การดำรงเงินกองทุนธนาคาร
Download
Report
Transcript การดำรงเงินกองทุนธนาคาร
Basel II เป็ นเกณฑ์ มาตรฐานสากลอันหนึ่งที่ผ้ ูกากับดูแลใน
ประเทศต่ าง ๆ นามาปรั บใช้ ในการกากับดูแลการบริหารความเสี่ยง
ของสถาบันการเงิน ด้ วยการกาหนด ให้ สถาบันการเงินมีเงินกองทุน
เพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยงหรือความเสียหายที่ไม่ ได้ คาดการณ์ ไว้
ซึ่งการที่จะดูว่ามีเงินกองทุนเพียงพอหรือไม่ จะต้ องดูว่ามีเงินกองทุน
เท่ าใด และมีความเสี่ยงอยู่เท่ าใด ทัง้ นี ้ สถาบันการเงินจะต้ องพัฒนา
เครื่ องมือการติดตามดูแลการดาเนินธุรกิจของตนเองว่ ามีความเสี่ยง
ในด้ านใด มากน้ อยแค่ ไหน รวมถึงทาอย่ างไรจึงจะลดความเสี่ยงนัน้
ได้
แรกเริ่มนัน้ คณะกรรมการชุดหนึ่งชื่อว่ า Basel Committee
on Banking Supervision (BCBS) ซึ่งมีสานักงาน
เลขานุการประจาอยู่ท่ ี The Bank for International
Settlements (BIS) ในเมือง Basel ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์
ได้ ถูกจัดตัง้ ขึน้ เพื่อกาหนดมาตรฐานการกากับดูแลสถาบันการเงินที่เป็ น
สากลเพื่อความมั่นคงและความเสมอภาคในการแข่ งขันของสถาบัน
การเงินต่ าง ๆ ทั่วโลก โดยหนึ่งในมาตรฐานนัน้ คือ เกณฑ์ การกากับดูแล
เงินกองทุนที่เรียกว่ า Basel Capital Accord หรือ Basel I
จากเกณฑ์ Basel I ซึ่งเป็ นเพียงกฎเกณฑ์ การคานวณว่ าสถาบันการเงิน
จะต้ องมีเงินกองทุนเท่ าใดสาหรั บการปล่ อยสินเชื่อแต่ ละราย
คณะกรรมการ BCBS ได้ พฒ
ั นาการกากับดูแลเงินกองทุนไปอีกขัน้ หนึ่ง
โดยกาหนดเกณฑ์ Basel II ขึน้ มา ซึ่งในเกณฑ์ Basel II นัน้ จะไม่ ได้
กาหนดเพียงแค่ เรื่ องของปริมาณเงินกองทุนที่ต้องมีสาหรั บความเสี่ยงจาก
การปล่ อยสินเชื่อ แต่ จะเน้ นความสาคัญของการบริหารความเสี่ยง (Risk
management) ของสถาบันการเงินด้ วย
โดยกาหนดให้ สถาบันการเงินต้ องประเมินว่ าระดับความเสี่ยงของตนเองมีอยู่
เท่ าใด เงินกองทุนที่มีอยู่เพียงพอที่จะรองรั บความเสี่ยงเหล่ านัน้ หรื อไม่
ดังนัน้ เกณฑ์ Basel II จึงเหมือนกับการก้ าวไปข้ างหน้ าอีกขัน้ หนึ่ง และ
ถือได้ ว่าเป็ นการเปลี่ยนแปลงทัง้ โครงสร้ าง (Structural change)
ของระบบการบริหารความเสี่ยงของสถาบันการเงิน
1. เงินกองทุนส่วนเพิ่มเพื่อรองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต
(Conversation buffer)
2. เงินกองทุนส่วนเพิ่มเพื่อรองรับความเสี่ยงเชิงระบบที่อาจเกิดขึ ้นในช่วงเศรษฐกิจ
ขาลง (Countercyclical buffer)
◦ เพื่อให้ สอดคล้ องกับความเสี่ยงที่เป็ นระบบ (System-wide risk) เช่น เศรษฐกิจมี
การเติบโตของสินเชื่ออย่างมาก (Excessive credit growth) ซึง่ ธปท.จะ
ประกาศเป็ นคราวๆไป
โดยให้ เพิ่มปี ละมากกว่าร้ อยละ 0.625 ตังแต่
้ 1 ม.ค.59 จนครบ ในปี 2562
1. เงินกองทุนชันที
้ ่ 1 ที่เป็ นส่วนของเจ้ าของ (Common equity tier
1: CET1) ประกอบด้ วยหุ้นสามัญและกาไรสะสมเป็ นสาคัญ
2. เงินกองทุนชันที
้ ่ 1 ที่เป็ นตราสารทางการเงิน (Additional tier 1) เช่น
เงินที่ได้ จากการออกหุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่สะสมเงินปั นผล
เช่น เงินที่ได้ จากการออกหุ้นบุริมสิทธิชนิดสะสมเงินปั นผล
เพื่อให้ เกิดความระมัดระวังในการปล่ อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ธปท.จึง
ปรั บเกณฑ์ ในเดือนพ.ย. 2553 ให้ ครอบคลุมการให้ สินเชื่อเพื่อซือ้ ที่อยู่
อาศัยที่มีราคาต่ากว่ า 10 ล้ านบาทด้ วย กาหนดให้ มี อัตราส่ วนเงินให้
สินเชื่อต่ อมูลค่ าหลักประกัน (Loan to Value: LTV ratio)
ตามตาราง
สินเชื่อที่มีวงเงินน้ อยกว่ า 10 ล้ านบาท คิดเป็ น 93 % วงเงิน มากกว่ า 10
ล้ านบาทคิดเป็ น 7% ของสินเชื่อทัง้ หมด
หากธนาคารปล่ อยสินเชื่อมากกว่ าเกณฑ์ ท่ กี าหนด ธพ.จะต้ องมี
เงินกองทุนเพิ่มขึน้ โดยคานวณตามนา้ หนักความส่ วน (Risk
Weight: RW) และตามเกณฑ์ กันสารอง Basel III (เงินกองทุน
ต่ อสินทรั พย์ เสี่ยงไม่ ต่ากว่ า 8.5%)
ทาไมเกณฑ์ สาหรั บ แนวสูงกับ แนวราบ จึงแตกต่ างกัน?
ถ้ าธพ.ให้ สินเชื่อแก่ ลูกค้ าซือ้ คอนโดมิเนียม 1 ล้ าน ธพ. จะต้ องมี
เงินกองทุนเท่ ากับ ยอดสินเชื่อ x RW x เกณฑ์ สารอง Basel II
ซึ่งหากลูกค้ าวางดาวน์ มากกว่ า 10% (LTV น้ อยกว่ า 90%) ธพ.ต้ องมี
เงินกันเข้ ากองทุน
= 29,750 บาท
= 1,000,000 x 35/100 x 8.5/100
หากลูกค้ าวางดาวน์ น้อยกว่ า 10 % (LTV มากกว่ า 90%) ธพ.ต้ องมี
เงินกองทุนมากขึน้
= 1,000,000 x 75/100 x 8.5/100
= 63,750 บาท
ซึ่งมาตรการนีจ้ ะจากัดการปล่ อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธพ. ลง โดย
เลือกที่จะปล่ อยกู้ไม่ เกิน 90% มากขึน้ (สาหรั บแนวสูง) ซึ่งหมายความ
ว่ าลูกค้ าเองต้ องวางเงินดาวน์ ไม่ ต่ากว่ า 10 %
ซึ่งจะส่ งผลดีต่อตัวลูกค้ าเอง คือ
◦ 1) ภาระการผ่ อนชาระลดลง
◦ 2) ลดโอกาสการเก็งกาไรเนื่องจากต้ องมีเงินดาวน์ > 10 %
ซึ่งก็จะส่ งผลให้ โครงการได้ ลูกค้ าที่มีคุณภาพมากขึน้
ลดโอกาสเป็ น NPLของสถาบันการเงิน ในที่สุดก็ช่วยให้ การปล่ อย
สินเชื่อที่อยู่อาศัยทัง้ ระบบมีความเสี่ยงลดลงนั่นเอง