การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ปรับ 29 มิย 56

Download Report

Transcript การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ปรับ 29 มิย 56

ทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สุ ทธิรัตน์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วรพจน์ วงศ์กิจรุ่ งเรื อง และอธิ ป จิตตฤกษ์, 2554 แปล
ทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้
และนวัตกรรม
วิชาแกน+แนวคิดสาคัญ
วิชาแกน (core subject) ที่จาเป็ นต้ องเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ การอ่าน ศิลปะ
การใช้ภาษา คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาต่างประเทศ หน้าที่พลเมือง
การปกครอง เศรษฐศาสตร์ ศิลปะ
ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์
แนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21
จิตสานึกต่ อโลก
ความรู้
พืน้ ฐานด้ านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และ
การเป็ นผู้ประกอบการ
ความรู้ พนื้ ฐานด้ านพลเมือง
สุขภาพ และสิ่ งแวดล้ อม
ทักษะการเรียนร้ ู และนวัตกรรม
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา
การสื่ อสารและการร่ วมมือทางาน
ทักษะสารสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี
ความรู ้พ้นื ฐานด้านสารสนเทศ
ความรู้พ้นื ฐานด้านสื่ อ
ความรู้พ้นื ฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสาร (ICT)
ทักษะชีวติ และการทางาน
ความเป็ นผู้นา ความมีจริยธรรม
การรู้ จกั รับผิดชอบ ความสามารถในการปรับตัว
การรู้ จกั เพิม่ พูนประสิ ทธิผลของตนเอง
ความรับผิดชอบต่ อตนเอง ทักษะในการเข้ าถึงคน
ความสามารถในการชี้นาตนเอง
ความรับผิดชอบต่ อสั งคม
TLLM
Teach Less,
Learn More
วิสัยทัศน์ ประเทศสิ งคโปร์
สอนให้ น้อยลง เรียนรู้ให้ มาก
การตั้งคาถามทีถ่ ูกต้ อง สาคัญกว่ าการหาคาตอบ
สอนจบหลักสูตรไม่ สาคัญเท่ า
การสอนให้ เด็กเกิดการเรียนรู้
(Information and Communication Technology)
ยุคศตวรรษที่ 20
ยุคศตวรรษที่ 21
งานทีใ่ ช้ แรงงานแบบซ้าๆซากๆ
ซึ่งเป็ นงานทีป่ ้ อนคาสั่ งให้
และใช้ คอมพิวเตอร์ ทาแทน
งานทีเ่ น้ นการคิดอย่ างผู้เชี่ยวชาญ
การสื่ อสารทีซ่ ับซ้ อน
ซึ่งเป็ นงานที่คอมพิวเตอร์ ไม่ สามารถทาแทนได้
จาเก่ ง
คิดเก่ ง
ทิศทางของข้ อมูลมีการปรับเปลีย่ นตลอดเวลา
เพราะการสื่ อสารจะพัฒนาไปอย่ างที่ไม่ อาจคาดเดาได้
คนในศตวรรษที่ 21
ต้ องมีความเชี่ยวชาญในการสื่ อสารที่ซับซ้ อนขึน้ จากยุคเดิม
คนในศตวรรษ 21
ต้ องมีไหวพริบในการ
ตอบคาถามเฉพาะหน้ า
อย่ างฉับพลัน
ชายคนหนึ่งขับรถไปตามถนนใน
ขณะทีผ่ ู้หญิงอีกคนหนึ่งขับรถสวนมา
ในจังหวะทีร่ ถสวนกันนั้นเอง
หญิงสาวก็เปิ ดกระจกรถแล้วตะโกนใส่ "ควาย !"
ชายหนุ่มฉุนจัด เขาเปิ ดกระจกแล้ วหันหลังไปยัง
รถของหญิงสาวที่เพิง่ ผ่ านไปแล้ว
ตะโกนสวนไปบ้ าง " อีบ้า! " และนั่นคือสิ่ งสุ ดท้ าย
ที่เขาจาได้ ก่อนสติจะดับวูบไป
"เกิดอะไรขึน้ กับผม" เขาถามพยาบาลที่เขาเจอเมื่อ
เขาคืนสติขนึ้ มา
" คุณขับรถชนควาย
บนถนนคะ" !?
คนในศตวรรษ 21
ต้ องควบคุมการเจรจา ถกเถียง
ที่ไม่ เป็ นระเบียบได้ อย่ างราบรื่น
ครูใน
ศตวรรษ 21
ต้ องจัดการและ
ควบคุมห้ องเรียน
ทีว่ ่ นุ วายได้
คนทางานในศตวรรษที่ 21
ต้ องมี ...
ทักษะการร่ วมมือทางานเป็ นทีม
ผู้เรียนในศตวรรษ 21
ค้ นได้ ข้อมูล
หลายหมื่นหลาย
แสนชิ้นที่ตรงและ
ไม่ ตรงกับความ
ต้ องการหรือข้ อมูล
ขัดแย้ งกัน
ทักษะในการเลือก
แยกแยะ สกัด
เฉพาะข้ อมูลที่
สาคัญ
ต่ อการตัดสิ นใจ
กรอบความคิดของภาคีเพือ่ ทักษะแห่ งศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st Century Skills, 2007)
จิตสานึกต่ อโลก
กรอบความคิดของภาคีเพือ่ ทักษะแห่ งศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st Century Skills, 2007)
ทักษะการแก้ ปัญหา
กรอบความคิดของภาคีเพือ่ ทักษะแห่ งศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st Century Skills, 2007)
ทักษะการสร้ างสรรค์ และผลิตนวัตกรรม
กรอบความคิดของภาคีเพือ่ ทักษะแห่ งศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st Century Skills, 2007)
การคิดเชิงวิพากษ์
สรุปว่ า.......
มีทักษะมากมายที่สาคัญและจาเป็ น
สาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ทีค่ รูไม่ สามารถใช้ การสอนแบบบรรยาย
แล้ วให้ ผู้เรียนเกิดทักษะทีส่ าคัญ
ในศตวรรษที่21 ได้
ครูต้องปรับบทบาท
ผู้สอน
หรือ
Coaching
&
ผ้ ูถ่ายทอดความร้ ู
Metoring
(บรรยาย)
แล้ วผู้เรียนจะเก่ งในเรื่องใด?
Coaching
&
Metoring
ผู้เรียนเก่ ง
กระบวนการเรียนรู้
ทักษะ
Question : Q
Search : S
Literacy:L
Construct: C
Numeracy: N
Communicate:C Reasoning: R
Search : S
สพฐ. ต้ องการพัฒนาอะไร
พัฒนาครู
ให้ มีทักษะ
Coaching
&
Metoring
พัฒนาให้ ผู้เรียนเก่ ง
กระบวนการเรียนรู้
ทักษะ
Question : Q
Search : S
Literacy:L
Construct: C
Numeracy: N
Communicate:C Reasoning: R
Search : S
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
ผู
้
ส
อนต้
อ
งตระหนั
ก
ถึ
ง
ความเจริ
ญ
ของ
การ
โลกที่เปลีย่ นไปอย่างรวดเร็วและต่ อเนื่อง
จัด
ดังนั้นการจัดสภาพแวดล้ อม
ทีส่ ่ งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียน และ
การ
วิธีการจัดการเรียนรู้
เรียน
ต้ องปรับให้ ทันกับความเปลีย่ นแปลง
ที่เกิดขึน้
รู้
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม
การ
เรียน
รู้
แปลงรู ปแบบการสอนให้ กลายเป็ น
สิ่ งอานวยความสะดวก
-การถ่ ายทอด (delivering)
-การประยุกต์ ใช้ (applying)
-การสร้ างสรรค์ (creating)
-การสื่ อสาร (communicating)
-การตัดสิ นใจ (decision making)
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม
การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
-สะดวกในการเคลือ่ นย้ าย
-สามารถปรับรู ปแบบในการใช้ พนื้ ที่
ในห้ องเรียนได้ อย่ างง่ ายดาย
-มีประสิ ทธิภาพในการเรียน
-โต๊ ะเก้ าอีอ้ าจมีล้อเลือ่ นหรือใช้ โต๊ ะที่พบั ได้
-เอือ้ ต่ อการเรียนรู้ แบบโครงงาน
หรือการเรียนรู้ ด้วยผู้เรียนมากกว่ า
การเรียนที่เน้ นเนือ้ หา
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
ส่ งเสริมให้ ให้ ผู้เรียนได้ ใช้ วธิ ีการเรียน
ได้ อย่ างคล่องตัว เช่ น การมอง การคิด
การจับคู่ การฟัง การค้ นหา การพูดคุย
การทางานเป็ นทีม การมีปฏิสัมพันธ์
กับเพือ่ นๆ
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
ส่ งเสริมการเรียนรู้ ด้วยตนเองของ
ผู้เรียนในรู ปแบบต่ างๆ อาทิ
การปรับเปลีย่ นพืน้ ที่เรียน ห้ องเรียน
ยืดหยุ่นในการเรียนของแต่ ละทีม การ
ปลีกตัวไปคิดคนเดียว
การเคลือ่ นตัวเข้ าหาเครื่องมือที่จาเป็ น
ต่ อการเรียนรู้
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
มีการจัดสภาพแวดล้ อมที่แตกต่ างกันออกไป
หลายรู ปแบบให้ เหมาะสมกับ การทางานของ
ผู้เรี ยนสามแบบคือ สภาพแวดล้ อมที่ผ้ ูเรี ยน
ต้ อ งใช้ สมาธิ ใ นการเรี ย นสภาพแวดล้ อ ม
ส าหรั บ งาน ที่ ต้ อ งร่ วมมื อ กั น ท างานและ
สภาพแวดล้ อมสาหรับงานโครงการที่ต้อ งลง
มือปฏิบัติ
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
สถานศึ กษาจะต้ องมองให้ เห็นกิจกรรมของ
ผู้ เ รี ย นในมุ ม ต่ า งๆ อี ก เช่ น ผู้ เ รี ย นอาจท า
กิ จ กรรมการเรี ย นของตนเองอยู่ ที่ บ้ า น ใน
สตูดิโอการเรี ยนรู้ ของชุ มชน ลานการเรี ยนรู้
ในโรงเรี ยนหรื อในห้ องสมุดเอกชน หรื ออาจ
มีเลือกพื้นที่การเรี ยนรู้ และพื้นที่การทางาน
ร่ วมกันตามความต้ องการตามความต้ องการ
ของสมาชิกกลุ่ม
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
อาจมีห้องวางแผนการทางานที่มี ไวท์
บอร์ ดไว้ ขี ด เขี ย น ห้ องปฏิ บั ติ ง าน
ห้ อ งแสดงผลงานที่ มี ค อมพิ ว เตอร์
กล้ อง กระดานอิเลคทรอนิ คส์ พื้ นที่
การท างานเป็ นกลุ่ ม พื้น ที่ พั ก ผ่ อ น
ห ย่ อ น ใ จ ที่ เ ป็ น ส่ ว น ตั ว เ พื่ อ ล ด
ความเครียดในการเรียน
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
ผู้เรี ยนอาจทากิจกรรมในห้ องสมุดสื่ อที่ผ้ ูเรียนและ
ทีม งานสามารถทางานในพื้นที่ โ ล่ ง ขนาดใหญ่ ที่
เต็มไปด้ วยโต๊ ะ เก้ าอี้ หลากแบบ และมีเครื่ องมือที่
ทันสมัยในการทางาน เป็ นต้ น ซึ่ งผู้เรี ยนสามารถ
เชื่ อ มโยงหรื อ ติดต่ อ กับ ครู ห รื อ เพื่อ นหรื อ บุ คคล
อื่ น ๆ ได้ ด้ วยเทคโนโลยี อิ น เทอร์ เน็ ต ไร้ สา ย
(wireless) จากคอมพิวเตอร์ หรื อโทรศัพท์ มือถือ
ตลอดเวลา
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
สถานศึ ก ษาต้ อ งพยายามท าให้ ทุ ก พื้น ที่
ของโรงเรียนกลายเป็ นพืน้ ที่แห่ งการเรี ยนรู้ ที่
มีประสิ ทธิภาพไม่ เว้ นแม้ กระทั่ง ทางเดินที่
สามารถท างานได้ มุ ม ห้ อ ง ที่ มี โ ซฟานั่ ง
พั ก ผ่ อ น หรื อ ท า ง าน ร่ วม กั น ห้ องน้ า
โรงอาหาร สวนเกษตร พืน้ ที่พักผ่ อน
สนามกีฬา
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
การออกแบบห้ อ งเรี ย นที่ เ ปิ ดมี พื้ น ที่
โล่ ง ลดฉากกั้นให้ น้อยลง ทาให้ ห้องเรียน
มีสภาพเสมือนสานักงานบริ ษัท หอศิลป์
ร้ านหนังสื อ หรื อร้ านกาแฟที่มากกว่ าตึก
แบบทึบๆอุดอู้
แต่ เ ป็ นห้ อ งเรี ย นที่ ส ามารถมองทะลุ
ผ่ านไปอีกส่ วนหนึ่งได้
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
สภาพ
แวดล้อม การ
เรียน
รู้
สภาพแวดล้ อมในการเรียนแบบใหม่
ตัวอย่ างเช่ น .....
การใช้ กระจกกั้นระหว่ างห้ องเรี ยนกับทางเดิน
หรือสวนพักผ่ อน เพือ่ ให้ ผ้ ูเรียนคนอืน่ ๆ ผู้ปกครอง
คนในชุ ม ชน ครู ผู้ บริ ห ารสามารถมองเห็ น
กิจกรรมดีๆ ในห้ องเรียน
ซึ่งอาจเห็นนักเรี ยนกาลังวางแผนทางาน กาลัง
ทาโครงงาน หรื อนาเสนองาน โดยอาจมีครู อยู่ทา
ตัวเสมือนผู้จดั การโครงการ หรืออาจเป็ นห้ องเรียน
นักเรียนกาลังทางาน อย่ างอิสระ
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
ประเทศสิ งคโปร์
การ
จัด
การ
เรียน
รู้
วิสัยทัศน์ ที่ 1 วิสัยทัศน์ เพือ่ ชาติ: โรงเรียนนักคิด
ประเทศแห่ งการเรียนรู้
วิสัยทัศน์ ที่ 2 วิสัยทัศน์ เพือ่ การศึกษา:สอนให้ น้อยลง
เรียนรู้ให้ มาก
วิสัยทัศน์ ที่ 3 วิสัยทัศน์ เพือ่ การปฏิบัต:ิ กลยุทธ์ ตึงสลับ
หย่ อน
วิสัยทัศน์ ที่ 4 วิสัยทัศน์ เพือ่ ความร่ วมมือ:ชุ มชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
การ
เรียน
รู้
ผู้ เ รี ยนในศตวรรษใหม่ ที่เ ป็ นคนยุ ค ดิจิ ตอล
เป็ นมนุษย์ เครือข่ าย กระตือรือร้ นที่จะทางาน
ด้ วยตนเองหรื อร่ ว มมือกับผู้ อื่น โดยเมื่ออยู่
บ้ า น เ ข า จ ะ ข ลุ ก อ ยู่ กั บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
อินเทอร์ เน็ต ไอพอด และสมาร์ ทโฟน แต่ เมื่อ
อยู่โรงเรี ยนเขากลับต้ องถูกบังคับให้ นั่งที่โต๊ ะ
ตัวเล็กๆ เพื่อขีดเขียนด้ วยดินสอปากกาและ
ทางานตามใบงานทีไ่ ด้ รับคาสั่ งจากครู
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
การ
เรียน
รู้
“นักเรี ยนจะเรี ยนรู้ ได้ ดีที่สุดเมื่อพวกเขา
มีส่วนร่ วม”
การสอนแบบใหม่ จึ ง ควร “ปล่ อ ยให้
ผู้เรียนสอนตัวเอง โดยมีครูคอยแนะนา”
แนวโน้ มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
จัด
การ
เรียน
รู้
ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ยุ โ ร ป
ลองสร้ างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ ๆ
โดยได้ นาการเรียนรู้ จากโครงงาน
(Project-based learning :PBL)
มีข้อค้ นพบว่ า ....
“นักเรี ยนสามารถทางานและเกิดความรู้
ได้ ดที สี่ ุ ดเมื่อได้ เรียนรู้โครงงาน”
แนวโน้ มการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
ประเมิน
ผล
ของ
หลักสู ตร
วิ ธี ก ารประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ของ
ผู้ เ รี ย น ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 ที่ มี
ประสิ ทธิผลจะช่ วยให้ ...
ผู้ เ รี ย น ท ร า บ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ
การเรียนของตนเองอย่ างทันท่ วงที
และเชื่อมโยงไปยังเกณฑ์ ที่จาเป็ นเพื่อ
ปรับปรุงพัฒนาตนเองให้ ดยี งิ่ ขึน้
แนวโน้ มการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
ประเมิน
ผล
ของ
หลักสู ตร
ผลการเรี ย นของนั ก เรี ย นจึ ง ควรให้
นั ก เรี ย นสามารถดู เ กรดการเรี ย นของ
ตนเองได้ ทั น ที ใ นเว็ บ ไซด์ โดยมี ก าร
อัพเดตให้ มีข้อมูลที่ใหม่ เสมอ โดยดูได้ ท้ัง
รายจุดประสงค์ รายบุคคล และรายวิชา
รวมทั้งผู้ปกครองสามารถดูผลการเรี ยน
ของนั ก เรี ย นของตนเองได้ จากทุ ก ที่
ทุกเวลา
แนวโน้ มการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
ประเมิน
ผล
ของ
หลักสู ตร
การประเมินทีแ่ ปรเปลีย่ นไม่ ใช่ ประเมินตามเงื่อนไข
มาตรฐานเดียวกัน
เนื่องจากผู้เรี ยนบางคนหรื อบางกลุ่มต้ องใช้ เวลาใน
การท างานที่ ม ากขึ้ น เพื่ อ ความส าเร็ จ ของงานที่ ไ ม่
เหมือนกับเพื่อน หรื อเป็ นงานที่ท้าทายหรื อมี ความยาก
ง่ า ยต่ างจากเพื่ อ นๆ กลุ่ ม อื่ น ๆ ครู ผู้ ป ระเมิ น ต้ อ งมี
มาตรฐานการให้ คะแนนที่แตกต่ างกันในแต่ ละกลุ่ม ทั้ง
เรื่อง ความคิดสร้ างสรรค์ การคิดเชิงวิเคราะห์ สั งเคราะห์
และการแก้ ปัญหาในการทางาน และต้ องมีความเข้ าใจใน
เรื่ องของการประเมินที่ผันแปรไปตามเวลา บริ บท และ
กระบวนการประเมินผลงาน
แนวโน้ มการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การ
ประเมิน
ผล
ของ
หลักสู ตร
การประเมินทั้งระดับบุคคลและทีมงาน
เนื่องจากโลกในศตวรรษที่ 21 การวัดผลงาน
ความสาเร็จของคนไม่ ได้ วัดจากผลงานของคนคน
เดียว แต่ มักเป็ นผลงานที่ได้ ร่วมคิดและพัฒนาขึน้
จากทีมงาน ซึ่ งอาจมีการให้ ผลตอบแทนจากการ
พัฒนาชิ้นงานเป็ นทีมและความร่ วมมือเป็ นสาคัญ
ดัง นั้ น การประเมิ น ความส าเร็ จ จากผลงาน
ของทีม ผู้ประเมินจึงต้ องให้ ความสาคัญอย่ างมาก
และมากกว่ าการประเมินรายบุคคล
แนวโน้ มการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การประเมินที่เปิ ดเผย
การ
ประเมิน
ผล
ของ
หลักสู ตร
การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนจะ
ไม่ เป็ นความลับอีกต่ อไป
การประเมินในศตวรรษที่ 20 ที่ม่ ุงเน้ น
การทดสอบต้ องเป็ นความลับ
การประเมินในศตวรรษที่ 21 คุ ณ ค่ า
ของการประเมินอยู่ทกี่ ารเปิ ดเผย
แนวโน้ มการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การประเมินที่เปิ ดเผย
การ
ประเมิน
ผล
ของ
หลักสู ตร
การประเมิน โดยผู้เรี ยนจะได้ มีส่วนร่ วมในการ
สร้ างแบบประเมินหรื อแบบทดสอบด้ วย และให้ ผู้เรี ยน
ได้ นาสิ่ ง ที่จะสอบไปศึ กษา พิจารณาและตอบมาอย่ าง
รอบคอบ
ดังนั้นการรู้ คาถามก่ อนการสอบจึงไม่ ใช่ การโกง
ข้ อสอบอีกต่ อไป แต่ เป็ นการแสดงความรั บผิดชอบและ
ความรอบคอบของผู้สอบ และเป็ นการทาให้ ผู้เรี ยนทุก
ค น มี โ อ ก า ส ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ท า ง ก า ร เ รี ย น
อย่ างเป็ นธรรม
แนวโน้ มการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การให้ ข้อมูลย้ อนกลับจากการประเมิน
การ
ประเมิน
ผล
ของ
หลักสู ตร
การประเมินผู้เรี ยนในศตวรรษที่ 21 ผู้เรี ยนจะต้ อง
สามารถดู เ กรดการเรี ย นของตนเองได้ ทุ ก วั น และ
ตรวจเกณฑ์ การให้ คะแนนได้ ทางออนไลน์ ตลอดเวลา
ดังนั้นการทาให้ เกณฑ์ การประเมินโปร่ งใสและเข้ าใจ
ได้ ง่ายจะช่ วยให้ ผู้เรี ยนสามารถตัดสิ นใจเลือกเป้าหมาย
หรื อระดับของงานที่พวกเขาต้ องการบรรลุผ ล การให้
ความคิดเห็นตอบกลับอย่ างทันท่ วงทีบวกกับเกณฑ์ การ
ประเมิน ทาให้ นักเรี ย นได้ รับข้ อมู ลที่จาเป็ นเพื่อน าไป
กากับพฤติกรรมของตนเอง
อภิปราย ซักถาม
สวัสดี