทุน (ICAAP)
การจัดทา Stress Test
ความสามารถในการชาระหนี้จากรายได้
ตรวจสอบ SA ประเมินความเสีย่ ง 5
ด้าน และความเสีย่ งทีม่ นี ยั สาคัญของ
สง.
ความเพียงพอของการกันเงินสารอง
การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
ระบบบริหารตามหลักธรรมาภิบาล
ประชุมสรุปผลการกับ
ผูบ้ ริหารระดับสูงหรือ
คณะกรรมการ สง.
คณะกลันกรองรายงานการ
่
ตรวจสอบ สง.
คณะอนุกรรมการพัฒนาการ
ตรวจสอบ สง.
Financial & Risk Assessment
การจัดระดับความเสี่ยงโดยรวม
ข้อสังเกต
8
1.3 พัฒนาการด้านการตรวจสอบสถาบันการเงิน
1997
Asian
Crisis
2001
2004
2008
Risk-based
Supervision
Financial
Sector Master
Plan Phase 1
(FSMP 1)
• New Banking Act
• Deposit Protection Act
• National Credit Bureau
• Basel II
• Consolidated
Supervision
2009
• FSMP II
• Financial
Consumer
Protection
Center
2010
2011
Basel III
Significant
Approach
9
การกากับดูแลในอดีตและปัจจุบนั
Rules-Based
Financial Based Approach
• Emphasis on detailed
transactions and the
assessment of financial
institution’s present condition.
• CAMELS system :
Capital adequacy
Asset Quality
Management
Earnings capability
Liquidity condition
Sensitivity to market risk
Dynamic
Risk Based
Approach (Since 1999)
• Emphasis on the
assessment of
the management’s ability to
identify, measure, monitor,
control risks and corporate
governance.
• Concerns present and future
financial condition as well as
risk management systems.
Significant
Activities (Since 2012)
• Emphasis on the
assessment of end-to-end
process of all significant
activities of each financial
institution.
• Concerns present and
future financial condition,
risk management systems
as well as effect from
external factors and
system-wide situation.
10
2.
แนวการตรวจสอบธุรกรรมที่สาคัญ
(Significant Activities : SA)
11
ธุรกรรมที่มีนัยสาคัญ (Significant Activities : SA)
SA หมายถึง ธุรกรรมหลักของ สง. หากมีการบริหารจัดการ
ที่ไม่ดีแล้วจะส่งผลกระทบต่อการบรรลุเป้ าหมาย
โดยรวมของ สง.
12
SA Concept
Busines
s
Inherent
Risk
QRM
Return
Net
Risk
Capital
13
การตรวจสอบตามแนว SA
• เข้าใจ Business Profile ของ สง. /ความเสี่ยง /การบริหารจัดการ
ความเสี่ยงของธุรกรรมที่สาคัญเพิ่มขึน้
• กาหนดขอบเขตการตรวจสอบชัดเจนขึน้ / บริหารทรัพยากรได้เหมาะสม
• หนังสือแจ้งผลการตรวจสอบเข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจน และตรงประเด็น
• สอดคล้องกับ ธ.กลางในภูมิภาคอาเซียน (มาเลเซีย สิงค์โปร์)
 อย่างไรก็ดี ยังคงใช้แนวทางตรวจสอบแบบ Risk-Based Supervision
เพียงแต่เปลี่ยนจุดเริ่มต้นจาก
• เดิม : ความเสี่ยง 5 ด้าน ธุรกรรมภายใต้ความเสี่ยง
• ใหม่ : ธุรกรรม ความเสี่ยง 5 ด้านภายใต้ธรุ กรรมนัน้
14
ความเสี่ยงหลัก 5 ด้าน
ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง =
ความเสี่ยงที่เกิ ดจากการที่ สง.
ไม่สามารถชาระหนี้ สินและ
ภาระผูกพันเมื่อถึงกาหนด
เนื่ องจากไม่สามารถเปลี่ยน
สิ นทรัพย์เป็ นเงิ นสดได้ หรือไม่
สามารถจัดหาเงิ นทุนได้
เพียงพอ หรือสามารถจัดหา
เงิ นทุนได้แต่ด้วยต้นทุนที่สงู
เกิ นกว่าที่จะยอมรับได้ ซึ่งอาจ
ส่งผลกระทบต่อรายได้และ
เงิ นกองทุนของ สง.
ความเสี่ยงด้านตลาด = ความเสี่ยงที่เกิ ดจากการเคลื่อนไหวของ
อัตราดอกเบีย้ อัตราแลกเปลี่ยนเงิ นตราต่ างประเทศ ราคาตรา
สารทุน และราคาสิ นค้าโภคภัณฑ์ ซึ่งอาจเกิ ดจากฐานะทัง้ ในและ
นอกงบดุลที่อยู่ในบัญชีเพื่อการค้า และ/หรือ บัญชีเพื่อการ
ธนาคาร
ตลาด
สภาพคล่อง
ปฏิบตั ิ การ
ความเสี่ยงด้านปฏิ บตั ิ การ = ความเสี่ยงที่จะเกิ ดความเสียหาย
ต่าง ๆ อันเนื่ องมาจากความไม่เพียงพอหรือความบกพร่องของ
กระบวนการภายใน บุคลากร และระบบงานของ สง. หรือจากเหตุการณ์
ภายนอก ธพ. ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่ อรายได้และเงิ นกองทุนของ สง.
เครดิต
ความเสี่ยงด้านเครดิ ต = โอกาส
หรือความน่ าจะเป็ นที่ค่สู ญ
ั ญา
ไม่สามารถปฏิ บตั ิ ตามภาระที่
ตกลงไว้ รวมถึงโอกาสที่ค่คู ้า
จะถูกปรับลดอันดับความเสี่ยง
ด้านเครดิ ต
กลยุทธ์
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ = ความเสี่ยงที่
เกิ ดจากการกาหนดนโยบายและแผนกล
ยุทธ์ แผนดาเนิ นงานและการนาไป
ปฏิ บตั ิ ไม่เหมาะสม หรือไม่สอดคล้องกับ
ปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก
15
Inherent risk
ความเสี่ยงที่มีอยู่โดยทัวไปตามลั
่
กษณะในการดาเนินธุรกิจหรือการ
ดาเนินกิจกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบนั และในอนาคต ก่อนที่จะพิจารณาการบริหาร
จัดการความเสี่ยง หรือจัดวางระบบการควบคุม ข้อพิจารณา
- เป็ นความเสี่ยงที่มีอยู่โดยตามลักษณะของธุรกิจ
- ความเสี่ยงที่เกิดขึน้ ทัง้ หมดจะต้องจัดให้อยู่ใน 5 ประเภทความเสี่ยง
- พิจารณาเป็ นราย Activity แต่ละ Activity ควรจะต้องมีความเสี่ยงหลัก
อาจมีความเสี่ยงอื่น ๆ เป็ นความเสี่ยงรอง
- พิจารณาทัง้ โอกาสและผลกระทบร่วมกัน เพื่อดูความมีนัย
ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
16
แนวทางการประเมิน Quality of Risk
Management (QRM)ระดับควบคุมดูแล
17
ข้อดีของการประเมิน QRM แบบ SA
1. ประเมิน
การจัดการได้
ชัดเจนขึน
้ และ
อยางเป็
นระบบ
่
2. ระบุจุดทีเ่ กิด
ปัญหาและบุคคล
ทีร่ บ
ั ผิดชอบใน
การแกไข
้
ประเด็น
ไดตรงจุ
ด
้
3. รายงาน
ตรวจสอบและ
หนังสื อแจงผล
้
ชัดเจนขึน
้
4. Moving
toward
International
Standards
18
ตัวอยาง
: Net Risk
่
IR
QRM
Net Risk
ปานกลาง
สูง
SA 1
ดี

สูง
SA 2
สูง
อ่อน

ปานกลาง
SA 3
ต่า
ดี

19
สรุปภาพรวมการประเมินความเสี่ยงตาม SA
ธุรกรรม SA
สินเชื่อ Corporate
สินเชื่อ SMEs
สินเชื่อ Consumer
QRM
Inherent Risks
กลยุทธ์
เครดิต
ตลาด
สภาพคล่อง
ปฏิบตั ิ การ
การ
ปรับลด
ความ
เสี่ยง
 Oversight Functions
คณะกรรมการ/ผู้บริหารระดับสูง
 Risk Management
 Financial Analysis / MIS
 Compliance / Internal Audit
 Operational Management
ความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ (Net risk) / แนวโน้ ม
ของแต่ละธุรกรรมที่สาคัญ
ผลการประเมิน Net Risk ของธุรกรรม SA
Direction
สินเชื่อ Corporate
สูง / ค่อนข้างสูง / ปานกลาง / ค่อนข้างตา่ /ตา่
สูงขึ้น/คงที่/ลดลง
สินเชื่อ SMEs
สูง / ค่อนข้างสูง / ปานกลาง / ค่อนข้างตา่ /ตา่
สูงขึ้น/คงที่/ลดลง
สินเชื่อ Consumer
สูง / ค่อนข้างสูง / ปานกลาง / ค่อนข้างตา่ /ตา่
สูงขึ้น/คงที่/ลดลง
ธุรกรรม SA
20
การจัดระดับโดยรวม (Composite Rating)
ระดับ
ความเสี่ยงรวม
ของธุรกรรม
ที่สาคัญ
ความสามารถ
ในการหารายได้
1
ดี
2
ค่อนข้างดี
2-
ค่อนข้างดี ค่อนไปทางพอใช้
3
พอใช้
3-
พอใช้ ไปทางค่อนข้างอ่อน
4
ค่อนข้างอ่อน
5
อ่อน
ธรรมาภิบาล
การปฏิบตั ิ ตาม
คาสังการ
่
เงินกองทุน
21
3. เครือ่ งมือที่สถาบันการเงินใช้ในการบริหาร
ความเสี่ยงด้านเครดิต
22
นโยบายเครดิต (Credit Policy)
• นโยบายเครดิตจะต้องได้รบั การอนุมตั ิ จากคณะกรรมการธนาคาร
• ควรมีการปรับปรุงนโยบายทุกๆ ปี
• นโยบายควรระบุแนวทางในการให้สินเชื่อประเภทใด หรือ
ภาคธุรกิจใด
• ต้องระบุสินเชื่อที่ต้องห้าม หรือไม่สนับสนุนสินเชื่อ
• นโยบายควรระบุถึงข้อกาหนดเกี่ยวกับการกระจุกตัวของสินเชื่อ
(Credit concentration) รวมทัง้ Industry limited
• นโยบายเครดิตควรชัดเจน และสามารถแยกเป็ นนโยบายฉบับย่อย
ได้
• ควรมีข้อกาหนดในการอนุมตั ิ สินเชื่อที่ไม่เป็ นไปตามนโยบาย
เครดิต
23
กระบวนการสินเชื่อที่ดี
(Credit Process)
24
1.
2.
3.
4.
กระบวนการสินเชื่อสาหรับ Corporate Loans
ประเด็นที่ควรระมัดระวัง (Critical Points) สาหรับ
Corporate Loans
กระบวนการสินเชื่อสาหรับ Retail Loans
ประเด็นที่ควรระมัดระวัง (Critical Points) สาหรับ
Retail Loans
25
Board
&
Sr. Mgt.
Framework
- Credit policy
- Credit Risk policy
+
Objectives
- Bus. objectives
- Bus. strategy
Operating guidelines
- Credit process
- Approval authorities
etc.
+
- Risk Appetite
Marketing
Credit
Analysis
Approval
Credit Admin.
Credit Process (CORPORATE + SMEs*)
* SME ที่มีลกั ษณะคล้าย Corporate
Feed back
Normal
Ongoing collection
Credit Risk
Mgt &
Control
Property
management
Loan
development
Authorities
- Application
- Loan analysis
Loan
Analysis
Loan
Approval
YES
- Reviews
Underwriting standard
- Loan objective
- Sensitivity of Business
- Ability
- Integrity
- Responsibility
- Repayment Plan
- Professional of creditors
- Terms and condition
- Credit bureau checking
- Pricing
- Risk Rating
- Collateral valuation
- BOT Regulations
- KYC/CDD
- Agreements
- Credit lines
- mortgages
NO
Monitoring
- Portfolio
monitoring
/management
- Loan classification
- Provision
- Rating Review
- Early warning
system
- Collateral value
Review
- Loan Reviews
- etc.
Loan
classification
Watch list
Closed monitoring
TDR
NPL
Sell/
transfer
NPA
Provisioning
Legal process
NPL
Collateral
valuation
Credit Risk management
Stress Testing
Back Testing
Basel II
Risk Analytic
-Model development
-Model validation
-Rating Development
Risk Rating
On going updated Info.
Annual
Review
Front Office
Loan Initiation
Middle Office
Loan Monitoring
and Control
Back Office
ตรวจสอบภายใน
compliance
Database M I S/Reports
Internal Audit + Quality Assurance
Compliance
Appraisal
Legal & Litigation
Board
Committees
Management
26
ประเด็นทีค่ วรระมัดระวัง (Critical Points) สาหรับ Corporate Loans
1.
2.
3.
4.
การวิเคราะห์สินเชื่อ
การอนุมตั ิ สินเชื่อ
หลักประกัน
ปฏิบตั ิ การสินเชื่อ (Loan Operation)
27
ประเด็นทีค่ วรระมัดระวัง (Critical Points) สาหรับ Corporate Loans
การวิเคราะห์สินเชื่อ
 Credit Report ที่จด
ั ทาเพื่อเสนออนุมตั ิ ต้องมี check and balance ตลอดทุกขัน้ ตอน
 RM ต้องเป็ นอิสระจาก CO
 จานวน CO ต้องเพียงพอ และมีประสบการณ์
 ต้อง verify สมมติฐานที่ใช้ประมาณการรายได้ของ cash flow
2. การอนุมต
ั ิ สินเชื่อ
 ต้องใช้ Credit Rating เป็ นปัจจัยสาคัญในการพิจารณาอนุมต
ั ิ สินเชื่อ
 นิยามของปัจจัยต่างๆใน Credit Rating ต้องชัดเจน เพื่อให้การกรอกข้อมูลเข้าระบบ
มีมาตรฐานเดียวกัน
 สายงานสินเชื่อต้องไม่ร้น
ู ้าหนักปัจจัยของ Credit Rating
 มีหน่ วยงานอิสระจาก RM สอบทานการให้ Credit rating ของ RM
 เมื่อได้รบ
ั Rating แล้วไม่ควรเปลี่ยน กรณี ทีจะให้ก้แู ก่ลกู ค้าที่ Rating ตา่ กว่าเกณฑ์
ที่จะอนุมตั ิ ต้องมีคาอธิบาย
 ปัจจัยพิจารณาอื่นนอกเหนื อจาก Credit Rating ต้องมีกรอบชัดเจนว่าใช้ปัจจัยใดได้บา้ ง
1.
28
ประเด็นทีค่ วรระมัดระวัง (Critical Points) สาหรับ Corporate Loans
หลักประกัน
 หน่ วยงานประเมินหลักประกันต้องเป็ นอิสระจากหน่ วยงานพิจารณาสินเชื่อ และมี
คณะกรรมการรับหลักประกัน ทัง้ กรณี ประเมินมูลค่าโดยหน่ วยงานภายในและภายนอก
และต้องชี้แจงเหตุผลในการรับหลักประกันไว้ด้วย
 กรณี ที่เป็ น NPL แล้วการประเมินราคาให้คานึ งถึงสภาพที่แท้จริงหากมีการขาย
 กรณี หลักประกันเป็ นที่ดิน รูปร่างและสภาพมีความสาคัญ
 หลักประกันอื่นๆที่ไม่ใช่อสังหาริมทรัพย์ ต้องพิจารณารายละเอียดเงื่อนไขอื่นที่จะมีผล
ต่อความสามารถในการบังคับหลักประกัน
4. ปฏิบต
ั ิ การสินเชื่อ (Credit Operation)
 ก่อนให้เบิกเงินกู้ สัญญากู้ต้องระบุเงื่อนไขครบตามมติอนุมต
ั ิ สินเชื่อ
 ถ้ามีเงื่อนไขให้เบิกเงินเป็ น phase ต้อง verify (โดยภายในหรือภายนอก)ว่าเป็ นไปตาม
เงื่อนไขแล้ว
 ต้องมีหน่ วยงานอิสระ ติดตามดูแลเรื่องเงื่อนไขบังคับหลังเบิกเงินกู้แล้ว เช่น กรณี
หลักประกันเป็ น inventory
5. การสอบทานสินเชื่อ
 ฝ่ ายจัดการต้องไม่ overrule ความเห็นจากการสอบทานสินเชื่อ โดยไม่มีเหตุผลอันควร
 หัวใจของการสอบทานคือการสอบทาน ability to pay และ loan document
3.
29
Board
&
Sr. Mgt.
Framework
- Credit policy
- Credit Risk policy
+
Objectives
- Bus. objectives
- Bus. strategy
+
- Risk Appetite
Credit Process (RETAILS+SMEs*)
Operating guidelines
- Credit process
- Approval authorities
etc.
* Characteristic similar to Retail
Feed back
Normal
Marketing
Application
Screening
Credit Admin.
Approval
-Documents
Completion
-Collaterals
Approve
YES
- Reviews
- Agreements
- Credit lines
- Mortgages
Underwriting standard
- KYC/CDD
Check credit
- Credit bureau checking
- Website checking (eg.BOL)
- Credit Scoring
Override
Authorities
NO
Credit Risk
Mgt &
Control
Monitoring
- Portfolio
monitoring
/management
- Loan classification
- Provision
- Behavior scoring
- Early warning
system
- Collateral value
Review
- Loan Reviews
- etc.
Ongoing collection
Property
management
Loan
development
Loan
classification
TDR
Watch list
Closed
monitoring
NPL
Provisioning
Collateral
valuation
Sell/Transfer
NPA
Legal Retail port.
Process
NPL
YES
Verification
- Product criteria
- Underwriting criteria
- Collateral valuation
- BOT regulation
Override
(Grey Area)
B
Risk Management
Stress Testing
Back Testing
Basel II
Risk Analytic
-Model development
NO
-Model validation
-Rating Development
A
A, B
Risk Scoring
-Application (A)
-Behavior (B)
Front Office
Middle Office
Back Office
Appraisal
Loan Initiation
Loan Monitoring and Control
Database M I S/Reports
Internal Audit
Internal Audit + Quality Assurance
compliance
Compliance
Legal & Litigation
Board
Committees
Mgt.
30
ประเด็นทีค่ วรระมัดระวัง (Critical Points) สาหรับ Retail Loans
กระบวนการอนุมตั ิ สินเชื่อ
 ต้องมี check and balance ตลอดกระบวนการ
 ต้องใช้ระบบ Credit Scoring เป็ นปัจจัยหลักในการอนุมต
ั ิ สินเชื่อ



พนักงานที่นาข้อมูลเข้าต้องไม่ร้นู ้าหนักปัจจัยของ Credit Scoring
การ Verify ลูกหนี้ เป็ นสิ่งสาคัญ ป้ องกันการทุจริต
การ Override cut off score ควรมีเกณฑ์ชดั เจน และไม่ควรผ่อน
ปรนจากเกณฑ์ดงั กล่าวอีก
31
การบริหาร Portfolio สินเชือ่
• การกระจุกตัวของสินเชื่อ
ตามภาคอุตสาหกรรม
ตามภูมิภาค /ประเทศ
ตามประเภทสินเชื่อ
• การกาหนดสัดส่วนการให้สินเชื่อตามแผนธุรกิจ
• เครื่องมือในการติดตามคุณภาพของ Portfolio
32
การสอบทานสินเชือ่ (Loan Review)
ประโยชน์ ของการสอบทานสินเชื่อ
1. เพื่อทราบคุณภาพของ port สินเชื่อ
2. เพื่อทราบจุดอ่อนในระบบบริหารสินเชื่อ และสาเหตุ
3. เพื่อเป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของทางการ
4. เพื่อสุ่มดูความครบถ้วนของเอกสารหลักฐาน และ
เพื่อประโยชน์ ในการควบคุมภายใน
33
แนวทางการสอบทานสินเชือ่
ให้สถาบันการเงินสอบทานกระบวนการปฏิบตั ิ งานที่เกี่ยวข้อง
กับสินเชื่อ(Credit process) ตัง้ แต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ
รวมถึงความถูกต้องของการจัดชัน้ ลูกหนี้ และการกันเงินสารองค่า
เผือ่ หนี้ สงสัยจะสูญตามแนวทางดังต่อไปนี้
(1) สอบทานการวิเคราะห์ความสามารถในการชาระคืนของ
ลูกหนี้ การประเมินราคาหลักประกัน และการอนุมตั ิ วงเงินสินเชื่อ
ต้องเป็ นไปตามนโยบายสินเชื่อ ขัน้ ตอนและวิธีปฏิบตั ิ ที่สถาบัน
การเงินกาหนดไว้ โดยจะต้องมีเอกสารหลักฐานที่จาเป็ นครบถ้วน
ในแฟ้ มลูกหนี้ (Credit file)
34
แนวทางการสอบทานสินเชือ่ (ต่อ)
(2) ความถูกต้อง ครบถ้วนของนิติกรรมที่เกี่ยวข้อง เป็ นไปตาม
เงื่อนไขในการอนุมตั ิ วงเงินสินเชื่อ เช่น การจัดทาสัญญากู้ยืมเงิน
การจดจานองหลักประกัน เป็ นต้น
(3) การเบิกใช้วงเงินเป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญา
กู้ยืมเงิน และกระบวนการติดตามการใช้เงินให้เป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ในการกู้ยืมโดยเฉพาะลูกหนี้ ธรุ กิจ
(4) การทบทวนวงเงินเป็ นไปตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ และมี
การคานึ งถึงความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปตามที่กาหนดไว้ในนโยบาย
สินเชื่อ
35
แนวทางการสอบทานสินเชือ่ (ต่อ)
(5) การจัดชัน้ ลูกหนี้ และการกันเงินสารองเป็ นไปอย่างถูกต้องตาม
หลักเกณฑ์
(6) การดาเนินการกับลูกหนี้ ที่มีปัญหาในการชาระหนี้ โดยให้ระบุ
สถานะ หรือขัน้ ตอนที่สถาบันการเงินกาลังดาเนินการกับลูกหนี้ เช่น
อยู่ระหว่างการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรืออยู่ระหว่างฟ้ องร้อง
ดาเนินคดี หรืออยู่ระหว่างบังคับหลักประกัน เป็ นต้น พร้อมทัง้
รายละเอียดการดาเนินการพอสังเขป
36
การจัดการกับสินเชือ่ ทีม่ ปี ญั หา
• การประเมินการจัดการ NPL ของธนาคาร ถือเป็ น
Activity ที่สาคัญ
• มีผลกระทบสาคัญต่อเป้ าหมายธุรกิจ
• การจัดองค์กรและแบ่งแยกหน้ าที่ของหน่ วยงานแก้ไขหนี้
มีปัญหา
• ประโยชน์ หน่ วยงาน Good Bank และ Bad Bank
• การแยกหน่ วยงาน AMC
• การจัดชัน้ และกันสารอง
37
การจัดชัน้ และกันเงินสารอง
• การจัดชัน้ และกันสารองตามเกณฑ์ ธปท.
• สินเชื่อจัดชัน้ เชิงคุณภาพ
• ความแตกต่างระหว่างการจัดชัน้ กันสารองของธนาคาร
พาณิชย์และธนาคารของรัฐฯ
• Impaired Loans
38
การมีวฒ
ั นธรรมการให้สนิ เชือ่ ทีด่ ี (Credit culture)
และคุณภาพของพนักงาน
• ธรรมาภิบาล Good Governance ในการให้สินเชื่อ
การขัดแย้งในผลประโยชน์ (Conflict of interest)
การขาดความอิสระ (Independence)
ความรับผิดชอบ (Responsibility)
ความระมัดระวังรอบครอบ (Professional Due Care)
ความเปิดเผยโปร่งใส (Transparency)
• กฎบัตรของพนักงานสินเชื่อ (Code of conduct)
39
แนวทางการวิเคราะห์สินเชื่อที่ดี
• ความต้องการใช้เงิน และ เหตุแห่งการกู้ยืม (Financing
needs & Borrowing cause) เช่น
- การเติบโตของยอดขาย
- การชะลอตัวของลูกหนี้ การค้า และสินค้าคงเหลือ
- การซื้อสินทรัพย์ถาวร
- การลงทุนในโครงการ
- การเปลี่ยนแปลงในต้นทุน
- การ refinance จากสถาบันการเงินอื่น
40
การวิเคราะห์สินเชื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ (ต่อ)
• ความสามารถในการชาระหนี้ ของลูกหนี้
(Ability to Repay)
- Financial Statement Analysis (ดูปัญหาทางการเงิน,
สาเหตุ)
- Cash Flow Projection (ดูความสามารถในการชาระ
หนี้ ในอนาคต)
- Industry Analysis
• Primary source of Repayment
• Secondary source of Repayment
41
งบการเงิน (เปรียบเทียบ) ของลูกหนี้ บอกอะไร
• การเติบโตของกิจการ (Growth)
- Revenue growth / Income growth
• มีหนี้ สินมากหรือไม่ (Leverage)
- Debt to Equity
• สภาพคล่อง (Liquidity)
- Current Ratio / Quick Ratio
• ผลการดาเนินงาน (Profitability)
- EBITDA / ROA / ROE
• ประสิทธิภาพการบริหาร (Efficiency)
42
•
•
•
•
•
•
•
หลักในการทาประมาณการกระแสเงินสด
(Cash flow Projection)
สมมุติฐานในการทาต้องเหมาะสม เช่น ภาวะเศรษฐกิจ
การเติบโตของรายได้
ต้องมีหลักฐานในการจัดทาที่น่าเชื่อถือ
มีความสัมพันธ์ของข้อมูลการเงินที่น่าเชื่อถือ และปฏิบตั ิ โดย
สมา่ เสมอ
สามารถบอก financing need
สามารถบอกความสามารถในการชาระหนี้ ได้
มีการสอบทานและ Check balance
ช่วงเวลาประมาณการควรเหมาะสมไม่ยาวนานเกินไป
43
Secondary source of Repayment
• หลักประกัน
- อสังหาริมทรัพย์
- สังหาริมทรัพย์
- อื่นๆ
• การคา้ ประกัน บุคคล กิจการในเครือ
• การประกันชีวิต และประกันภัย
44
ความน่ าเชื่อถือของหลักฐานประกอบการวิเคราะห์สินเชื่อ
• คุณภาพงบแสดงฐานะการเงินของลูกหนี้ อาจมีการ
ปรับปรุงเพื่อความน่ าเชื่อถือ
• เอกสารหลักฐานประกอบการวิเคราะห์รายได้ หรือ cash
flow ควรมีเพียงพอ ถูกต้องเชื่อถือได้ เช่น Statement
หรือ เอกสารเกี่ยวกับภาษี สามารถตรวจสอบได้
45
Loan structure
• เหมาะสมกับ financing needs ของลูกหนี้ เช่น working
capital หรือ capital expenditure
• ระยะเวลา และตารางการชาระอันเหมาะสม
• อัตราดอกเบีย้ เหมาะสม match กับ funding cost
• มีการทบทวน
46
ปัจจัยที่ใช้พิจารณา Scoring
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
สินเชื่อที่อยู่อาศัย
เบอร์โทรที่ทางาน
ลูกค้าเก่าหรือใหม่
วงเงินกับธนาคารอื่น
วงเงินกับธนาคาร
ระดับการศึกษา
อัตราส่วนสินเชื่อต่อหลักประกัน(LTV)
สมรส
รายได้ต่อเดือน (สาคัญ)
จานวนผูก้ ้ ู
วัตถุประสงค์
ที่อยู่
ระยะเวลาการผ่อน
อายุงาน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
สินเชื่อบัตรเครดิต
สถานที่อยู่อาศัย
อายุตวั
อาชีพ
สถานที่ติดต่อ
สมรส
เพศ
อายุงาน
รายได้ (สาคัญ)
เงินฝาก
47
48
48
ขอบคุณครับ
สุทศั น์ ไกรวงศ์ ([email protected]) โทร. 0-2283-6482
สายกากับสถาบันการเงิน
ธนาคารแห่งประเทศไทย
49