บทที่ 3 - คณะเทคโนโลยีการเกษตร

Download Report

Transcript บทที่ 3 - คณะเทคโนโลยีการเกษตร

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
บทที่ 3
พืน้ ท้ องมหาสมุทร
Ocean Bottom
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของพื้นท้องมหาสมุทรมีความสาคัญ
อย่างมากในการที่จะเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นใน
มหาสมุทร ตัวอย่างเช่น
การไหลเวียนของน้ าในมหาสมุทร
การทับถมและการกระจายของตะกอนในมหาสมุทร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• จากการศึกษาพื้นของมหาสมุทรในปัจจุบนั ทาให้มีการ
เปลี่ยนแปลงความเชื่อเดิมที่วา่ พื้นมหาสมุทรมีลกั ษณะเรี ยบ
ปราศจากโครงสร้างใดๆ โดยพบว่าลักษณะของพื้นมหาสมุทร
คล้ายกับโครงสร้างบนพื้นทวีปซึ่ งจะมีภูเขา หุบเขา ทีร่ าบและ
หน้าผา ตลอดจนภูเขาไฟที่คุกรุ่ นและดับแล้วเป็ นจานวนมาก
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
3.1 วิธีการวัดความลึกของพืน้ มหาสมุทร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
การใช้สายหยัง่ ความลึก
เป็ นวิธีการที่ใช้กนั มาตั้งแต่สมัยเริ่ มแรกโดยการวัดความ
ลึก เป็ นจุดๆวิธีการนี้จะใช้ได้ดีกบั บริ เวณทีม่ ีความลึกไม่
มากนัก รวมทั้งขณะทาการวัดกระแสน้ าและกระแสลม
ต้องไม่รุนแรง
การใช้ เสี ยงสะท้ อน (echo sounder)
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
ข้ อจากัดของวิธีการนีค้ อื
• อาจมีความผิดพลาดในการวัดในกรณีที่มีคลื่นลมแรง
• ความแตกต่างกันของอุณหภูมิ, ความเค็ม และความดันของชั้นน้ า
ต่างๆจะไปมีผลต่อความเร็ วของเสี ยงในมหาสมุทรจึงจาเป็ นจะต้อง
ทราบถึงลักษณะการกระจายของมวลน้ าในมหาสมุทรด้วย ในทาง
ปฏิบตั ิจะต้องใช้ค่าแก้ (correction) ซึ่งได้จากการรวบรวมข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับ มวลน้ าในบริ เวณที่ทาการวัดความลึกมาปรับแก้กบั
ค่าที่วดั ได้
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
การใช้คลื่นสัน่ สะเทือน (seismic wave)
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
3.2 ขอบทวีป (continental margin)
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
•
•
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
หมายถึงแนวทีแ่ บ่ งขอบเขตระหว่ างพืน้ ทวีปและมหาสมุทร
เกณฑ์ ทใี่ ช้ ในการแบ่ งคือ
ระดับความลึกที่ 200 เมตร
อิทธิพลของนา้ จืดและตะกอนจากแผ่ นดิน
ขอบทวีปประกอบด้ วยส่ วนต่ างๆดังต่ อไปนี้
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
1.ไหล่ทวีป (continental shelf)
• โดยทัว่ ไปพื้นผิวของไหล่ทวีปมีความชันน้อยมากโดย
เฉลี่ยเพียง 0.1 องศา ความลึกของน้ าเฉลี่ย 130 เมตรและ
มักไม่เกิน 200 เมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• หินที่ประกอบกันเป็ นไหล่ทวีปเป็ นหินชนิดเดียวกันกับพื้นทวีป
ตะกอนที่สะสมอยูม่ าจากการพัดพาของแหล่งน้ าจากพืน้ ทวีป
โดยจะอยูใ่ นสภาพที่ยงั ไม่แข็งตัวจึงถูกพัดพาให้เคลือ่ นที่จากที่
หนึ่งไปสะสมยังที่อื่นได้โดยการกระทาของกระแสน้ าและคลื่น
• ดังนั้นในบริ เวณน้ าตื้น ใกล้ชายฝั่งตะกอนอาจสะสมตัวใน
ลักษณะที่เป็ นสันทรายหรื อสันตะกอน ในขณะที่เขตทีน่ ้ าลึก
ตะกอนอาจสะสมเป็ นบริ เวณกว้างค่อนข้างราบเรี ยบ
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ความกว้างของไหล่ทวีปในแต่ละบริ เวณจะแตกต่างกันตั้งแต่
เกือบไม่มีเลยในบริ เวณหมู่เกาะฮาวาย, กว้างไม่กี่กิโลเมตรเช่น
ชายฝั่งด้านตะวันตกของทวีปอเมริ กาใต้ จนถึงกว้างประมาณ
1800 กิโลเมตรบริ เวณนอกฝั่งไซบีเรี ย โดยเฉลี่ยไหล่ทวีปจะมี
ความกว้างประมาณ 75 กิโลเมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
2.ลาดทวีป (Continental slope)
• อยูถ่ ดั จากไหล่ทวีปออกไป มีความลึกโดยเฉลี่ยประมาณ
2,000 เมตรเลยบริ เวณนี้ไปแล้วพื้นจะเอียงลาดเข้าสู่ ส่วน
ลึกของมหาสมุทรโดยทัว่ ไปมีความชันเฉลี่ยประมาณ 3
องศา แต่บางแห่งอาจชันได้ถึง 50 องศา
• เนื่องจากลาดทวีปเป็ นบริ เวณที่สูงชันจึงมีตะกอนสะสม
อยูน่ อ้ ย
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ลาดทวีปบางบริ เวณจะพบหุบเขาใต้น้ า (submarine canyon)
ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นร่ องลึกลงไปในลาดทวีปต่อกันเป็ นทางยาว
จนถึงรอยต่อกับส่ วนที่เป็ นพื้นมหาสมุทร บางแห่งแตก
สาขาคดเคี้ยวคล้ายหุบเขาบนพื้นดิน
• หุบเขาลึกใต้น้ านี้มีพ้นื ที่หน้าตัดเป็ นรู ปตัว V ผนังทั้งสอง
ข้างชันอาจลึกได้ถึง 1,200 เมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• มีหุบเขาใต้ทะเลหลายแห่งที่ไม่ได้อยูใ่ นบริ เวณที่สอดคล้องกับการ
มีปากแม่น้ าบนพื้นโลกแต่อย่างใด สาเหตุของการเกิดหุบเขาใต้น้ า
ในลักษณะนี้เชื่อว่ามาจากกระแสน้ าที่มีตะกอนขุ่นข้น (turbidity
current)
• turbidity current เป็ นการเคลื่อนที่ของน้ าที่มีตะกอนเป็ น
องค์ประกอบเป็ นจานวนมากบนพื้นมหาสมุทร และตะกอนอาจมี
กรวดทรายปะปนอยูด่ ว้ ยจึงเกิดการกัดกร่ อนบริ เวณที่เคลื่อนผ่าน
เมื่อเวลาผ่านไปนานๆจึงอาจเกิดร่ องลึกขึ้น
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• turbidity current บางแห่งเคลื่อนที่ได้ถึง 50 กิโลเมตรต่อ
ชัว่ โมง การเคลื่อนที่ของ turbidity current อาจทาให้เกิด
ความเสี ยหายแก่สิ่งก่อสร้างใต้น้ าได้เช่น การทาลายเคเบิล
ใต้น้ าเพื่อใช้ในการสื่ อสารเป็ นต้น
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
3. สูงทวีป (continental rise)
• เป็ นบริ เวณที่มีช้ นั ตะกอนสะสมอยูห่ นาตั้งแต่บริ เวณฐานของลาด
ทวีปแผ่กระจายลงสู่พ้นื มหาสมุทร ส่ วนใหญ่เป็ นตะกอนที่ถูกพัด
มาจาก turbidity current
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ตะกอนที่สะสมตัวอยูบ่ นบริ เวณนี้รวมถึงพื้นมหาสมุทรเรี ยกว่า
turbidite พื้นที่บางแห่งจะถูกตะกอนปกคลุมหนาจนไม่เห็น
ความขรุ ขระของพื้นที่ที่มีโครงสร้างอื่นๆอยู่
• บางครั้งสูงทวีปอาจมีความกว้างถึง 600 กิโลเมตรและมีความชัน
น้อยกว่าลาดทวีปมากมีความชันเฉลี่ยประมาณ 1 องศา อยูท่ ี่น้ า
ลึกประมาณ 1,400-5,100 เมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
3.3 พืน้ ท้ องมหาสมุทร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
1.แอ่งมหาสมุทร (ocean basin)
• เป็ นส่วนที่คล้ายหลุมลึกต่าลงไปบริ เวณพื้นท้องมหาสมุทร
• พบได้ทวั่ ไปคิดเป็ นเนื้อที่ประมาณ 29.8 เปอร์เซ็นต์ของ
ผิวหน้าโลกทั้งหมด มีความลึกเฉลี่ยประมาณ 4,000-6,000
เมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• แอ่งมหาสมุทรแต่ละแห่งจะถูกแยกโดยแนวสันเขาใต้น้ า
กลางมหาสมุทร
• แอ่งมหาสมุทรที่สาคัญได้แก่ North Polar basin, North
Pacific basin, Central Pacific basin, East Australian
basin, Peru basin, Argentina basin และ PacificAntarctica basin
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
2.แนวสั นเขาใต้ นา้ กลางมหาสมุทร (Mid-Ocean Ridge)
• เป็ นส่วนพื้นท้องมหาสมุทรที่มีความชันเพิม่ ขึ้นอย่างกระทันหัน
เป็ นแนวยาวต่อเนื่องกันอย่างมีระบบคล้ายแนวสันเขาพืน้ ทวีป
• แนวสันเขาใต้น้ ามีความยาวทั้งหมดประมาณ 65,000 กิโลเมตร
คิดเป็ นความยาวประมาณ 1.5 เท่าของเส้นรอบวงของโลก กิน
เนื้อที่ประมาณ 22.1 เปอร์ เซ็นต์ของพื้นที่มหาสมุทรทั้งหมด
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ตามแนวของสันเขาจะมีหินบะซอลท์เกิดขึ้นตลอดเวลาทาให้แนว
เขามีการแผ่ออกตลอดเวลาเป็ นผลมาจากเกิดขึ้นใหม่ของเปลือก
โลก
• ลักษณะของแนวสันเขาใต้น้ าขึ้นอยูก่ บั อัตราการแยกตัวของพื้น
มหาสมุทร บางแห่งอาจสูงได้ถึง 1-4 กิโลเมตรจากพื้นมหาสมุทร
ส่ วนใหญ่ยอดของแนวสันเขาใต้น้ าต่ากว่าผิวหน้าน้ าประมาณ 2.5
กิโลเมตร ความกว้างของแนวสันเขาจะต่างกันไปขึ้นอยูก่ บั อัตรา
การแยกตัวซึ่งจะอยูใ่ นช่วงระหว่าง 2,000-4,000 กิโลเมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ในแนวสันเขาที่มีภูเขาไฟที่ยงั คุกรุ่ นอยูจ่ ะมีความกว้าง
มากกว่าบริ เวณที่ไม่มีภูเขาไฟ แนวสันเขาที่มคี วามสูง
มากๆอาจโผล่พน้ พื้นน้ ากลายเป็ นเกาะ ตัวอย่างเช่นเกาะ
ไอซ์แลนด์เป็ นต้น แนวสันเขาใต้น้ ากลางมหาสมุทรเป็ น
แนวสันเขาที่วางตัวอยูเ่ กือบกึ่งกลางของมหาสมุทร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
2.1 แนวสันเขาใต้น้ ากลางมหาสมุทรแอตแลนติค
(Mid-Atlantic Ridge)
• เริ่ มตั้งแต่ทางตะวันออกของเกาะกรี นแลนด์เรื่ อยลงไปทางใต้
อ้อมทวีปแอฟริ กาแล้วไปเชื่อมกับแนวสันเขาใต้น้ าใน
มหาสมุทรอินเดียซึ่งบางครั้งเรี ยกส่ วนนี้วา่ Atlantic-Indian
Ridge
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ตลอดแนวของตอนกลางจะมีหุบลึกเห็นได้ชดั เจนบางแห่งอาจ
กว้างได้ถึง 25-30 กิโลเมตร และมีความลึก 1-2 กิโลเมตร
• สันเขาใต้น้ ากลางมหาสมุทรแอตแลนติคมีอตั ราการเกิดแผ่นดิน
ใหม่ค่อนข้างช้าคือประมาณ 1-2 เซนติเมตรต่อปี การสะสมของ
ตะกอนในแนวสันเขามีไม่มากนัก
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
2.2 แนวสันเขาใต้น้ ากลางมหาสมุทรแปซิ ฟิก
(East Pacific Rise)
• วางตัวค่อนไปทางพื้นทวีปอเมริ กาใต้ และมีส่วนที่ทอดไปยัง
ทวีปอเมริ กาเหนือบริ เวณอ่าวแคลิฟอร์ เนีย
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• เป็ นสันเขาที่แผ่ขยายออกอย่างรวดเร็ วประมาณ 6-8 เซ็นติเมตร
ต่อปี พื้นผิวขรุ ขระน้อยกว่าแนวสันเขาในมหาสมุทรแอตแลน
ติค ความลึกจากผิวหน้าน้ าโดยเฉลี่ยประมาณ 2.7 กิโลเมตร
• ตลอดแนวสันเขาใต้น้ าไม่มีภูเขาไฟหรื อเกาะที่โผล่พน้ น้ ามาก
เหมือนในมหาสมุทรแอตแลนติค
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
2.3 แนวสั นเขาใต้ นา้ กลางมหาสมุทรอินเดีย
(Mid-Indian Ridge)
• วางตัวออกจากทะเลแดงนอกคาบสมุทรอาระเบียส่วนต้นนี้มีชื่อ
•
เฉพาะว่า Carlsberg Ridge
จากนั้นแยกออกเป็ นสองแนวแนวแรกจะบรรจบกับแนวสันเขาใต้
น้ ากลางมหาสมุทรแอตแลนติค (Atlantic-Indian Ridge)
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• อีกแนวหนึ่งมุ่งไปทางใต้ออ้ มทวีปออสเตรเลียไปเชื่อมกับแนว
สันเขาใต้น้ ากลางมหาสมุทรแปซิฟิกบางครั้งเรี ยกสันเขาแนวนี้
ว่า Pacific-Antarctic Ridge
• รายละเอียดเกี่ยวกับแนวสันเขาใต้น้ ากลางมหาสมุทรอินเดียยัง
ไม่เป็ นที่ทราบกันมากนัก
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
3.หุบเหวลึกในมหาสมุทร (Trench)
• เป็ นโครงสร้างที่มีลกั ษณะเป็ นหุบลึกลงไปในมหาสมุทรมีหน้า
•
ตัดเป็ นรู ปตัว V มักเกิดขึ้นตามขอบของแอ่งมหาสมุทร
โดยเฉพาะทางด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก
ความลึกโดยเฉลี่ยของเหวในมหาสมุทรประมาณ 8,000 เมตร จุด
ที่ลึกที่สุดจะอยูใ่ นมหาสมุทรแปซิฟิกคือ Mariana Trench ลึก
ประมาณ 11,000 เมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
• มหาสมุทรแอตแลนติค
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
Peru-Chili Trench
8,400 m
Aleutian Trench 8,100 m
Kuril-Kamchatka Trench 10,500 m
• มหาสมุทรแปซิฟิก
Japan Trench 9,800 m Marianas Trench 11,000 m
Philippines Trench 10,000 m Kermadec-Tonga Trench
10,800 m
• มหาสมุทรอินเดีย
Java Trench
7,400 m
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
4.หมู่เกาะโค้ง (Island Arc)
• เป็ นลักษณะของหมู่เกาะที่เรี ยงตัวเป็ นแนวโค้งเข้าหาแผ่นดินโดย
มีเหวในมหาสมุทรเรี ยงตัวขนานไปกับหมู่เกาะโค้ง และมักมีแนว
ภูเขาไฟหรื อภูเขาสู งทางด้านในของหมู่เกาะ
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• บริ เวณนี้มีภูเขาไฟระเบิดและแผ่นดินไหวเกิดขึ้นอยูเ่ สมอ ส่วน
ใหญ่จะพบหมู่เกาะโค้งทางด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก
เช่นหมู่เกาะคูริล (Kuril Island Arc)
• พื้นที่ที่อยูร่ ะหว่างหมู่เกาะโค้งและแผ่นดินจะเป็ นทะเลภายในน้ า
ตื้นซึ่งจะมีตะกอนทับถมกันเป็ นชั้นหนา ตะกอนที่ถกู พัดพามาจาก
พื้นทวีปจะถูกกักไว้จากส่ วนโค้งหมู่เกาะไม่ถูกพัดต่อไปยังหุบเหว
ลึกในทะเล ดังนั้นจึงไม่พบตะกอนในหุบเหวลึกในทะเลมากนัก
ซึ่งเป็ นสาเหตุหนึ่งที่สนั นิษฐานว่ามหาสมุทรแปซิ ฟิกมีความลึก
มากกว่ามหาสมุทรอื่นๆ
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
5.ภูเขาไฟใต้น้ า (Seamount)
• อาจอยูเ่ ดี่ยวๆหรื อเป็ นกลุ่มบนพื้นมหาสมุทร ส่วนที่สูงไม่เกิน
•
1,000 เมตรจากพื้นมหาสมุทร
ภูเขาไฟใต้น้ าที่อยูเ่ ป็ นกลุ่มอาจเป็ นฐานของแนวสันเขาใต้น้ า บาง
แห่งอาจตั้งอยูห่ รื อเคยตั้งอยูบ่ น hot spot บางแห่งอาจโผล่ข้ ึนมา
เหนือผิวหน้าน้ ากลายเป็ นเกาะภูเขาไฟในมหาสมุทรได้เช่นหมู่
เกาะฮาวายเป็ นต้น
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
• ภูเขาไฟที่โผล่พน้ ผิวน้ าบางแห่งเมื่อเกิดระเบิดขึ้นยอดของมันจะ
หายไปลดความสูงลงจนถึงผิวหน้าน้ าจากการกระทาของ
กระแสน้ า คลื่นและลม ต่อมาอาจจะมีการจมตัวลงจากการ
เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกทาให้กลายเป็ นภูเขาที่มียอดแบน
ราบใต้น้ า ภูเขาลักษณะดังกล่าวเรี ยกว่า กีโยต์ (guyot) หรื อ
Tablemount ส่ วนใหญ่จะอยูต่ ่ากว่าผิวหน้าน้ าประมาณ 1,2001,600 เมตร
วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)
ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL
6. ที่ราบมหาสมุทร (Abyssal Plain)
• เป็ นบริ เวณของพื้นท้องมหาสมุทรที่ค่อนข้างเรี ยบ อยูใ่ นระดับ
ความลึกประมาณ 3,000-6,000 เมตร คิดเป็ นเนื้อที่ประมาณ 40
เปอร์เซ็นต์ของมหาสมุทรทั้งหมด
• โดยทัว่ ไปมีตะกอนหนาปกคลุมและครอบคลุมอาณาบริ เวณ
หลายร้อยตารางกิโลเมตร พบทัว่ ไปในทุกมหาสมุทร