Downloadfile

Download Report

Transcript Downloadfile

สถาปัตยกรรมของเครือข่ายไร้สาย
อาจารย์ยืนยง กันทะเนตร
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
บทนา
เป็ นเรื่องที่ตอ้ งยอมรับว่าในปัจจุบนั นี้ เราต้องติดต่อกันในสังคมอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะ
อาศัยอยู่ในเมืองเดียวกัน ประเทศเดียวกัน หรืออยู่ต่างประเทศ ก็สามารถที่จะติดต่อสื่อสารกันได้
เสมอ เทคโนโลยีของอุปกรณ์สอ่ื สารมีการพัฒนาไปสูค่ วามทันสมัย สะดวดสบาย สามารถ
ติดต่อสือ่ สารกันได้ทกุ ที่ทกุ เวลา ไม่ว่าจะอยู่ในบ้านในรถ หรือบนเครื่องบิน ก็สามารถ
ติดต่อสือ่ สารได้อย่างไร้ขีดจากัด เทคโนโลยีการสือ่ สาร โดยเฉพาะเทคโนโลยีเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ และสมาร์ทโฟนได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทาให้มีทางเลือกสาหรับผูบ้ ริโภค
มากขึ้น
บทนา
อานาจของการสือ่ สารได้ขยายตัวไปอย่างมาก อันเนื่ องมาจากระบบเครือข่ายของการ
สือ่ สารมีความยืดหยุ่นมากขึ้น โครงข่ายอินเทอร์เน็ ตได้พฒั นาโครงข่ายไปหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะ
เป็ นดาวเทียม การบรอดแคส (broadcast) จากตึกหรืออาคารสูง ทาให้สามารถกระจายสัญญาณ
ได้ครอบคลุมมากขึ้น การส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปกับสายสัญญาณ
โทรศัพท์บา้ น และการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงไปกับสายเคเบิลชนิ ดต่างๆ รวมถึงสายเคเบิลใย
แก้วนาแสง ซึ่งเทคโนโลยีสมัยใหม่ทาให้รองรับการสือ่ สารข้อมูลทุกรูปแบบ เช่น ภาพ เสียง
วิดีโอ ข้อความ ก็สามารถสือ่ สารกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นผูใ้ ช้งานเทคโนโลยีใน
ปัจจุบนั นี้ จาเป็ นต้องมีความรูท้ างด้านเทคโนโลยีการสือ่ สาร เช่น ชนิ ดของระบบเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย เครือข่ายไร้สาย การเชื่อมต่ออุปกรณ์เครือข่าย ช่องทางเครือข่ายการ
สือ่ สาร การรับส่งข้อมูล
พื้นฐานเครือข่ายแลนไร้สาย
•
IEEE ได้นิยามข้อกาหนดเพือ่ นามาใช้กบั เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless
LAN : WLAN) ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวเรียกว่า IEEE 802.11 ที่ครอบคลุมชัน้
สือ่ สารฟิ สิคลั และดาต้าลิงค์บนแบบจาลอง OSI โดยเครือข่ายแลนไร้สายจัดเป็ น
เทคโนโลยีท่ไี ด้รบั ความสนใจมากในขณะนี้ เนื่ องจากสามารถสือ่ สารได้โดยไม่
ต้องใช้สายเคเบิลเพือ่ เชื่อมต่ออีกต่อไป
พื้นฐานเครือข่ายแลนไร้สาย
อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายมิใช่มีวตั ถุประสงค์เพือ่ นามาใช้
ทดแทนเครือข่ายแบบมีสายทัง้ นี้ เครือข่ายแบบใช้สายก็มีขอ้ เด่นบางประการที่
เหนื อกว่าเครือข่ายแบบไร้สาย ในขณะที่เครือข่ายแบบไร้สายก็มีขอ้ เด่นคือ การได้
สร้างทางเลือกที่สะดวกต่อการเชื่อมต่อเครือข่ายของผูใ้ ช้ โดยไม่ตอ้ งใช้สาย และไม่
จาเป็ นต้องจากัดพื้นที่บนโต๊ะทางานเท่านั้น แต่สามารถนาไปใช้งานตามบริเวณที่อยู่
ภายในขอบเขตของคลื่น
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สาย
ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สายมีหน้าที่เดียวกันกับฮาร์ดแวร์ท่ใี ช้งานบนเครือข่ายแลน
แบบมีสาย เช่น การ์ดเครือข่ายแบบไร้สายก็มีหน้าที่ในการส่งเฟรมข้อมูลผ่านสือ่ กลาง จะมีสง่ิ ที่
แตกต่างกันเพียงประการเดียวก็คือ เครือข่ายแลนแบบมีสายจะใช้สายเคเบิลเป็ นสือ่ กลางการส่ง
สัญญาณไฟฟ้ าหรือแสง ในขณะที่เครือข่ายไร้สายจะใช้คลื่นวิทยุเป็ นสื่อกลางส่งผ่านข้อมูล
สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์เดสก์ทอปทัว่ ไป สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายด้วยการ์ดเครือข่ายไร้
สาย ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นการ์ดใช้สาหรับเสียบเข้ากับสล๊อตบนเมนบอร์ดภายในเคสคอมพิวเตอร์
การ์ดเครือข่ายแบบไร้สาย
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สาย
แต่ในปัจจุบนั นี้ เราสามารถใช้การ์ดเครือข่ายไร้สายที่อยู่ในรูปแบบของ USB NIC ที่
สามารถเชื่อมเข้ากับพอร์ต USB ซึ่งนับได้ว่าช่วยเพิ่มความสะดวกและเคลื่อนย้ายได้งา่ ย
การ์ดเครือข่ายชนิ ด USB
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สาย
รวมถึงยังมีการ์ดเครือข่ายไร้สายชนิ ดพีชีการ์ดที่นามาใช้กบั โน้ตบุก๊ คอมพิวเตอร์
สาหรับโน้ตบุก๊ รุ่นใหม่ในปัจจุบนั มักจะผนวกการ์ดเครือข่ายไร้สายมาให้เรียบร้อย
การ์ดเครือข่ายชนิ ด PC-Card ที่นามาใช้กบั เครื่องโน้ตบุก๊
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สาย
นอกจากการ์ดเครือข่ายไร้สายแล้ว ก็ยงั มีอปุ กรณ์แอกเซสพอยต์ (Access Point :
AP) ซ่งเป็ นอุปกรณ์ท่นี ามาใช้เป็ นจุดรับส่งสัญญาณ สาหรับแอกเซสพอยต์ชนิ ดพื้นฐานที่สุดจะ
ทางานคล้ายกับฮับหรือรีพตี เตอร์ ที่ทางานอยู่ในชัน้ สือ่ สารฟิ สิคลั บนแบบจาลอง OSI แต่อย่างไร
ก็ตาม ในปัจจุบนั แอกเซสพอยต์ได้มีการรวมอุปกรณ์หลายอย่างเข้าด้วยกัน
แอกเซสพอยต์ (Access Point : AP)
วิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Mode)
1. Ad-Hoc Mode
การเชื่อมต่อด้วยวิธนี ้ ี ในบางครัง้ อาจเรียกว่าการเชื่อมต่อแบบ Peer-to-Peer วิธนี ้ ี แต่ละโหนดบน
เครือข่ายจะเชื่อมต่อกันโดยตรง พิจารณาจากรูปที่ 9.9 ซึ่งเป็ นภาพแสดงการเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายแบบ AdHoc ที่จดั เป็ นวิธกี ารเชื่อมต่อแบบพื้นฐาน ประหยัด โดยมีเพียงการ์ดเครือข่ายไร้สาย และคอมพิวเตอร์เพียง 2
เครื่อง ก็สามารถเชื่อมต่อเข้าด้วยกันได้แล้ว อย่างไรก็ตามการเชื่อมต่อด้วยวิธี Ad-Hoc เหมาะสมกับเครือข่าย
ขนาดเล็ก หรือมีโหนดเชื่อมต่อจานวนไม่มาก ซึ่งไม่ควรเกินกว่า 10 เครื่อง เนื่ องจากจุดประสงค์ของการเชื่อมต่อ
วิธนี ้ ี ก็เพือ่ แชร์ทรัพยากรร่วมกันเป็ นหลัก มิได้ม่งุ เน้นด้านระบบความปลอดภัยมากนัก
การเชื่อมต่อแลนไร้สายด้วยวิธี Ad-Hoc
วิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Mode)
2 Infrastructure Mode
การเชื่อมต่อด้วยวิธี Infrastructure WLAN นอกจากต้องมีการ์ดเครือข่ายไร้สายแล้ว
ยังจาเป็ นต้องใช้อปุ กรณ์แอกเซสพอยต์เป็ นจุดรับส่งสัญญาณ ทัง้ นี้ บนเครือข่ายสามารถมีแอก
เซสพอยต์มากกว่า 1 เครื่อง ที่ตดิ ตัง้ ไว้ตามจุดต่างๆ รวมถึงยังสามารถเชื่อมต่อแอกเซสพอยต์
เข้ากับเครือข่ายแบบมีสายเพื่อใช้งานร่วมกันได้
การเชื่อมต่อแลนไร้สายด้วยวิธี Infrastructure
ระบบความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Security)
1. ชื่อเครือข่าย (Service Set Identification : SSID)
SSID หรือชื่อเครือข่าย จะมีขนาด 32 บิต ที่จะถูกนาไปบรรจุ
ในเฮดเดอร์ของแต่ละแพ็กเก็ตที่ถกู โปรเซสโดยแอกเซสพอยต์ เครื่องลูก
ข่ายที่ตอ้ งการเชื่อมต่อจะต้องกาหนดชื่อ SSID ให้ตรงกันจึงสามารถเข้าถึง
เครือข่ายไร้สายได้ซ่ึงปกติช่ือเครือข่ายหรือ SSID จะถูกกาหนดเป็ นค่าปกติ
(Default) ที่ตดิ ตัง้ ไว้มาจากโรงงาน ตัวอย่างเช่น ค่าดีฟอลต์ SSID ของ
บริษทั Linksys จะใช้ช่ือว่า “Linksys” เป็ นต้น ดังนั้นเพือ่ มิให้ค่านี้ เป็ น
ค่าที่เดาง่าย จึงสมควรตัง้ ชื่อให้ รวมถึงควรเปลี่ยนชื่อล็อกอินและรหัสผ่าน
ใหม่ทง้ั หมด และหากเป็ นไปได้กใ็ ห้ปิดการทางานของการบรอดคาสต์ช่ือ
SSID สิง่ เหล่านี้ ถือเป็ นการจักการระบบความปลอดภัยอย่างง่ายที่สามารถพึง
ทาได้ เพือ่ ป้ องกันแฮกเกอร์ท่อี ากใช้ช่ือ SSID และค่าดีฟอลต์ต่างๆ จาก
อุปกรณ์ของผลิตภัณฑ์น้นั ๆ เพือ่ ลักลอบมายังเครือข่ายได้
การตัง้ ค่า SSID ใหม่
ระบบความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Security)
2 การกลัน่ กรองหมายเลขแมคแอดเดรส (MAC Address Filtering)
โดยทัว่ ไปแล้ว อุปกรณ์แอกเซสพอยต์ลว้ นสนับสนุ นการ
กลัน่ กรองหมายเลขแมคแอดเดรส วิธกี ารนี้ ต้องการจากัดบุคคลที่เข้าถึง
เครือข่าย โดยหมายเลขแมคแอดเดรสที่บนั ทึกเข้าไปคือแอดเดรสที่ได้รบั
การอนุ ญาตให้เข้าถึงเครือข่ายนั้น เป็ นงานค่อนข้างเสียเวลา อีกทัง้ หาก
เครื่องมีการเปลี่ยนการ์ดเครือข่าย ก็จาเป็ นต้องมีการบันทึกเข้าไปใหม่
รวมถึงการรีเซตอุปกรณ์แอกเซสพอยต์ นัน่ หมายถึงแมคแอดเดรสที่เคย
บันทึกไป ก็จะถูกลบทิ้งไปทัง้ หมดด้วย อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วธิ กี าร
กลัน่ กรองหมายเลขแมคแอดเดรสสามารถเพือ่ ระดับความปลอดภัยยิ่งขึ้น
ก็ตาม แต่ทง้ั สองวิธขี า้ งต้นก็ยงั ถือว่าเป็ นความปลอดภัยระดับตา่
เนื่ องจากแฮกเกอร์ยงั สามารถลักลอบเพือ่ ค้นหาแมคแอดเดรสที่ได้รบั
สิทธิ์ในการเข้าถึงเครือข่าย และปลอมตัวลักลอบเข้ามายังเครือข่ายได้ใน
ที่สดุ
การคอนฟิ กด้วยการกาหนดแมคแอดเดรสที่
อนุ ญาตให้สามารถเข้าใช้บริการ WLAN ได้
ระบบความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Security)
3 การเข้ารหัสลับ (Encryption)
สาหรับการจัดการกับระบบความปลอดภัยในขัน้ ต่อไปก็คอื การเข้ารหัสแพ็กเก็ตข้อมูล การเข้ารหัส
ลับจะนาแพ็กเก็ตข้อมูลมาผ่านการเข้ารหัสด้วยคียก์ อ่ นที่จะส่งไปยังเครือข่ายไร้สาย สาหรับฝัง่ รับก็จะมีคยี ท์ ่ใี ช้
ถอดรหัสลับเพือ่ จะได้นาแพ็กเก็ตไปใช้งานต่อไป การเข้ารหัสลับให้กบั ข้อมูลก่อนที่สง่ ผ่านไปยังเครือข่ายไร้สาย
นั้น จัดเป็ นวิธที ่มี ีระดับความปลอดภัยสูงกว่าสองวิธขี า้ งต้น เนื่ อจากหากแฮกเกอร์ไม่ทราบคียท์ ่นี ามาใช้เพือ่
เข้ารหัส ข้อมูลที่ถกู ลักลอบไปก็จะนาไปใช้การไม่ได้ สาหรับการเข้ารหัสลับจะมีอยู่ 2 วิธดี ว้ ยกันคือ
- Wire Equivalency Privacy (WEP)
- Wi-Fi Protected Access (WPA)
ระบบความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Security)
3 การเข้ารหัสลับ (Encryption)
- Wire Equivalency Privacy (WEP)
มาตรฐานการเข้ารหัสลับตามวิธี WEP นั้น จะใช้อลั กอริทมึ ในการเข้ารหัสลับขนาด 64 บิต แต่ใน
ปัจจุบนั ได้ขยายเพิม่ เป็ น 128 บิต สาหรับเครือข่ายไร้สายที่คาดว่าเป็ นเครือข่ายที่เสี่ยงต่อการคุกคาม ควรเลือก
การเข้ารหัสขนาด 128 บิตซึ่งจะถอดรหัสได้ยากกว่า
อย่างไรก็ตาม การเข้ารหัสลับตามวิธี WEP นั้น ถูกนามาใช้งานบนอุปกรณ์ตามาตรฐาน 802.11 ใน
ยุคแรกๆ แต่วธิ ขี อง WEP ก็ไม่สามารถเข้ารหัสให้กบั แพ็กเก็ตข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์ ทัง้ นี้ เนื่ องจาก WEP นั้น
ทางานอยู่เพียง 2 ชัน้ สือ่ สารแรกบนแบบจาลอง OSI เท่านั้น ซึ่งประกอบด้วยชัน้ สือ่ สารฟิ สิคลั และดาต้าลิงก์
รวมถึงเป็ นวิธกี ารเข้ารหัสลับแบบสเตติก (Static Encryption) และใช้คยี ร์ หัสลับเดียวกันนี้ กับทุกๆ โหนดบน
เครือข่าย ดังนั้นหากกุญแจที่นามาใช้เป็ นคียร์ หัสลับได้ถกู เปิ ดเผยให้กบั ผูไ้ ม่หวังดีแล้ว ก็สามารถถอดรหัส
ข้อความเพือ่ นาไปใช้งานได้ทนั ที
ระบบความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Security)
3. การเข้ารหัสลับ (Encryption)
- Wi-Fi Protected Access (WPA)
เนื่ องจากการเข้ารหัสตามวิธี WEP นั้นมีช่องโหว่และยังคงไม่ปลอดภัย ดังนั้นพันธมิตร Wi-Fi จึงได้
ร่วมกันพัฒนาวิธกี ารเข้ารหัสลับ WPA ขึ้นมา ซึ่งในเวลาต่อมา WPA ก็ได้รบั การยอมรับและถูกนามาเป็ น
มาตรฐานของ IEEE ด้วย
การเข้ารหัสลับตามวิธี WPA จะเป็ นวิธแี บบไดนามิก (Dynamic Encryption) ซึ่งกุญแจหรือคีย ์
รหัสลับจะออกให้ต่อคน ต่อเซสซัน่ (per-user and per-session) ทาให้ถอดรหัสได้ยากขึ้น อย่างไรก็ตาม การ
เข้ารหัสลับ WPA นั้นได้ตง้ั ใจพัฒนาขึ้นมาเพือ่ ใช้งานชัว่ คราวเท่านั้น ซึ่งความเป็ นไปได้ของระบบความปลอดภัย
ที่ดี คงต้องรอการพัฒนาต่อไปบนมาตรฐาน IEEE 802.11i ในอนาคตอันใกล้
ความเร็วของเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Speed)
ความเร็วบนเครือข่าย WLAN ขึ้นอยู่กบั ปัจจัยบางประการ ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับมาตรฐานเครือข่ายที่นามาใช้บนเครือข่ายไร้สายด้วย เช่น
มาตรฐาน 802.11b จะมีความเร็วที่ 11 Mbps ในขณะที่ 802.11g จะมี
ความเร็วที่ 54 Mbps เป็ นต้น นอกจากนี้ ปัจจัยด้านระยะทางก็สง่ ผลต่อ
ความเร็ว กล่าวคือหากระยะทางของโหนดที่ติดต่อกับอุปกรณ์แอก
เซสพอยต์น้นั อยู่หา่ งเกินรัศมีของสัญญาณ ดังนั้นบริเวณนอกเขตรัศมี
ดังกล่าว อาจติดต่อสือ่ สารได้อยู่ แต่ความเร็วจะลดลงซึ่งอาจเหลือเพียง 1
Mbps เท่านั้น หรืออาจติดต่อไม่ได้เลยกรณี ท่ขี อบเขตที่ไกลออกไป
สาหรับปัจจัยสุดท้ายที่จะกล่าวถึงก็คือ การถูกแทรกแซงด้วยสัญญาณ
รบกวน เช่น บริเวณใกล้เคียงมีเสารับส่งวิทยุท่ที าให้มีคลื่นวิทยุแทรกเข้า
มา รวมถึงอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิ กส์ท่ใี ช้งานตามบ้านทัว่ ไป เช่ น เครื่องทา
ความเย็น มอเตอร์ไฟฟ้ า เครื่องปรับอากาศ เป็ นต้น
ขอบเขตรัศมีของเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Range)
ขอบเขตรัศมีของอาณาบริเวณที่คลืน่ สัญญาณไร้สายสามารถครอบคลุมไปถึง ยากต่อ
การกาหนดให้ชดั เจนลงไปได้ ตัวอย่างเช่น เครือข่ายไร้สายจะครอบคลุมอาณาบริเวณประมาณ
150 ฟุต เป็ นต้น แต่ความจริงแล้ว รัศมีท่สี ญั ญาณไร้สายสามารถครอบคลุมไปถึงนั้น มีปจั จัยที่
เข้ามาเกี่ยวข้องมากมาย เช่น บริเวณไร้สง่ิ กีดขวาง ก็จะมีรศั มีของสัญญาณครอบคลุมได้
ระยะไกล
แต่หากบริเวณนั้นมีตึกอาคาร ซึ่งเป็ นคอนกรีต ก็จะส่งผลให้สญั ญาณลดทอนลงไป
ทาให้สญั ญาณครอบคลุมระยะทางที่ไม่ไกลมากนัก อย่างไรก็ตาม เราก็ยงั สามารถใช้อปุ กรณ์
อย่างบริดจ์ (Bridging Access Point) ที่นามาใช้สาหรับเชื่อมโยงเครือข่าย 2 เครือข่ายขึ้นไป
เข้าด้วยกัน เพื่อยืดระยะทางให้สามารถมีขอบเขตรัศมีท่ไี กลยิ่งขึ้นได้
ขอบเขตรัศมีของเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Range)
การเชื่อมโยงเครือข่ายไร้สาย 2 เครือข่ายเข้าด้วยกันด้วยอุปกรณ์บริดจ์
Wi-Fi
ในช่วงแรกๆ ของการใช้งานเครือข่ายแลนไร้สาย ยังไม่พบปัญหามากมายเกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ท่มี าจากแหล่งผลิตมากมายหลากหลายว่า เมื่อลูกค้าได้ซ้ ือผลิตภัณฑ์ไปใช้
งาน จะรับประกันได้อย่างไรว่าจะสามารถสือ่ สารร่วมกันได้ ดังนั้นจึงเป็ นที่มาของการรวมกลุม่
ผูผ้ ลิตเพื่อตัง้ เป็ นองค์กรในนาม “พันธมิตร Wi-Fi (Wi-Fi Alliance)” ที่ประกอบไปด้วยบริษทั
ที่เข้าร่วมเป็ นสมาชิกกว่า 175 แห่ง และเป็ นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร ที่มุ่งความสนใจใน 3
เรื่องหลักๆ คือ
1) เทคโนโลยีมาตรฐาน 802.11
2) การพัฒนาWLAN
3) การนาไปใช้งาน
Wi-Fi
องค์กร IEEE เป็ นผูส้ ร้างมาตรฐานขึ้นมา แต่กไ็ ม่ได้มีหน้าที่ในการตรวจสอบ
ผลิตภัณฑ์ พันธมิตร Wi-Fi จึงอาสาเข้ามาตรวจสอบการใช้งานผลิตภัณฑ์ท่อี อกแบบมาภายใต้
มาตรฐาน IEEE 802.11 นอกจากจะสนับสนุ นเทคโนโลยีเครือจ่ายไร้สายตามมาตรฐาน 802.11
แล้ว ยังมีการผลักดันให้ใช้งานทัว่ โลก ไม่ว่าจะเป็ นกลุม่ ผูใ้ ช้ตามบ้านพักอาศัย หรือองค์กรธุรกิจ
โดยผลิตภัณฑ์เครือข่ายที่ได้รบั การทดสอบและรับรองโดย Wi-Fi Alliance จะได้รบั ตรา
สัญลักษณ์โลโก้ Wi-Fi เพื่อรับประกันว่าอุปกรณ์เหล่านี้ สามารถนามาใช้งานร่วมกันได้ และสร้าง
ความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าที่ซ้ อื ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวไปใช้งาน
Wi-Fi
ในยุคแรกๆ ของการใช้อปุ กรณ์เครือข่ายไร้สายตามมาตรฐาน 802.11 ที่ไม่ได้ถูก
รับรองโดย Wi-Fi ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ท่มี าจากผูผ้ ลิตที่มาจากผูผ้ ลิตแตกต่างกัน อาจไม่สามารถ
ใช้งานร่วมกันได้ และแต่เดิมนั้น Wi-Fi มุ่งความสนใจอยู่บนเทคโนโลยีท่อี า้ งอิงถึงผลิตภัณฑ์ท่ี
อ้างอิงผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน 802.11b เป็ นสาคัญ แต่ปจั จุบนั ได้ขยายเพิ่มเติมด้วยการ
ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานของ 802.11 ทัง้ หมด นอกจากนี้ แล้ว Wi-Fi ยังมีสว่ นร่วมใน
การพัฒนาแอพพลิเคชัน่ เพื่อใช้งานบนเครือข่ายไร้สาย เช่น การเข้ารหัสลับ WPA ซึ่งได้กล่าว
ไปแล้วข้างต้น รวมถึง WISPr (Wireless Internet Service Provider Roming) ซึ่งอ่านออก
เสียงว่า “Whisper” ด้วยการส่งเสริมให้บริษทั ISP เปิ ดบริการอินเทอร์เน็ ตไร้สายไปยังจุดสนใจ
ตามพื้นที่ต่างๆ เช่น การติดตัง้ Wi-Fi ฮอตสปอต ตามจุดสาคัญต่างๆ หรือแหล่งธุรกิจ เป็ นต้น
Wi-Fi
ฮอตสปอต (Hot Spots) เป็ นคาทัว่ ไปที่ใช้กบั สถานที่ในบริเวณเฉพาะ ที่เปิ ดบริการ
เครือข่ายไร้สายเพื่อบริการแก่ลูกค้า ตามจุดที่แอกเซสพอยต์สามารถส่งสัญญาณเพื่อเชื่อมต่อไร้
สายได้ โดยปกติมกั นาฮอตสปอตไปใช้งานตามจุดพื้นที่สาธารณะ ไม่ว่าจะเป็ นแหล่งธุรกิจ
ห้างสรรพสินค้า และโดยทัว่ ไปการใช้งานจะถูกจากัดบริเวณเพื่อเตรียมไว้สาหรับให้บริการลูกค้า
ในร้านโดยเฉพาะ พิจารณาจากรูปที่ 9.18 ต่อไปนี้ ซ่งึ เป็ นฮอตปอตภายในร้านกาแฟ แต่อย่างไร
ก็ตาม ในปัจจุบนั ฮอตสปอตบางพื้นที่ ได้เปิ ดให้ใช้บริการฟรี โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย
ฮอตสปอตภายในร้านกาแฟ
มาตรฐานเครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN Standards)
ในทานองเดียวกันกับเทคโนโลยีเครือข่ายอืน่ ๆ เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายก็จะต้องมีมาตรฐานที่
ชัดเจนเพือ่ รองรับ และมาตรฐาน IEEE 802.11 ถือเป็ นมาตรฐานของเครือข่ายไร้สายที่กระจายสเปกตรัม
(Spread-Spectrum) ด้วยคลื่นวิทยุในการสือ่ สารที่หลายย่านความถี่ โดยรากฐานของเทคโนโลยี 802.11 จะใช้
คลื่นวิทยุในการแพร่สญั ญาณบนย่านความถี่ 2.5 GHz ยกเว้นเพียงแต่มาตรฐาน 802.11a เท่านั้น ที่ใช้ย่าน
ความถี่ท่ี 5 GHz
ตาราง มาตรฐานเครือข่ายไร้สายของ IEEE 802
IEEE Standard
802.11
RF Band
Speed
Infrared (IR) or 2.4 GHz 1 Mbps or 2 Mbps
802.11a
802.11b
802.11g
802.11n
5 GHz
2.4 GHz
2.4 GHz
5 GHz
54 Mbps
11 Mbps
54 Mbps
100 Mbps
มาตรฐานเครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN Standards)
802.11
เป็ นมาตรฐานดัง้ เดิมที่ในปัจจุบนั ค่อนข้างหายากแล้ว อุปกรณ์เครือข่ายไร้
สายที่ใช้งานบนมาตรฐาน 802.11 นั้นจะมีความเร็วสูงสุดเพียง 2 Mbps และจากัด
ระยะทางประมาณ 150 ฟุต อย่างไรก็ตาม 802.11 ก็ได้ใช้ย่านความถี่ 2.4 GHz ที่
มาตรฐานปัจจุบนั ก็ยงั คงใช้ย่านความถี่น้ ี อยู่ รวมถึงระบบความปลอดภัยที่ใช้กจ็ ะมีทง้ั
การเข้ารหัสลับด้วยวิธี WEP และ WPA
มาตรฐานเครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN Standards)
802.11b
มาตรฐานนี้ เปิ ดตัวเพือ่ ใช้งานเมื่อราวปี ค.ศ. 1999 โดยจัดเป็ นมาตรฐานที่
ได้รบั ความนิ ยมสูง และยอมรับในทัว่ โลก ดังนั้นจึงมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย
มาตรฐาน 802.11b ถูกรับรองโดย Wi-Fi โดยมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ 11
Mbps ที่ย่านความถี่ 2.4 GHz ข้อดีของมาตรฐานนี้ ก็คอื คลื่นความถี่ดงั กล่าวจะมี
อุปกรณ์หลายชนิ ดด้วยกันที่ใช้งานอยู่ โดยเฉพาะโทรศัพท์ไร้สาย รวมถึงระยะทาง
ในการรับส่งข้อมูลครอบคลุมค่อนข้างไกล ทาให้ไม่ส้ นิ เปลืองอุปกรณ์แอกเซสพอยต์
ที่ใช้เป็ นจุดรับส่งสัญญาณ
มาตรฐานเครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN Standards)
802.11a
เปิ ดตัวใช้งานเมื่อราวปี ค.ศ. 2001 เป็ นมาตรฐานที่ใช้ย่านความถี่ 5 GHz
ข้อดีของมาตรฐานนี้ ก็คอื มีความเร็วสูงถึง 54 Mbps ส่วนข้อเสียก็คอื ปัญหาเรื่องข้อ
กฎหมายคลื่นความถี่สูงในระดับ 5 GHz ซึ่งในบางประเทศอนุ ญาตให้ใช้เฉพาะคลื่น
ความถี่ตา่ เท่านั้น เช่น ประเทศไทยไม่อนุ ญาตให้นาเข้าและนามาใช้งานเนื่ องจากได้
มีการจัดสรรคลื่นความถี่ย่านนี้ เพือ่ ใช้กบั กิจการอืน่ ก่อนแล้ว อย่างไรก็ตาม เครือข่าย
ไร้สาย ตามมาตรฐาน 802.11a นั้นจะไม่สามารถนามาใช้งานร่วมกันกับเครือข่ายไร้
สายตามมาตรฐาน 802.11b และมาตรฐาน 802.11g
มาตรฐานเครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN Standards)
802.11g
เปิ ดตัวเพือ่ ใช้งานเมื่อราวปี ค.ศ. 2003 เป็ นเทคโนโลยีท่ไี ด้ปรับปรุง
ความเร็วให้มีการส่งข้อมูลสูงถึง 54 Mbps และเป็ นเทคโนโลยีท่สี ามารถนามาใช้งาน
ร่วมกันกับมาตรฐาน 802.11b ได้ เนื่ องจากใช้คลื่นความถี่ท่ี 2.4 GHz เหมือนกัน
ดังนั้นจึงเป็ นมาตรฐานที่กาลังได้รบั ความนิ ยมในปัจจุบนั
มาตรฐานเครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN Standards)
802.11n
สำหรับมำตรฐำน 802.11n นัน้ ได้พฒั นำควำมเร็วด้วยกำรเพิม่ ทรูพตุ ของ
มำตรฐำน 802.11 ให้มคี วำมเร็วสูงขึ้นถึง 100 Mbps ถึงแม้ว่ำมำตรฐำนนี้ยงั ไม่เสร็จ
สมบูรณ์ในเวลำนี้ แต่กำรรับส่งข้อมูลจะอยู่ในย่ำนควำมถี่ 5 GHz ดังนัน้ จึงมีควำมเข้ำ
กันได้กบั มำตรฐำน 802.11a
มาตรฐาน IEEE 802.11a, b, g และ n ที่ถกู รับรองโดย Wi-Fi
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายไร้สาย
1. mobility improves productivity & service
มีความคล่องตัวสูง ดังนั้นไม่ว่าเราจะเคลื่อนที่ไปที่ไหน หรือเคลื่อนย้าย
คอมพิวเตอร์ไปตาแหน่ งใด ก็ยงั มีการเชื่อมต่อ กับเครือข่ายตลอดเวลา ตราบใดที่ยงั
อยู่ในระยะการส่งข้อมูล
การใช้งานเครือข่ายไร้สายได้ทกุ ที่
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายไร้สาย
2. installation speed and simplicity
สามารถติดตัง้ ได้งา่ ยและรวดเร็ว เพราะไม่ตอ้ งเสียเวลาติดตัง้ สายเคเบิล
และไม่รกรุงรัง
การติดตัง้ เครือข่ายแบบใช้สาย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายไร้สาย
3. installation flexibility
สามารถขยายระบบเครือข่ายได้งา่ ย เพราะเพียงแค่มี พีซีการ์ดมาต่อเข้ากับ
โน๊ตบุค๊ หรือพีซี ก็เข้าสูเ่ ครือข่ายได้ทนั ที
4. reduced cost- of-ownership
ลดค่าใช้จา่ ยโดยรวม ที่ผูล้ งทุนต้องลงทุน ซึ่งมีราคาสูง เพราะในระยะยาว
แล้ว ระบบเครือข่ายไร้สายไม่จาเป็ นต้องเสียค่าบารุงรักษาและการขยายเครือข่ายก็
ลงทุนน้อยกว่าเดิมหลายเท่า เนื่ องด้วยความง่ายในการติดตัง้
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายไร้สาย
5. scalability
เครือข่ายไร้สายทาให้องค์กรสามารถปรับขนาดและความเหมาะสมได้งา่ ย
ไม่ย่งุ ยาก เพราะสามารถโยกย้ายตาแหน่ งการใช้งานโดยเฉพาะระบบที่มีการเชื่อม
ระหว่างจุดต่อจุด เช่น ระหว่างตึก
อุปกรณ์ท่ใี ช้การส่งข้อมูลแบบไร้สาย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายไร้สาย
ระบบเครือข่ายไร้สาย เป็ นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่
ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ไม่มากนัก และมักจากัดอยู่ในอาคารหลังเดียวหรืออาคารใน
ละแวกเดียวกัน การใช้งานที่น่าสนใจที่สดุ ของเครือข่ายไร้สายก็คอื ความ
สะดวกสบายที่ไม่ตอ้ งติดอยู่กบั ที่ ผูใ้ ช้สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้โดยที่ยงั สือ่ สารอยู่ใน
ระบบเครือข่าย
ถาม-ตอบ