3 ตบช. - ปริญญา เอก

Download Report

Transcript 3 ตบช. - ปริญญา เอก

การพัฒนาสภาพแวดล้ อมการเรียนรู้
ในวิทยาลัยเทคโนโลยีพงษ์ ภญ
ิ โญ; การวิจยั เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
LEARNING ENVIRONMENT ENHANCEMENT
IN PHONGPINYO TECHNOLOGICAL COLLEGE KHON KAEN THAILAND;
PATICIPATORY ACTION RESEARCH
รัฐสภา พงษ์ ภิญโญ
นักศึกษาหลักสูตร ปริ ญญาเอก สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
• เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์ (2551)
• บรรเลง ศรนิล และคณะ (2548)
47/193 (IMD)
การจัดการอาชีวศึกษาไทย
สถานการณ์ การศึกษาไทย
•
•
•
•
แผนฯ11
รัฐธรรมนูญ 50
พรบ.การศึกษา 42 (45)
ข้ อเสนอปฏิรูปรอบสอง (52-61)
ความสาคัญของการอาชีวศึกษาในทศวรรษที่ 21
USA, China, UNESCO (โลก)
TDRI, รัฐบาล, กระทรวงแรงงาน (ไทย)
• ขั้นพืน้ ฐาน
• อาชีวศึกษา
• อุดมศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสอง ด้านการอาชีวศึกษา
(หน้ า 1-10)
1. ผลการประชุมของคณะกรรมการ
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพือ่ รับรองมาตรฐานการศึกษาด้ านการอาชีวศึกษาของ
สถานศึกษา (17 ก.ค. 55)
สมศ. รอบทีส่ อง (พ.ศ.2548-2553) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพงษ์ ภิญโญ
มาตรฐาน
คะแนน ผลการประเมิน
มาตรฐานที่ 1 การประกันคุณภาพภายใน
3.50
พอใช้
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพของผูส้ าเร็ จการศึกษา
4.38
ดี
มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรี ยนการสอนด้านอาชีวศึกษา
3.30
พอใช้
มาตรฐานที่ 4 นวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และนักศึกษา 1.00
ต้องปรับปรุ ง
มาตรฐานที่ 5 การให้บริ การทางวิชาการต่อชุมชนและสังคม
1.00
ต้องปรับปรุ ง
มาตรฐานที่ 6 การบริ หารและการจัดการ
3.00
พอใช้
ผลการประเมินระดับสถานศึกษา
3.26
พอใช้
2. เป็ นหัวใจสาคัญที่บ่งชี้ถึง “คุณภาพของผูเ้ รี ยนและสถานศึกษา”
3. ได้ผลการประเมิน “พอใช้”
ไม่รับรองมาตรฐาน
(หน้ า 9)
คาถามการวิจัย
 ผลการดาเนินงานในขั้นตอนต่างๆ ของการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมที่กาหนดเป็ นอย่างไร ?
การดาเนินงานนั้น ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การเรี ยนรู ้ และความรู ้ใหม่ อะไรบ้าง ?
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
 เพื่อศึกษาผลการดาเนินงานในขั้นตอนต่างๆ ของการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมที่กาหนด
 เพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงตามสภาพที่คาดหวัง ประสบการณ์การเรี ยนรู้ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล
กลุ่มบุคคล และวิทยาลัย และองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
(หน้ า 11)
ขอบเขตการวิจัย & ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น
1. PPY ?
 มีปัญหาเรื่ อง LE เนื่องจากหลักฐานเชิงประจักษ์
2. PAR ? (วิโรจน์ สารรัตนะ, 2555)


ดวงใจ กฤดากร (2545), เก็จกนก เอื้อวงศ์ (2546), ศิริ ถีอาสนา (2549),
นงค์ใย สุดา (2551), สรกมล แจ่มจันทร์ (2547)
วิโรจน์ สารรัตนะ, 2555
3. ระยะเวลาในการวิจยั
 ปี งบประมาณ 55 (ต.ค.55 – ก.ย.56)
(หน้ า 11)
ในเชิง
วิชาการ
ในด้านการ
นาไปใช้
(หน้ า 13)
บทที่ 2
วรรณกรรมและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ (LE)
กรอบความคิดเพื่อการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
การพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู้ในระดับอาชีวศึกษา
กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเพื่อการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
การประกันคุณภาพการอาชีวศึกษา
บริ บทชุมชนและบริ บทวิทยาลัยเทคโนโลยีพงษ์ภิญโญ
1. แนวคิดเชิงทฤษฎีเกีย่ วกับสภาพแวดล้ อมการเรียนรู้
(Learning Environment, LE)
ความหมาย
Learning
environment
หมายถึง
(LE)
สภาพแวดล้อมการ
เรี ยนรู้
สิ่ งรอบตัวที่มีผลต่อการเรี ยนรู ้ของ
มนุษย์ท้ งั ทางตรงและทางอ้อม ซึ่ งมนุษย์
สามารถที่จะนาเอาหลักการแปลงสู่ การ
ปฏิบตั ิได้ตามวัตถุประสงค์หรื อความมุ่ง
หมายของการเรี ยนรู้ในระดับหรื อใน
ประเภทนั้นๆ
(หน้ า 15-16)
1.1 คุณลักษณะของครู
1.2 การจัดกระบวนการเรี ยนการสอน
1.3 ความสัมพันธ์ (ครู , ผูป้ กครอง &ชุมชน )
2.1 สภาพแวดล้อมในชั้นเรี ยน
2.2 สภาพแวดล้อมนอกชั้นเรี ยน
2. Physical
environment
1. Psychological
environment
LE
(หน้ า 12)
1. Psychological environment
Psychological environment
1.
การเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน
(Problem Based Learning, PBL)
2.
การเรียนรู้โดยใช้ โครงงานเป็ นฐาน
(Project Based Learning, PBL)
ศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้เริ่มต้ นจาก
การตั้งปัญหาที่เกี่ยวกับแต่ละหน่วยสาระการเรี ยนรู้ แล้วจึงสร้างทีมเพื่อวางแผนการทาโครงงาน
(หน้ า 22-23)
New tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง Coppell มลรัฐ Texas, USA
นักเรียนต้ องทางาน!
ไม่ใช่นงั่ ฟังครู เฉยๆในลักษณะเป็ นเพียงผูร้ ับฝ่ ายเดียว ;
ภาพนักเรี ยน กาลังทาโครงงานโดยค้นคว้าข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
(หน้ า 64)
Bob Pearlman (2010)
New tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง Coppell มลรัฐ Texas, USA
นักเรียนจาเป็ นต้ องเรียนรู้ !
 คาถามที่ต้งั ไว้จากความสงสัยในเรื่ องที่อยากรู้ของนักเรี ยนจะ
เป็ นกระตุ้นและช่ วยขับเคลือ่ นการเรียนการสอนรวมถึง
กิจกรรมต่ างๆในชั้นเรียน
 บางครั้งสิ่ งนี้จาเป็ นสาหรับ นักเรียนทั้งชั้นเรี ยน
บางครั้งอาจจาเป็ นสาหรับ นักเรียนแค่เพียงบางคน
(หน้ า 65)
Bob Pearlman (2010)
New tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง Coppell มลรัฐ Texas, USA
นักเรียนเรียนรู้จากการทดสอบสมมติฐาน ทดลองปฏิบัติจริง !
เพื่อค้ นหาคาตอบด้ วยตนเอง โดยมีครู ทาหน้ าที่เพียงให้ คาแนะนา
(หน้ า 65)
Bob Pearlman (2010)
New tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง Coppell มลรัฐ Texas, USA
นักเรียนแต่ ละกลุ่มนาเสนอผลของโครงงานในชั้นเรียน
มีการอภิปรายผล สุดท้ายผลของโครงงานนั้นจะถูกประเมินผลการนาเสนอโดย
เพื่อนในชั้นเรี ยน ผูป้ กครอง รวมถึงคนในชุมชน ที่เข้ามาร่ วมฟัง
(หน้า 49)
Bob Pearlman (2010)
เกรี ยงศักดิ์
เจริ ญวงศักดิ์
(ม.ม.ป.)
ทาไมต้อง e-Learning ?
สมาคมอีเลิร์นนิ่ง
แห่ งประเทศไทย
(2555)






Total cost ที่ต่ากว่า การเรี ยนรู ้ในชั้นเรี ยน 40%
การเรี ยนรู ้ไม่จาเป็ นต้องเรี ยงตามลาดับหรื อเป็ นโปรแกรมแบบเส้นตรง
ประสิ ทธิภาพการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนเพิม่ ขึ้น 30% > การเรี ยนรู ้แบบเดิม
ผูเ้ รี ยน จะเป็ นคนที่มีความสามารถแสวงหาความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
ทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาทางความคิด > การเรี ยนรู ้แบบเดิม
การศึกษาชิ้นหนึ่ง พบว่านักศึกษาทางไกลระบบออนไลน์ (online students) ได้มี
- การติดต่อกับผูเ้ รี ยนคนอื่นๆในชั้นเรี ยน
- เรี ยนรู ้ดว้ ยความสนุก
> ผูเ้ รี ยนที่ได้รับการสอนในชั้น
- ให้เวลาในการทางานในชั้นเรี ยน
เรี ยนแบบเดิมโดยเฉลี่ย 20%
- มีความเข้าใจสื่ อการสอน
- การปฏิบตั ิจริ ง
 การใช้ e-Learning จะเป็ นการเสริ มการเรี ยนการสอนในห้องเรี ยนให้ได้ผลมากยิ่งขึ้น แต่
คงไม่สามารถให้เรี ยนแบบ e-Learning ทั้ง 100%
 ทางออกที่ดีคือน่ าจะเลือกใช้ ประโยชน์ จาก e-Learning เพื่อเติมช่ องว่ างการ เ รี ย น ก า ร
สอนในห้ องเรี ยน และกระตุ้ น การเรี ยนรู้ แบบใหม่ ใ นยุค ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ มี เด็ก เป็ น
ศูนย์ กลางการเรี ยนรู้ ให้ มีคุณภาพมากขึน้
 RSU Cyber U. , เริ่ มเปิ ดปี 49 มีนกั ศึกษาที่จบหลักสู ตรทั้งหมด 126 คน
(หน้ า 44-48)
• มหาวิทยาลัยรังสิ ต (2555), สมาคมอีเลิร์นนิ่งแห่งประเทศไทย
(2555), เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์ (ม.ม.ป.) วิลาวัลย์ มาคุม้ (ม.ม.ป.)
• มหาวิทยาลัยรังสิ ต (2555)
• มหาวิทยาลัยรังสิ ต (2555)
• กานดา ว่องไวลิขิต (2555)
• Qing (2012)
• ศรี เชาวน์ วิหคโต (2555)
• วิลาวัลย์ มาคุม้ (ม.ม.ป.)
• มหาวิทยาลัยรังสิ ต (2555)
(หน้ า 48-58)
Physical environment
Columbus signature academy ตั้งอยูท่ ี่เมือง Columbus มลรัฐ Indiana, USA
แผนผังแสดง
ห้ องการเรียนรู้แบบบูรณาการ
(Integrated Learning Studio)
 มีขนาด 2 เท่า
(หน้า 44)
Bob Pearlman (2010)
New tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง Coppell มลรัฐ Texas, USA
small-group collaboration zones
project rooms
facilitator collaboration areas
single-subject-matter learning environments
dual-subject- matter learning environments
digital media library
large multigroup collaboration zones
แผนผังแสดงพืน้ ทีก่ ารใช้ งาน
(หน้า 46)
Bob Pearlman (2010)
The Metropolitan Regional Career and Technical center ตั้งอยูท่ ี่เมือง
Providence Rhode Island, USA
แผนผังพืน้ ทีอ่ าคารเรียน
 ห้องให้คาปรึ กษา
 ห้องทดลองโครงงาน
 พื้นที่อเนกประสงค์สาหรับ
กิจกรรมทัว่ ไปที่ไม่
เฉพาะเจาะจง
(หน้า 51)
Bob Pearlman (2010)
High tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง San Diego มลรัฐ California, USA
สัญลักษณ์
H
M/S
T
E
C
O
R
W
RR
รายการห้ องต่ างๆ
มนุษย์ศาสตร์ (humanities)
คณิ ตศาสตร์/วิทยาศาสตร์ (math/science)
ห้องพักครู (teacher 's office)
การสารวจ (exploratory)
ห้องประชุม (conference)
สานักงาน (office)
ต้อนรับ (reception)
ห้องทางาน (work room)
ห้องน้ า (rest room)
แผนผังอาคาร
 แสดงลักษณะห้ องเรียนรวมที่ใช้ในวิชาต่างๆจานวน 4 ห้อง ล้อมรอบห้ องสตูดโิ อ สาหรับทา
โครงงานของนักเรี ยนเป็ นกลุ่มย่อย
(หน้า 53)
Bob Pearlman (2010)
Columbus signature academy ตั้งอยูท่ ี่เมือง Columbus มลรัฐ Indiana
ห้ องเรียนสาหรับการเรียนรู้
แบบสหวิทยาการแบบบูรณาการ
(หน้า 44)
Bob Pearlman (2010)
ห้ องให้ คาปรึกษา & ห้ องทา
โครงงาน (The Met)
 มีขนาดใหญ่เป็ น 2 เท่า
ของขนาดห้องในโรงเรี ยนทัว่ ไป
ทีมโครงงาน (New tech high)
 นักเรี ยนแต่ละกลุ่มขณะทางาน
ในห้องเรี ยนที่มีขนาดใหญ่เป็ น
2 เท่าของโรงเรี ยนปกติทวั่ ไป
(หน้า 49, 51)
Bob Pearlman (2010)
New tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง Coppell มลรัฐ Texas
ทีมโครงการนักเรียนกาลังทางานใน
ห้ องสมุดสื่ อดิจิตอลแบบเปิ ดโล่ง
(หน้า 45, 47)
Bob Pearlman (2010)
New line learning academy ตั้งอยูท่ างตอนใต้ของเมือง Maidstone,
มณฑล Kent, สหราชอาณาจักร
“ลานการเรียนรู้ learning plaza”
สามารถจัดปรั บเปลี่ยนให้ เป็ น
 สภาพการเรี ยนรู้แบบรายบุคคล
 สภาพการเรี ยนรู้แบบกลุ่มย่อย
 สภาพการเรี ยนรู้แบบกลุ่มใหญ่
(หน้า 54)
Bob Pearlman (2010)
New line learning academy ตั้งอยูท่ างตอนใต้ของเมือง Maidstone,
มณฑล Kent, สหราชอาณาจักร
“ลานการเรียนรู้ learning plaza”
(หน้า 55)
Bob Pearlman (2010)
New tech high ตั้งอยูท่ ี่เมือง Coppell มลรัฐ Texas, USA
 แยกกันค้นคว้าหาข้อมูล ด้วยเครื่ องมือที่ทนั สมัย
หลังจากการปรึ กษาหารื อเกี่ยวกับโครงงานของกลุ่ม
 พวกเขาจะกลับมารวมกันอีกครั้ง หลังจากที่แต่ละคนได้ขอ้ มูลของตนเองแล้ว
(หน้า 48)
Bob Pearlman (2010)
Miller (2009)
 นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนและการทาวิจยั อย่างกระตือรื อร้น เมื่อนา
เครื่องมือทางเครือข่ ายสังคม (Facebook, Diigo, Google sites, Google docs และ Twitter)
ใช้ร่วมในการเรี ยนการสอน
 และข้อมูลยังสนับสนุนว่าการใช้เครื่ องมือเหล่านี้ สามารถพัฒนาการสื่อสาร การมีส่วนร่ วม
และทักษะการใช้ ดจิ ติ อลในศตวรรษที่ 21 ได้ อีกด้ วย
Hogue (2011)
 ครู ผสู้ อนสังเกตได้วา่ จากเดิมนักเรี ยนที่ไม่ค่อยสนใจเรี ยนกลับมีความกระตือรื อร้นและมีส่วน
ร่ วมในการทาโครงการตลอดกิจกรรม หลังจากนา Application ของเครื่องแอปเปิ ล (Mac)
มาให้ เด็กๆใช้ ร่วมในการเรียนการสอน
(หน้ า 59)
2. กรอบความคิดเพือ่ การวิจัย
เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
แนวคิดหลัก
วิโรจน์ สารรัตนะ (2555)
• คานึงถึง 2 กระบวนทัศน์ที่เป็ นรากฐาน
ของการแสวงหาความรู้ทฤษฎีสงั คมเชิง
วิพากษ์ (critical social theory) และ
ทฤษฎีหลังสมัยใหม่นิยม (theories of
postmodernism)
• คานึงถึง 10 หลักการของผูว้ จิ ยั
• คานึงถึง 10 จรรยาบรรณของผูว้ จิ ยั
• คานึงถึง 10 บทบาทของผูว้ จิ ยั
(หน้ า 74-93)
3. การพัฒนาสภาพแวดล้ อม
การเรียนรู้ ในระดับอาชีวศึกษา
การพัฒนาสภาพแวดล้ อมการเรียนรู้ ในระดับอาชีวศึกษา
1.
2.
3.
4.
5.
แนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับการอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี (หน้ า 94-98)
การให้ความสาคัญกับการจัดการอาชีวศึกษาไทยของภาครัฐ (หน้ า 98-101)
สภาพปัญหาและการผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยีในประเทศไทย (หน้ า 101104)
กรณี ศึกษาเส้นทางการอาชีวศึกษาและเทคโนโลยีของประเทศต่างๆ 7 ประเทศ ได้แก่
ออสเตรเลีย เยอรมัน สหราชอาณาจักรอเมริ กา ญี่ปุ่น เกาหลี และสิ งคโปร์ (หน้ า 104-132)
กรณี ศึกษาโรงเรี ยนอาชีวศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริ กา
 โรงเรี ยนอาชีวศึกษาใน 10 เมืองสาคัญทางเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริ กา Atlanta,
Boston, Chicago, Dallas, Houston, Los Angeles, New York City, Philadelphia,
Phoenix, San Francisco (หน้ า 132-148)
 ตัวอย่างโรงเรี ยนอาชีวศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริ กา 1. ITT Technical Institutes
(ITT) 2. The Peterson School 3. University of Phoenix 4. Triangle Tech (หน้ า 148153)
(หน้ า 94-162)
4. กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเพือ่ การ
วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
(หน้ า 155)
6. บริบทชุมชนและ
บริบทวิทยาลัยเทคโนโลยีพงษ์ ภิญโญ
ข้ อมูลชุมชน
1.
ประธานชุมชน คือ นายคาผ่ าน ทิพย์ นาง
2.
รองประธานชุมชน คือ นางเจือจันทร์ สุ วรรณโชติ
3.
มีคณะกรรมการชุมชนรวมทั้งสิ้นจานวน 24 คน
4.
จานวนครัวเรือนโดยประมาณ 290 หลังคาเรือน
5.
จานวนประชากรโดยประมาณ 1,420 คน
6.
ทิศเหนือจรดกับถนนมะลิวลั ย์ , ทิศใต้ จรดกับ
โรงพยาบาลขอนแก่นราม, ทิศตะวันออกจรดถนน
มิตรภาพ, ทิศตะวันตกจรดกับโรงเรียนบ้ านศรีฐาน
ประวัตโิ ดยสังเขป
เมื่อประมาณ พ.ศ. 2504
คุณยายเป่ ง, คุณยายแพง,
คุณแม่เกี๊ยก พงษ์ภิญโญ,
คุณแม่เจือจันทร์
บริบทวิทยาลัยเทคโนโลยีพงษ์ ภญ
ิ โญ
จัดตั้งขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2526 เดิมมีชื่อว่า “โรงเรี ยนบัณฑิตแก่นนคร”
โรงเรี ยนในขณะนั้นจัดตั้งบนเนื้อที่โดยประมาณ 72 ไร่
ประกอบด้วยอาคารคอนกรี ตชั้นเดียวจานวน 6 หลัง
โดยประมาณ 700-1,000 คน
พ.ศ. 2526
1. ปวช.
เกษตรกรรม
ช่างอุตสาหกรรม
ช่างไฟฟ้ ากาลัง
2. ปวท.
เกษตรกรรม
ธุรกิจการเกษตร
ปี พ.ศ. 2528
1. ปวช. (เพิ่ม)
ช่างยนต์
ช่างก่อสร้าง
บัญชีและบริ การธุรกิจ
สถานพยาบาล
บัญชีและเลขานุการ
บริบทวิทยาลัยเทคโนโลยีพงษ์ ภญ
ิ โญ
พ.ศ. 2539
เปลี่ยนชื่อเป็ น “โรงเรี ยนพงษ์ภิญโญเทคโนโลยี”
บนพื้นที่ 6 ไร่ อาคารขนาด 5 ชั้น 40 ห้องเรี ยน 600 คน
พ.ศ. 2539-2550
ปวช. และ ปวส.
บัญชี
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ช่างไฟฟ้ ากาลัง
พ.ศ. 2550 มีจานวน
นักเรี ยนเหลือไม่ถึง 100 คน
ดร. เสรี เข้ามาบริ หาร
พ.ศ. 2554
เพิ่มขึ้นเป็ น 680 คน
บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย
ผู้ร่วมวิจยั และบทบาทของผู้ร่วมวิจัย
(หน้ า 169)
ขั้นตอนการวิจัย
ขั้นตอน
รายการ
1
การเตรียมการ
(Preparation)
2
การวางแผน
(Planning)
3
การปฏิบัติ (Acting)
4
การสังเกต (Observing)
5
การสะท้ อนผล (Reflecting)
6
การวางแผนใหม่
(Re-Planning)
7
การปฏิบัตใิ หม่ (Re-acting)
8
การสังเกตผลใหม่
(Re-observing)
9
การสะท้ อนผล (Re-reflecting)
10
การสรุปผล (conclusion)
ขั้นตอนย่ อย
(หน้ า 169-173)
วัน/เดือน/ปี
การสร้ างมิตรภาพและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การสร้ างความตระหนักและความเข้ าใจร่ วมกัน
การสร้ างแผนทีก่ ารทางานเพือ่ การวิจยั และการประเมินและสรุป
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 28 ต.ค.55
การวิเคราะห์ สภาพทีเ่ คยเป็ นมาสภาพปัจจุบันและสภาพปัญหา การกาหนดปัญหาและทาความ
เข้ าใจปัญหา การประเมินประเด็นปัญหาทีต่ ้ องการแก้ ไขหรือพัฒนา การวางแผนปฏิบัตกิ าร/
โครงการ/กิจกรรม และการประเมินและสรุป
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 15, 16, 22, 23 ธ.ค.55
การกาหนดแนวปฏิบัติ การปฏิบัตกิ จิ กรรม และการประเมินและสรุป
นาแผนไปปฏิบัติ
ช่ วงเดือน ธ.ค.55– ก.ค.56
การกาหนดรู ปแบบและวิธีการ
การนาเสนอรายงาน และการประเมินและสรุป
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 16 ก.พ.56
การสังเคราะห์ ความรู้ การนาเสนอรายงาน และการประเมินและสรุป
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 6 เม.ย.56
การนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์ และวิพากษ์ การประเมินปัญหาทีต่ ้ องการแก้ ไขหรือพัฒนา
การจัดทาแผนปฏิบัตใิ หม่ และการประเมินและสรุป
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 29 มิ.ย.56
การกาหนดแนวปฏิบัติ การปฏิบัตกิ จิ กรรม และการประเมินและสรุป
นาแผนปฏิบัตกิ ารใหม่ ไปลงมือ
ปฏิบัตใิ นช่ วงเดือน ก.ค.– ก.ย.56
การกาหนดรู ปแบบและวิธีการ การสังเกตและเสนอรายงานผล และขั้นตอนการประเมินและสรุป
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 31 ส.ค.56
การสังเคราะห์ ความรู้ การนาเสนอรายงาน และการประเมินและสรุป
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 14 ก.ย.56
สรุปผลทั้งหมด
ระยะที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบตั ใิ นวัน
ศุกร์ ที่ 21 ก.ย.56 เพือ่ ถอดบทเรียน
, ระยะที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
ในวันที่ 28 ก.ย.56
เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย
กาหนดเครื่ องมือเพื่อใช้ในการวิจยั ตามกรอบแนวคิดของ Mills
(2007) ซึ่งจาแนกเป็ นสามกลุ่ม ดังนี้
1.
แบบสั งเกต (observation form
2.
แบบสั มภาษณ์ เชิงลึก (in-depth interview) และ
เป็ นแบบสั มภาษณ์ กลุ่ม (focus group interview
3.
แบบตรวจสอบหรือบันทึก (examining/records)
ผู้เชี่ยวชาญมีท้งั หมด 6 คน
ด้านหลักสูตร
ด้านการวัดและ
และการเรี ยน
ประเมินผล
การสอน
(หน้ า 173)
การประกัน การบริ หารงาน
การจัดการ คุณภาพภายใน
วิทยาลัย
ศึกษาด้านการ และภายนอก อาชีวศึกษาของ
อาชีวศึกษา
ระดับ
รัฐ หรื อ เอกชน
อาชีวศึกษา
ฯลฯ
การวิเคราะห์ ข้อมูล
ประยุกต์ ใช้ แนวคิดของ อมรา พงศาพิชญ์ (2526) ดังนี้
6.1 จัดทาข้อมูลให้เป็ นหมวดหมู่ต่างๆ โดยแบ่งออกเป็ น 6 สถานการณ์ ดังนี้
6.1.1 การกระทา (acts)
6.1.2 กิจกรรม (activities)
6.1.3 ความหมาย (meaning)
6.1.4 ความสัมพันธ์ (relationship)
6.1.5 การมีส่วนร่ วมในกิจกรรม (participation)
6.1.6 สภาพสังคม (setting)
6.2 จัดแบ่งข้อมูลจากการบันทึกภาคสนาม
6.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
(หน้ า 174-175)
การเขียนรายงานการวิจัย
โดยนารายงานการวิเคราะห์ขอ้ มูลของแต่ละวัตถุประสงค์ของการวิจยั เชิง
ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม โดยนารายงานการวิเคราะห์ขอ้ มูลของแต่ละ
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ที่วเิ คราะห์แล้ว ไปให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ
ช่วยยืนยันตรวจแก้ไขผลการวิเคราะห์ และให้คาแนะนาเพื่อปรับปรุ งรายงาน
ให้ถูกต้องสมบูรณ์มากขึ้น การตรวจสอบข้อมูลจะใช้บุคลากรหลายคนใน
เหตุการณ์ของกิจกรรม
ส่ วนการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่เป็ นเชิงปริ มาณ ผูว้ จิ ยั ก็ใช้ค่าสถิติพ้นื ฐาน คือ ค่า
ร้อยละ และ ค่าเฉลี่ย เพื่อให้เป็ นข้อมูลเพื่อเปรี ยบเทียบกับเป้ าหมาย หรื อแสดง
ให้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
(หน้ า 175-176)
ขอจบการนาเสนอไว้ แต่ เพียงเท่ านี้
กราบขอบพระคุณครับ
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
สิ งคโปร์ (13) ญี่ปุ่น (29) ฮ่องกง (30) มาเลเซี ย (33) และจีน (46)
Institute for Management
Development หรื อ IMD
47/193
อินโดนีเซี ย (55) ฟิ ลิปปิ นส์ (56) และอินเดีย (58)
พ.ศ. 2548-2553 พบว่าสมรรถนะด้านนี้ของไทยลดลงมาโดยตลอด
(หน้า 1)
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
การจัดการอาชีวศึกษาของไทยในปัจจุบนั พบปัญหาที่สาคัญ
(เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์, 2551)
1) ด้านคุณลักษณะของผูส้ าเร็จการศึกษาและด้านมาตรฐานการอาชีวศึกษา
2) ด้านการจัดการเรี ยนการสอน และ ด้านครู ผสู้ อน
3) ด้านความร่ วมมือ
4) ด้านการสนับสนุนของรัฐบาลและด้านการบริ หารจัดการ
5) ด้านค่านิยมการเรี ยนอาชีวศึกษา
(หน้า 5-6)
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ด้ านอาชีวศึกษา สถานศึกษาของรัฐ
1.79%
20.25%
ดีมาก (4.51-5.00)
ดี (3.51-4.5)
77.78%
พอใช้ (2.51-3.5)
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ด้ านอาชีวศึกษา โรงเรียนเอกชน
11.56%
3.23%
3.23%
12.37%
ดีมาก (4.51-5.00)
ดี (3.51-4.50)
พอใช้ (2.51-3.50)
69.61%
ควรปรับปรุ ง (2.01-2.50)
ต้องปรับปรุ ง (1.00-2.00)
1. ประกันคุณภาพ
ภายใน
6. บริหารและการ
จัดการ
(2 ตบช.)
2.คุณภาพของผู้สาเร็จ
การศึกษา
(4 ตบช.)
(4 ตบช.)
ประเมินภายนอกรอบสอง
(48-53)
5. บริการวิชาการและ
วิชาชีพต่ อสังคม ชุมชน
(2 ตบช.)
6 มาตรฐาน 25 ตัวบ่งชี้
4. สร้ างองค์ ความรู้ ของ
อาจารย์ และ นักศึกษา
(3 ตบช.)
3. การจัดการเรียนการ
สอนด้ านอาชีวศึกษา
(10 ตบช.)
1. ผู้เรียนและผู้สาเร็จ
การศึกษาวิชาชีพ
6. ภาวะผู้นาและการ
จัดการ
(3 ตบช.)
(9 ตบช.)
ประเมินภายใน
2.หลักสู ตรและการ
จัดการเรียนการสอน
(10 ตบช.)
6 มาตรฐาน 34
ประเมินรอบสาม (54-58)
(3 กลุ่มตัวบ่งชี้, 18 ตัวบ่งชี้)
5. นวัตกรรมและการวิจยั
ตัวบ่งชี้
(3 ตบช.)
4. การบริการวิชาชีพสู่
สังคม
(5 ตบช.)
(หน้า 8)
3. กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน
(5 ตบช.)
แผนภูมิแสดงเปรี ยบเทียบความต้องการแรงงานและผูส้ มัครงานจาแนกตามระดับการศึกษา เดือนมิถุนายน 2555
ผลการศึกษาวิจยั สภาพปัญหาและการผลิตกาลังคนด้ านอาชีวศึกษา
และเทคโนโลยีของสถานศึกษาและหน่ วยงานต้ นสังกัด (บรรเลง ศรนิล และคณะ, 2548)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
ความพร้ อมในการสนับสนุนด้ านกฎหมายยังมีข้อจากัด
ทิศทางและเป้าหมายการพัฒนากาลังคนโดยรวมไม่ ชัดเจน
มีการขยายสถานศึกษาเร็วเกินไป ทาให้ ได้ รับการสนับสนุนด้ านงบประมาณจากรัฐไม่ เพียงพอ
ครู -อาจารย์ บางสาขามีจานวนน้ อยต้ องรับภาระงานสอนมาก แต่ บางสาขามีจานวนมากเกินความต้ องการ
คุณภาพครู ไม่ สอดคล้ องกับภารกิจ
อัตราการเข้ าออกของครู -อาจารย์ ค่อนข้ างสู ง โดยเฉพาะสถานศึกษาเอกชน
การพัฒนาครู -อาจารย์ ยงั ขาดการสนับสนุนอย่ างจริงจังและต่ อเนื่อง
อัตรากาลังบุคลากรสายสนับสนุนการสอนยังขาดแคลน
ไม่ สามารถเปิ ดหลักสู ตรใหม่ ทเี่ ป็ นความต้ องการได้ อย่ างทันท่ วงที
ผู้เรียนส่ วนหนึ่งมีพนื้ ฐานความรู้ ต่า
ผู้สมัครเข้ าศึกษาต่ อมีแนวโน้ มลดลง
เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ เก่ า ล้ าสมัย เสื่ อมคุณภาพ
อุปกรณ์ สื่ อการเรียนการสอน ขาดแคลน
มีงบประมาณวัสดุฝึกไม่ เพียงพอ ส่ งผลต่ อการเรียน การฝึ กทักษะ
ความร่ วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอนยังมีจากัด
การระดมทรัพยากรการศึกษาจากภาคส่ วนต่ างๆ ไม่ จริงจังและต่ อเนื่อง
การใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ องกับการอาชีวศึกษายังมีจากัด และไม่ มีประสิ ทธิภาพเท่าทีค่ วร
ผู้จบอาชี วศึกษามีความรู้ และทักษะ รวมทั้งคุณลักษณะทีจ่ าเป็ นต่ อการปฏิบัติงานยังไม่ สอดคล้ องกับความต้ องการของสถานประกอบการ
อัตราผู้จบอาชี วศึกษาทีอ่ อกไปทางานยังไม่ สอดคล้ องกับเป้าหมายในการผลิต และการมีงานทาเท่ าทีค่ วร
หน่ วยงานทีร่ ับบุคลากรเข้ าทางานจะเน้ นวุฒิบัตรมากกว่ าทีจ่ ะคานึงถึงสมรรถนะในการปฏิบัติงานจริง
ผลการวิจัยด้ านการสนับสนุนการพัฒนาระบบการอาชี วศึกษายังมีน้อย
สถานศึกษาบางแห่ งยังไม่ ตระหนักในด้ านการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบรองรับการกาหนดมาตรฐานของชาติเกีย่ วกับอาชีพและวิชาชีพยังไม่ ชัดเจน
ปั ญหาสาคัญที่เป็ นอุปสรรคต่อการดาเนิ นงานประกันคุณภาพใน
โรงเรี ยน ได้แก่ บุคลากร และกระบวนการทางาน ซึ่ ง ระเบียบวิธีวิจัย
เชิ งปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม สามารถแก้ไขปั ญหาดังกล่าวได้ตรง
จุด เนื่องจากเน้นการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วน และเน้นการพัฒนา
คน ดังนั้นจึงทาให้บุคลากรเมื่อได้ผา่ นการร่ วมดาเนิ นการวิจยั ด้วย
ระเบียบวิธีวจิ ยั นี้แล้ว จะมีทศั นคติที่ดีต่อระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษา หมายถึง การมีส่วนร่ วมรับผิดชอบในงานประกันคุณ
ภาพเสมือนเป็ นส่ วนหนึ่ งของภาระงานประจาของตนเอง
การวิจยั ทางการบริหารการศึกษา แนวคิดและกรณีศึกษา (วิโรจน์ สารรัตนะ, 2555)
หลักฐานเชิงประจักษ์ ; ปัญหาที่มีความกังวลใจร่ วมกัน
1. ไม่ ได้ รับการรับรองจาก สมศ. รอบสอง
2. ผอ. เชิญวิทยากรเข้ ามาช่ วยแก้ ไขปัญหา สมศ.
ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2555
The Peterson School ที่เมือง Woburn, Westwood, Worcester
Triangle Tech ตั้งอยู่ในเมือง Greensburg, Dubois, Pittsburgh (ตามลาดับ)
Triangle Tech ตั้งอยู่ในเมือง Erie, Sunbury, Bethlehem (ตามลาดับ)
นักเรียนที่ Triangle Tech