สิ่งที่ครูใหม่ควรรู้ โดย ผศ.ดร.สมภพ

Download Report

Transcript สิ่งที่ครูใหม่ควรรู้ โดย ผศ.ดร.สมภพ

สิ่ งทีค่ รูใหม่ ควรรู้
ผศ.ดร.สมภพ อินทสุวรรณ
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยทักษิณ
แก่ นแท้ ของความเป็ นมนุษย์
• 1.คิดดี คิดลึก คิดรอบ คิดแตกฉาน
• 2.แสดงออกพฤติกรรมได้ เหมาะสม
• 3.เผชิญปัญหาและอุปสรรคได้
• 4.มีมนุษยสั มพันธ์ อยู่ร่วมกับมนุษย์ และธรรมชาติ
ได้
• การศึกษาคือการเปลีย่ นคนให้ เป็ นมนุษย์
คุณสมบัตพิ นื้ ฐานของผ้ ูมกี ารศึกษา
• 1.มีสมรรถภาพพืน้ ฐาน(Basic Literacy)
• อ่ านออก เขียนได้ คิดเลขเป็ น
• 2.มีสมรรถภาพทางวิทยาศาสตร์ (Scientific
Literacy) มีเหตุผล ไม่ งมงาย แสวงหาความ
จริง
คุณสมบัตพิ นื้ ฐานของผ้ ูมกี ารศึกษา
• 3.มีสมรรถภาพทางคอมพิวเตอร์ (Computer
Literacy)
• 4.มีศักยภาพการเป็ นพลเมืองดี(Citizen Competency)
• 5.มีทักษะภาษาตนเองและภาษาอืน่ (Language
Competency)
• เรียนรู้เพือ่ ให้ ปรับตัวอยู่ได้ ในการเปลีย่ นแปลงของโลก
อนาคต (การศึกษาเพือ่ ศตวรรษที่ 21)
พวกเรามีส่วนทีต่ ้ องรับผิดชอบด้ วยไหม?
ทักษะของมนุษย์ ในศตวรรษที2่ 1(3R x 7C)
•3 R
•1.Reading
•2.(W)riting
•3.(A)rithmetics
ทักษะของมนุษย์ ในศตวรรษที2่ 1(3R x 7C)
•7C
• 1.Critical thinking and problem solving
• 2.Creativity and Innovation
• 3.Cross-cultural understanding
• 4.Collaboration teamwork and leadership
ทักษะของมนุษย์ ในศตวรรษที2่ 1(3R x 7C)
•5.Communications, information
and media literacy
•6.Computing and ICT literacy
•7.Career and learning skills
st
21 Century Skills
• 1.วิชาแกน
• 1.ภาษา ภาษาอังกฤษ ภาษาสาคัญของโลก
(การอ่านและการใช้ ภาษา)
• 2.ศิลปะ
• 3.คณิตศาสตร์
• 4.วิทยาศาสตร์
st
21 Century Skills
• 5.เศรษฐศาสตร์
• 6.ภูมศิ าสตร์
• 7.ประวัติศาสตร์
• 8.การปกครองและหน้ าทีพ่ ลเมือง
st
21 Century Skills
• 2.แนวคิดที่สาคัญ
•
•
•
•
•
1.จิตสานึกต่ อโลก
2.ความรู้ ด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ การเป็ นผู้ประกอบการ
3.ความรู้ ด้านพลเมือง
4.ความรู้ ด้านสุ ขภาพ
5.ความรู้ ด้านสิ่ งแวดล้ อม
st
21 Century Skills
•3.ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม
• 1.ความคิดสร้ างสรรค์ และนวัตกรรม
• 2.ความคิดเชิงวิพากษ์ และการแก้ไขปัญหา
• 3.การสื่ อสารและการร่ วมมือทางาน
st
21 Century Skills
• 4.ทักษะด้ านสารสนเทศ สื่ อและเทคโนโลยี
• 1.ความรู้ ด้านสารสนเทศ
• 2.ความรู้ ด้านสื่ อ
• 3.ความรู้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่ อสาร(ICT)
st
21 Century Skills
• 5.ทักษะชีวติ และการทางาน
•
•
•
•
•
1.ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
2.ความคิดริเริ่มและการเป็ นตัวของตัวเอง
3.ทักษะทางสั งคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม
4.การเป็ นผู้ผลิตและความรู้รับผิด(เชื่อถือได้ )
5.ความเป็ นผู้นาและความรับผิดชอบ
โลกอนาคต
• สั งคมฐานความรู้ (ไม่ ใช่ การเกษตรหรืออุตสาหกรรม)
• การเปลีย่ นแปลงระบบเศรษฐกิจ ระบบธุรกิจ แรงงาน
การแข่ งขันและการร่ วมมือ เทคโนโลยีการผลิต ต้ องการ
แรงงานคุณภาพสู ง ฉลาด
• ระบบการศึกษาทีเ่ ตรียมคนสาหรับโลกอนาคต
• การเรียนรู้ ทสี่ ั มพันธ์ กบั ชีวติ จริงในอนาคต
• ผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษา ศักยภาพในการแข่ งขัน
ลักษณะของเด็กในศตวรรษที่21(Generation Z)
• 1.มีอสิ ระในการเลือกหรือแสดงความคิด มี
ลักษณะเฉพาะของตน
• 2.ต้ องการดัดแปลงสิ่ งต่ างๆให้ ตรงกับความพอใจและ
ความต้ องการของตน
• 3.สารวจตรวจสอบหาความจริงเบือ้ งหลัง
• 4.เป็ นตัวของตัวเอง มีปฏิสัมพันธ์ กบั ผู้อนื่ เพือ่
รวมตัวกันเป็ นกลุ่มองค์ กร
ลักษณะของเด็กในศตวรรษที่21(generation Z)
• 5.รักความสนุกสนาน ถือการเล่ นเป็ นส่ วนหนึ่งของงาน
และการเรียนรู้
• 6.ทุกกิจกรรมอาศัยความร่ วมมือและความสั มพันธ์ กนั
• 7.ต้ องการความรวดเร็วในการสื่ อสาร หาข้ อมูลและตอบ
คาถาม
• 8.สร้ างและใช้ นวัตกรรมในทุกเรื่องของชีวติ
ปัจจัยในการจัดการเรียนรู้ สาหรับอนาคต
• 1.Authentic Learning การเรียนรู้ ทแี่ ท้
• ออกแบบการเรียนรู้ เพือ่ ชีวติ จริงหรือให้ ใกล้เคียง
ชีวติ จริงให้ มากทีส่ ุ ด
ปัจจัยในการจัดการเรียนรู้ สาหรับอนาคต
• 2.Mental Model Building
• การอบรมบ่ มนิสัย ปลูกฝังความเชื่อ ค่ านิยม
กระบวนทัศน์
• เรียนรู้ Learn to Learn /How to Unlearn
• How to Relearn /What to Learn (Learner
Directed Center). Learn to Live
ปัจจัยในการจัดการเรียนรู้ สาหรับอนาคต
• 3.Internal Motivation
• เรียนรู้ ด้วยแรงขับดันในตัวเอง(ฉันทะ)
• ไม่ ใช่ แรงขับภายนอก การบีบบังคับของพ่อแม่
หรือครู แล้วจะเกิด วิริยะ จิตตะและวิมงั สา
ตามมาเอง (Love to Learn –Learn to Love)
ปัจจัยในการจัดการเรียนรู้ สาหรับอนาคต
• 4.Multiple Intelligence
• มนุษย์ แต่ ละคนมีพหุปัญญา มีความถนัดหรือปัญญาติด
ตัวมาตั้งแต่ กาเนิดต่ างกัน มีสไตล์ (ลีลา)การเรียนรู้ ต่างกัน
• การจัดการเรียนรู้ โดยคานึงถึงความแตกต่ างระหว่ าง
บุคคลทีเ่ ป็ นการเรียนรู้เฉพาะตัว(ยืดหยุ่นและหลากหลาย)
• Education for All. All for Education
• But Self (Individual) Learning
ปัจจัยในการจัดการเรียนรู้ สาหรับอนาคต
• 5.Social Learning
• การเรียนรู้ เป็ นกิจกรรม กระบวนการทาง
สั งคมทีส่ นุกและเกิดความรักเรียน ไม่ ใช่
กิจกรรมส่ วนบุคคลทีน่ ่ าเบื่อและหงอยเหงา
โดดเดีย่ ว
ครูในศตวรรษที่ 21
• เป็ นครูฝึก(Coach) ไม่ ใช่ ครูสอน(Teach)
• เป็ นครูอานวยความสะดวกในการเรียน(Facillitator)
• ไม่ ใช่ ครูสั่งการ(Dictator-Director)
• ให้ เด็กเรียนรู้แบบ PBL(Project- Based Learning)
• โดยการรวมตัวกันแลกเปลีย่ นเรียนรู้ประสบการณ์
กัน(Professional Learning Communities=PLC)
และเรียนรู้ตลอดชีวติ
หน้ าทีห่ ลักของครูอนาคต
•
•
•
•
1.สร้ างแรงบันดาลใจให้ เด็กอยากเรียน
2.ทาหน้ าทีเ่ ป็ นโค้ ช
3.ฝึ กทักษะการดารงชีวติ ในสั งคมให้ แก่ เด็ก
4.สอนให้ เกิดการเรียนรู้ ไม่ ใช่ แค่ ให้ ร้ ู วชิ า(Transformative
Learning ไม่ ใช่ Informative,Formative Learning)
• 5.มีChange Agent Skill และ Leadership Skill
• 6.มีความเป็ นพลเมืองดี
บทบาทครู ในอนาคต
• 1.ต้ องรอบรู้ แหล่ งแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Area
of Knowledge Sharing)
• -International Knowledge
• -Local Knowledge
บทบาทครูในอนาคต
• 2.จรรโลงไว้ ซึ่งสิ่ งดีงามที่เป็ นรากเหง้ าของความ
เป็ นมนุษยชาติ(Humanism Cultural and
National Mind)
• 3.ตระหนักถึงการเรียนรู้ ไร้ พรมแดนผ่ านระบบ
สารสนเทศ(Knowledge Borderless toward by
IT)
บทบาทครูในอนาคต
• 4.รักษาปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล
(Participation, Interpersonal Relationship)
• 5.มีทักษะการเป็ นFacilitator Consulting(FC)
คือมีจติ วิทยาการจูงใจ สอน How to Apply
จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาของสิ งคโปร์ (2020)
• 1.ช่ วยให้ ผู้เรียนค้ นพบศักยภาพของตัวเอง
• (Help students discover their talents)
• 2.ช่ วยให้ ผู้เรียนตระหนักในศักยภาพของตัวเอง
• (Realize their potential)
• 3.สร้ างความรักในการเรียนรู้ตลอดชีวติ
(Develop a passion of lifelong learning)
•พัก
ยุทธศาสตร์ การสอนการเรียนรู้
• เรียนรู้ โดยการสร้ างความรู้และเรียนรู้ เป็ นทีม
(Learning How to Learn-Collaboration
Learning)
• โดยฝึ กให้ ต้งั คาถาม
• การตั้งคาถามทีถ่ ูกต้ อง สาคัญกว่ าการหาคาตอบ
• ครูต้องมีความอดทน อดกลั้น(ที่จะไม่ บอกคาตอบ)
Teach Less, Learn More (TLLM)
• 1.การเรียนรู้ แบบใช้ การตั้งคาถามเป็ นหลัก
• (Inquiry Based Learning =IBL)
• 2.การเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นหลัก
• (Problem Based Learning = PBL)
• 3.การเรียนรู้ แบบใช้ หลายปัญหาประกอบกันเพือ่ ทางานให้ สาเร็จ
• (Project Based Learning = PBL)เป็ นปัญหาที่มอี ยู่ในชีวติ จริง
Project Base Learning
• 1.Define
• สมาชิกในทีมระดมความคิดว่ า คาถามหรือปัญหา
คืออะไร เพือ่ ให้ เกิดการเรียนรู้ อะไร
• 2.Plan
• วางแผนการทางาน แบ่ งหน้ าที่ความรับผิดชอบ
Project Base Learning
• 3.Do ลงมือทา ฝึ กทักษะการแก้ปัญหา การ
ประสานงาน การทางานเป็ นทีม การจัดการความ
ขัดแย้ ง การค้ นคว้ าหาความรู้ การบันทึก การวิเคราะห์
• 4.Review การทบทวนการเรียนรู้แบบไตร่ ตรอง
(Reflection)ว่ า ได้ บทเรียนอะไร เหตุการณ์ ที่
ประทับใจ หรือเรียกว่ า After Action Review =AAR)
Project Base Learning
• 5.Presentation
• การนาเสนอ ฝึ กสร้ างนวัตกรรมการนาเสนอให้
น่ าสนใจและได้ ความรู้
Team Learning Process
• 1.Think Pair Share แลกเปลีย่ นความคิด
• 2.Jigsaw
• 3.Student Teams Achievement Division STAD)
• สร้ างผลสั มฤทธิ์ของทีม
• 4.Graphic Organizer ใช้ แผนผังขัดระบบความคิด
Team Learning Process
• 5.Gallery Walk เดินชมแลกเปลีย่ นเรียนรู้
• 6.Carousel ม้ าหมุน
• 7.Predict Observe Explain :POE)ทานายสั งเกต
อธิบาย
• 8.Knowledge- Want to Know- Learning :KWL)
• รู้แล้ ว อยากรู้ เรียนรู้
Team Learning Process
• 9.Exit Ticket ตั๋วออก
• 10.Brain Storming ระดมความคิด
• 11.Active Reading and Writingอ่ านเขียนอย่ างมี
ศักยภาพ
• 12.Role Play บทบาทสมมุติ
• 13.Simulation สถานการณ์ จาลอง
การทางานของสมอง
• 1.ทฤษฎีสมองสองซีก(Roger Speary)
2.Howard Gardner
•1)Multiple Intelligence
•2)Five Minds for the Future
ทฤษฎีพหุปัญญา
Howard Gardner
ทฤษฎีพลังสมอง 5 ด้ าน
• 1.Cognitive Mind(ด้ านทฤษฎีหรือวิชาการ)
• 1.ด้ านวิชาและวินัย(Disciplined Mind)
• 2.ด้ านสั งเคราะห์ (Synthesizing Mind)
• 3.ด้ านสร้ างสรรค์ (Creating Mind)
ทฤษฎีพลังสมอง 5 ด้ าน
• 2.Human Relation Mind(ด้ านมนุษยสั มพันธ์ )
• 1.การเคารพให้ เกียรติผู้อนื่ การยอมรับความ
แตกต่ าง (Respecful Mind )
• 2. ด้ านจริยธรรม(Ethical Mind )
ของฝาก
•อย่ าถามว่ าจะได้ อะไรจากการทาอาชีพ
ครู
•แต่ จงถามว่ าจะใช้ วชิ าชีพครูให้ เป็ น
ประโยชน์ ต่อแผ่ นดินได้ อย่ างไร
•จงเป็ นครูเพือ่ ศิษย์