โครงการอบรมหลักสูตรวิชา “หลักและวิธีปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง

Download Report

Transcript โครงการอบรมหลักสูตรวิชา “หลักและวิธีปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง

โครงการอบรมหลักสูตร
วิชา “หลักและวิธีปฏิบตั กิ ารจัดซื้อจัดจ้าง
การบริหารสัญญา การตรวจรับพัสดุ ตามข้อบังคับ
สถาบันการบินพลเรือน ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๖”
บรรยายโดย
คุณรวีวลั ย์ แสงจันทร์
ผูอ้ านวยการกลุม่ งานระเบียบว่าด้วยการพัสดุ
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
โทร. ๐๒ ๒๗๓๙๐๒๔ ต่อ ๔๕๕๑-๔๕๕๓
www.gprocurement.go.th
(สงวนลิขสิทธิ์)
1
ข้อบังคับ
สถาบันการบินพลเรือน
ว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๔๖
2
การซื้อ/การจ้าง
และวิธีปฏิบตั ใิ นการซื้อ
หรือจ้าง ตามข้อบังคับฯ
3
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
๑
เจ้าหน้าที่
จัดหหา
๒
ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี
ซื้อ/จ้างทั ่วไป
-ให้จดั ทารายงาน ขอซื้อ/จ้าง (ต้องมีรายการตามข้อ๒๐)
เพื่อขอความเห็นชอบ
ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง
ผูว้ ่าการสบพ.(หรือผูร้ บั มอบ
(ข้อ๒๑)
อานาจ) ก่อนทุกครั้ง
ผูว้ ่าการ สบพ.(ผูร้ บั มอบอานาจ)
พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงาน
ขอซื้อ/จ้าง (ข้อ ๒๒)
ลงนามประกาศสอบราคา/
ประกวดราคา
ลงนามคาสั ่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง(ข้อ ๒๗) 4
๓
เมื่อได้รบั ความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อ/ขอจ้างแล้ว
-ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการจัดหาตามวิธีตา่ งๆ
วิธีตกลงราคา
(ไม่เกิน๒แสน)
(ข้อ ๑๓,๓๒)
วิธีสอบราคา
(เกิน๒แสน-๒ล้าน)
(ข้อ ๑๔,๓๓-๓๖)
วิธีพิเศษ
(เกิน๑ แสนขึ้นไป)
(ซื้อข้อ ๑๗,๕๐-จ้างข้อ ๑๘,๕๑)
วิธีประกวดราคา
เกิน๒ล้านขึ้นไป
(ข้อ ๑๕,๓๗-๔๙)
วิธีกรณีพิเศษ
ไม่จากัดวงเงิน
(ข้อ ๑๙,๕๒)
5
ได้ตวั ผูข้ าย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทาบันทึกรายงาน
๔
ผลการพิจารณาเสนอขออนุมตั ติ อ่ ผูว้ ่าการเพื่อสั ่งการ
(ผ่านหน.แผนกจัดหา)
ผูม้ ีอานาจอนุมตั ใิ ห้สั ่งซื้อ/จ้างได้ตามที่
๕
คณะกรรมการเสนอ (ข้อ๕๓,๕๔,๕๕)
๖
๗
๘
ทาสัญญา/บันทึกข้อตกลง
โดยผูว้ ่าการ(ข้อ ๑๑๔)
ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง
ข้อ ๕๙ , ๖๐
เบิกจ่ายเงิน
บริหารสัญญา/
ข้อตกลง
(แก้ไข(๑๑๘)งด,ลด
ค่าปรับ,ขยายเวลา
(๑๒๑)
-บอกเลิกสัญญา
( ๑๑๙,๑๒๐)
-สั ่งทิ้งงาน
(ข้อ ๑๒๗-๑๒๘) 6
๙
ลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สนิ
ข้อ๑๓๔-๑๓๕
๑๐
ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยังหน่วยของผูใ้ ช้งาน
(เบิก-จ่ายพัสดุ) ข้อ ๑๓๖
๑๑
การบารุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยูใ่ นสภาพที่ดี
สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน
7
การตรวจสอบพัสดุ
๑๒
ประจาปี
(ข้อ๑๓๗-๑๓๘)
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนทุกปี
-ให้ผวู ้ ่าการแต่งตั้งพนักงาน
ซึ่งมิไช่จนท.พัสดุตรวจสอบ
การรับ-จ่ายพัสดุงวด๑ต.ค.
ปี ก่อน-๓๐ก.ย.ปี ปั จจุบนั
-ให้เริ่มตรวจวันทาการแรก
ของเดือนตุลาคมให้แล้ว
เสร็จภายใน๓๐วันทาการ
นับจากตรวจ
หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชารุด /สูญ
หายให้แต่งตั้งคกก.สอบข้อเท็จจริง
๑๓
การจาหน่ายพัสดุ
ข้อ ๑๓๙-๑๔๒
พัสดุใดหมดความ
จาเป็ นใช้งาน
สิ้นเปลือง
ค่าใช้จา่ ยมาก
เสนอหส.ราชการเพื่อสั ่งจาหน่าย
ขาย/ทอดตลาด
แลกเปลี่ยน
โอน
แปรสภาพ/
ทาลาย
8
๑๔
การจาหน่ายเป็ นสูญ
กรณีพสั ดุสูญหายโดยไม่
ปรากฏตัวผูร้ บั ผิดหรือ มีผูร้ บั ผิด
แต่ไม่สามารถชดใช้ได้ หรือพัสดุ
มีอยู่ แต่ไม่อาจจาหน่ายตามข้อ
๑๓๙
-ถ้าซื้อ/ได้มา ไม่เกิน ๕ แสน
ให้ผวู ้ ่าการ อนุมตั จิ าหน่าย
-เกิน ๕แสน-๑ล้านให้ประธาน
กก. สบพ. อนุมตั ิ
-เกินกว่า ๑ ล้าน ให้คกก.อนุมตั ิ
ข้อ ๑๔๓การลงจ่ายออกจาก
บัญชี
เมื่อดาเนินการจาหน่ายตามข้อ
๑๓๙หรือ๑๔๒แล้วให้จา่ ยออก
จากบัญชีคมุ +รายงานผูว้ ่าการ
ข้อ ๑๔๔ กรณีพสั ดุสูญหาย
หรือไม่ควรใช้ ก่อนตรวจสอบ
พัสดุประจาปี
-ให้ดาเนินการตามกม.ที่
เกี่ยวข้องก่อนแล้วจึงจาหน่าย
9
การบริหารงานพัสดุ
ด้านบุคลากร
10
ข้อควรรู ้
ผูม้ ีอานาจ
ดาเนินการจัดหาพัสดุ
มีได้ ๒ กรณี
11
๑
๒
ผูม้ ีอานาจ
ดาเนินการซื้อ/จ้าง
ผูม้ ีอานาจในการ
อนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง
แต่เนื่องจากการจะมอบอานาจให้ตอ่ อายุสญ
ั ญาเป็ นเรือ่ งก่อให้เกิด
ความผูกพันแก่สว่ นราชการผูซ้ ้ ือ/จ้าง นอกเหนือไปจากการปฏิบตั ติ าม
เงื่อนไขของสัญญา ดังนั้น หากประสงค์จะมอบให้ตอ่ อายุสญ
ั ญาได้
ด้วย ก็ให้กาหนดไว้ในหนังสือมอบอานาจให้ชดั เจน
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ)๑๐๐๒/ว ๓๕
ลว.๒๓ส.ค.๒๕๓๒
12
การมอบอานาจตามข้อบังคับนี้ (ข้อ ๖)
ได้แก่
ผูม้ ีอานาจตามข้อบังคับ
และจะมอบอานาจเป็ น
หนังสือต่อไป
ให้แก่ผดู ้ ารงตาแหน่งใด
อีกก็ได้
โดยให้คานึงถึง ระดับตาแหน่ง
/หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ของผูไ้ ด้รบั มอบอานาจเป็ นสาคัญ
•เพื่อความคล่องตัว
•ให้ผวู ้ ่าการมอบอานาจ
ให้แก่
•ผูด้ ารงตาแหน่งรองลง
ไปเป็ นลาดับ
13
•โครงการของสถาบัน /โครงการเงินกู/้ เงิน
ช่วยเหลือ ผูม้ ีอานาจตามข้อบังคับนี้
•จะแต่งตัง้ พนักงานคนหนึ่งทาหน้าที่
ผูอ้ านวยการโครงการ
•และมอบหมายหน้าที่ความ
รับผิดชอบในการดาเนินการตาม
ข้อบังคับนี้เป็ นการเฉพาะ ก็ได้
14
กรณีที่ ๒ “ผูม้ ีอานาจสังซื้
่ อ /สังจ้
่ าง”
เมือ่ หาตัวผูข้ ายหรือรับจ้างได้แล้ว
ให้พิจารณาจากวงเงินที่ได้จากผลชนะราคา ตามวงเงินดังนี้
วงเงินวิธีตกลงราคา/
สอบราคา/ประกวดราคา
(ข้อ ๕๓)ได้แก่
- ผูว้ ่าการไม่เกิน ๕๐ล้าน
- ประธานกรรมการฯ เกิน ๕๐
ไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน
- คณะกรรมการฯเกิน ๑๐๐ ล้าน
วิธีพเิ ศษ(ข้อ ๕๔)ได้แก่
-ผูว้ ่าการฯไม่เกิน ๒๕ ล้าน
-ประธานกรรมการ เกิน ๒๕ แต่
ไม่เกิน ๕๐ ล้าน
-คณะกรรมการ เกิน ๕๐ ล้าน
วิธีกรณีพเิ ศษ (ข้อ ๖๗)
-ผูว้ ่าการ ไม่จากัดวงเงิน
15
ผูม้ ีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุตามระเบียบ
ได้แก่
เจ้าหน้าที่จดั หา
-เจ้าหน้าที่พสั ดุ
-หัวหน้าแผนกจัดหา
-หัวหน้าแผนกพัสดุ
-คณะกรรมการต่าง ๆ
-ผูค้ วบคุมงาน
16
คณะกรรมการต่าง ๆ
การซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง
หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ
ให้ทาหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุกาหนดทุกครั้ง
17
(ข้อ ๒๗) การแต่งตัง้ คณะกรรมการในการจัดหาพัสดุแต่ละวิธี
เพื่อให้ทาหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด
๑. วิธีสอบราคา
๒. วิธีประกวดราคา
- คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
- คณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา
-คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
๓. วิธีพิเศษ
- คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
-หรือ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
๔. วิธี E-Auction
-คกก.พิจารณาผลการประกวดราคาด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์
๔. ทุกวิธี – คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ใช้กบั งานซื้อ/จ้างทาของ
- คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ใช้กบั งานจ้างก่อสร้าง
(มติครม.๖ก.พ.๕๐)-และคณะกก.กาหนดราคากลาง
18
คณะกรรมการแต่ละคณะ มีองค์ประกอบตาม
ข้อ ๒๘ดังนี้
๑.)ประธานกรรมการ๑ คน
๒.) และ กรรมการ อย่างน้อย ๒ คน
 ให้แต่งตัง้ จากพนักงาน
ระดับ ๓ ขึ้นไป
กรณีจาเป็ นอาจแต่งตัง้ ผูม้ ิใช่พนักงานร่วมเป็ นกรรมการก็ได้
การซื้อ/การจ้าง วงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
จะแต่งตัง้ พนักงาน เพียงคนหนึ่งที่มิใช่ ผูจ้ ดั ซื้อจัดจ้าง
โดยให้ปฏิบตั หิ น้าที่เช่นเดียวกับ คกก.ตรวจรับพัสดุ หรือ
ตรวจการจ้างก็ได้
19
การประชุมปรึกษา/ลงมติของคณะกรรมการ (ข้อ ๒๙)
วันลงมติ
ประธาน/และกรรมการ ต้องมาประชุมลงมติ
ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด
การลงมติ
ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน
ให้ประธานออกเสียงเพิ่มขึ้น
อีกหนึ่งเสียงชี้ขาด
เว้นแต่
คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง
ให้ถือมติเอกฉันท์
กรรมการคนใดคนหนึ่ง ที่ไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ
-ให้ทาบันทึกความเห็นแย้งไว้ดว้ ย
20
ผูค้ วบคุมงาน
การจ้างก่อสร้างแต่ละครั้ง ให้ผวู ้ ่าการแต่งตัง้ ผูม้ ี
ความรู ้ /ความชานาญทางด้านช่าง ในงานก่อสร้าง
นั้น ๆ ปกติไม่ต ่ากว่า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
(ปวช.)(ข้อ ๓๐)
พนักงานในสังกัด
กรณีจาเป็ นต้องจ้างที่ปรึกษาเป็ นผูค้ วบคุมงานแทน ให้ถือ
ปฏิบตั ติ ามหมวด ๒ ส่วนที่ ๓ หรือส่วนที่ ๔ แล้วแต่กรณี
21
ข้อควรรู ้
ในการจัดซื้อ/จัดจ้าง
22
การจัดหาพัสดุดา้ นงานก่อสร้าง ทุกวงเงิน
ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดราคากลางทุกครั้ง
เพื่อใช้เปรียบเทียบกับราคาของผูเ้ ข้าเสนอราคา
กวพ.เคยวินิจฉัยไว้ว่า
ราคากลาง หมายถึง ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทาง
ราชการในแต่ละงาน/โครงการ ซึ่งได้จากการประเมิน หรือ
คานวณตามหลักเกณฑ์ และวิธีการตามทีค่ ณะรัฐมนตรีกาหนด
ดังนั้น ราคากลางที่คานวณได้ จึงมิใช่ราคามาตรฐานของ
งานก่อสร้าง แต่เป็ นราคาที่ทางราชการยอมรับได้
(ต่อ)
23
โดยเมื่อนามาเปรียบเทียบราคาของ
ผูป้ ระกอบการที่เข้าเสนอราคาแล้ว
 ไม่สูงจนผูป้ ระกอบกอบการได้กาไรมากเกินกว่า
ที่ควรได้รบั และไม่เป็ นราคาที่ตา่ จนผูป้ ระกอบการ
ไม่สามารถที่จะดาเนินการก่อสร้างได้
หากผลประกวดราคาปรากฏว่า
ราคากลางทีก่ าหนดไว้/ สูงหรือ ตา่ กว่าราคาที่
ประกวดราคาได้ เกิน ๑๕% ขึ้ นไป
ให้ทาบันทึกส่งสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
(หรือ สตง.ภูมิภาค แล้วแต่กรณี)
24
งานก่อสร้าง คืองานอะไร (มติกวพ.ปี ๕๒)
• งานก่อสร้าง หมายถึง งานก่อสร้างตามหลัก
ทั ่วไป ที่มีกม. ระเบียบ /มติครม./ หนังสือเวียน
ที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ เช่น กวพ.แจ้งเวียน /ว
๑๙๓๙ ลว.๒๔ก.พ.๓๗ว่า-งานก่อสร้างหมาย
รวมถึง งานเคลื่อนย้ายอาคาร,งานดัดแปลง/
ปรับปรุง ต่อเติม/ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง ที่หัวหน้า
ส่วนราชการเห็ นว่าจาเป็ นต้องมีผคู ้ วบคุมดูแล
การปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างตลอดเวลา/
• มติครม.ว ๙ลว. ๖กพ๕๐- งานก่อสร้างอาคาร/
ชลประทาน/ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม
• มติครม.ว๑ ลว.๓ ม.ค.๓๗ งานดินที่ไม่มีการดาด
คอนกรีต ได้แก่ถนนลูกรัง/ถนนดิน/งานขุดลอก
คู คลอง สระ หนอง เป็ นงานก่อสร้าง
หลักพิจารณาว่าอะไรเป็ น
งานจ้างก่อสร้าง ได้แก่
 สัญญาซื้อขายที่มีงาน
ก่อสร้าง หรือพร้อมติดตั้ง
โครงสร้างพื้นฐานรวมอยูด่ ว้ ย
 ให้พิจารณาว่า หากมีงาน
ก่อสร้างเป็ นสาระสาคัญ ซึ่ง
ราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่
ติดตั้ง ถือว่า เป็ นงาน
ก่อสร้าง เช่น งานติดตั้ง
สะพานลอยทางเดินข้ามถนน
ก่อสร้างรั้ว
25
การจัดทา TOR
วิธีกาหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ
ที่จะซื้อ/ขอบเขตงานที่จะจ้าง
Specification(Spec)
26
การกาหนดขอบเขตของสิ่งของที่ซ้ ือ/จ้าง(Spec)
หลักการ
** การกาหนดคุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา หรือ ผูเ้ สนองาน และ
รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ซ้ ือหรืองานจ้าง ตลอดจน
การวินิจฉัยตีความคุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา หรือ ผูเ้ สนองาน
แต่ละรายว่าเป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้หรือไม่
** เป็ นอานาจของหน่วยงานที่จด
ั หาพัสดุ สามารถใช้
ดุลยพินิจกาหนดได้ตามความต้องการของหน่วยงาน
แต่ ต้ องอย่ ภู ายใต้ หลักเกณฑ์ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ คาสั่ง
หรื อมติคณะรั ฐมนตรี ที่เกีย่ วข้ องกาหนดไว้
27
มติครม.กำหนดหลักเกณฑ์ การใช้ พสั ดุทผี่ ลิตในประเทศ
1 มติ ครม. 21 เม.ย. 52 - ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ นร 0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52 **
เรื่ อง ข้ อเสนอมาตรการเพือ่ ลดผลกระทบจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ต่ อภาค
อตุ สาหกรรมไทย (การใช้ พสั ดุทผี่ ลิตในประเทศหรื อเป็ นกิจการของคนไทย)
ส่ วนราชการ
เคร่ งครัด
ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้ อ 16
องค์ ปกครอง
รัฐวิสาหกิจและ ขอความร่ วมมือ
ขอความร่ วมมือ
+
ส่ วนท้ องถิ่น
องค์ การมหาชน
มติ ครม. 29 พ.ค. 50 (ว.83)
ระวัง
ไม่ ให้ ขัดหรือแย้ ง กับข้ อตกลงระหว่ างประเทศ
Ex. ข้ อตกลงขององค์การการค้าโลก การประกวดราคานานาชาติ เป็ นต้ น
การกานดSpecถ้ามีสินค้าที่ผลิตในประเทศ
** มติ ครม. 29 พ.ค. 50 - ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50 **
1. การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ
-ให้หน่วยงานของรัฐใช้พสั ดุท่ีผลิตในประเทศ และถือปฏิบตั ติ าม
ระเบียบหรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของหน่วยงานผูด้ าเนินการ
ในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด
พัสดุท่ีผลิตในประเทศ หมายความว่า .......
** ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสาเร็จรูปแล้ว โดยสถานที่ผลิตตั้งอยูใ่ น
ประเทศไทย
** หมายความรวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการประกอบหรือขึ้นรูป
ในประเทศไทยด้วย (ตรวจสอบจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรม)
29
หลักเกณฑ์การใช้พสั ดุที่ผลิตในประเทศ
ระเบียบพัสดฯุ ข้ อ 11
ห้ ามกาหนด Spec. กีดกัน
ให้ ส่วนราชการใช้ พสั ดทุ ผี่ ลิตในประเทศ ผ้ ผู ลิต/ผ้ ขู ายพัสดุทผี่ ลิตในประเทศ
หรื อเป็ นกิจการของคนไทย 11(1))
หรื อเป็ นกิจการของคนไทย
พัสดุท่ีตอ้ งการ
ซื้อ/จ้าง
มีผ้ ไู ด้ รับการจดทะเบียน
ผลิตภัณฑ์ ให้ กาหนด Spec.
หรื อรายการในการก่อสร้ าง
ให้ สอดคล้ องกับค่ มู ือผ้ ซู ื้อ หรื อ
ใบแทรกค่ มู ือผ้ ซู ื้อ (11(3))
มีประกาศ มอก.
ให้ กาหนด Spec. หรื อรายการในการ
ก่อสร้ างตามมาตรฐาน มอก. หรื อ
ระบุเฉพาะหมายเลข มอก. ก็ได้ (11(2))
จาเป็ นต้ องกาหนดแตกต่ าง ให้ แจ้ ง สมอ. (11(4))
กรณีไม่มีผไู ้ ด้รบั มอก./ ISO/
หรือไม่มีการจดทะเบียน เลย
ให้ระบุSpec ได้ตาม
ความต้องการ ของหน่วยงาน
แต่ตอ้ งแจ้งให้ผเู ้ สนอราคา
ระบุแหล่งกาเนิด /ประเทศ
ผูผ้ ลิตสิ่งของที่เข้ามาเสนอ
ราคาด้วย เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์
พิจารณา ตามข้อ ๑๑ (๑๑)
ข้อห้าม
ห้ามระบุว่าสินค้าที่
เสนอราคาต้องผลิต
ในทวีปยุโรปหรือ
อเมริกา เป็ นต้น
31
พัสดุที่ได้มาตรฐานมอก. / ISO /ผลิตภัณฑ์จดทะเบียน
หาดูได้ใน websiteของสมอ.
ISO
9001:2000
มาตรฐาน
มอก.
ผลิตภัณฑ์
จดทะเบียน
หาดูได้จาก บัญชีค่ม
ู ือผูซ้ ้ ือ หรือใบแทรกคู่มือผูซ้ ้ ือ
ที่กระทรวงอุตสาหกรรม(สมอ.)จัดทาขึ้น
ถึงเดือนก่อนหน้าที่จะประกาศซื้อหรือจ้าง
32
www.tisi.go.th
หาประกาศ มอก.
หาผลิตภัณฑ์จดทะเบียน
หาผูไ้ ด้รับอนุญาต มอก.
หา ISO
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)
ตัวอย่าง มาตรฐาน มอก.
** ประเภทบังคับ **
มอก. 30-2542 ไนทรัสออกไซด์
ทีใ่ ช้ ในการแพทย์
มอก. 531-2546 ภาชนะพลาสติก
สาหรับบรรจุผลิตภัณฑ์ เภสั ช
ปราศจากเชื้อ
มอก. 539-2546 คาร์ บอนไดออกไซด์
การแพทย์
มอก. 540-2545 ออกซิเจนการแพทย์
** ประเภทไม่ บังคับ **
มอก. 29-2545 สบู่ถูตวั
มอก. 41-2548 กรดซัลฟุริกเข้ มข้ น
และโอเลียมสาหรับใช้ ในทาง
อุตสาหกรรม
มอก. 56-2533 นา้ ตาลทราย
มอก. 152-2539 เครื่องสาอาง :
ข้ อกาหนดทัว่ ไป
34
โรงงานที่ได้รบั การรับรองระบบคุณภาพ
ความหมาย :
โรงงานที่ได้รบั การรับรองระบบคุณภาพ
ตามมาตรฐานเลขที่ มอก. 9001 หรือ มอก. 9002 ในกิจการและขอบข่าย
ที่ได้รบั การรับรองจาก
1. สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ
2. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ หรือ
3. หน่วยงานที่กระทรวงอุตสาหกรรมให้การรับรองระบบงาน
(Accreditation)
โรงงานที่ได้รบั การรับรองระบบคุณภาพ
มติคณะรัฐมนตรี
27 มิถุนายน 2538
ให้คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับรองระบบงาน
( National Accreditation Council : NAC )
มีอานาจหน้าที่หลักในการกาหนดนโยบายและกากับดูแลให้การดาเนินการ
ด้านการรับรองระบบงานด้านการมาตรฐานให้สอดคล้องกับระบบสากล และ
** พิจารณาการรับรองระบบงานแก่หน่วยรับรองและหน่วยตรวจ **
โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ
** รายชื่อหน่ วยงานที่ได้ รับการรับรอง : สาขาการรับรองระบบคุณภาพ
มอก. 9001 หรือ ISO 9001
หน่วยรับรอง (Certification Body - CB)
1. บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จากัด
2. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
3. บริษัท เอเจเอ รีจีสตร้ าส์ จากัด
4. บริษัท โกลบอล เซอร์ ติฟิเคชั่น เซอร์ วสิ จากัด
5. บริษัท ทูฟ นอร์ ด (ประเทศไทย) จากัด
6. บริษัท บูโร เวอริทสั เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จากัด
7. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ งประเทศไทย
8. บริษัท ทียูวี ไรน์ แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด
9. บริษัท ไทยประเมินรับรองสากล จากัด
โรงงานที่ได้รบั การรับรองระบบคุณภาพ
การได้รบั การรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ
กรณีที่ Accreditation Certification
การได้รบั การรับรองจาก CB ที่ได้รบ
ั รองความสามารถ
กขค
การรับรอง
เครื่องหมายรับรอง เครื่ องหมายรับรอง
ของ CB
ของ NAC
Ex.
บริษทั ABC จากัด
ได้รบั การรับรอง
มาตรฐาน ISO 9001:2000
ความหมาย : บริษัท ABC จากัด จัดทาระบบ
บริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และผ่ านการ
ตรวจสอบและรับรองจาก CB กขค โดย CB กขค
ได้ รับการรับรองความสามารถจาก NAC
ผลิตภัณฑ์จดทะเบียน
** มติคณะรัฐมนตรี 9 มิถุนายน 2513 **
รัฐบาลจะเป็ นผูน้ าและสนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์
ที่ผลิตภายในประเทศ
โดยกาหนดระเบียบปฏิบตั ใิ ห้หน่วยราชการ
และรัฐวิสาหกิจใช้ผลิตภัณฑ์ในประเทศที่มีคณ
ุ ภาพ
ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมกาหนดและมีราคาที่เหมาะสม”
การกาหนดSpec และการตัดสินผูช้ นะราคากรณี
เป็ นพัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย (ข้อ11)
ข้ อ
11 (5) วรรค 1
11 (5) วรรค 2
11 (6) วรรค 3
11 (6) วรรค 1
11 (6) วรรค 3
11 (6) วรรค 2
11 (6) วรรค 3
การกาหนด TOR
มอก.
จด
+ มอก. ISO
Spec.
ความต้ องการพัสดุ
ทะเบียน
ISO
11(2) / (3)
11 (5) – (11)
3
3
3
3
3
3
สิทธิ
ตาม มอก.
เฉพาะที่แสดง
มอก. + ISO +
ทาในประเทศไทย
แข่ งกันเอง
ตาม มอก.
เฉพาะที่แสดง
มอก. / ISO +
ทาในประเทศไทย
มอก. + ISO ที่เสนอราคาตา่ สุ ด
ได้ สิทธิ + 5 %
+3%
ตาม มอก.
เฉพาะที่แสดง
มอก.+
ทาในประเทศไทย
มอก. + ISO ที่เสนอราคาตา่ สุ ด
ได้ สิทธิ + 5 %
+3%
(ตาม มอก.)
เฉพาะที่ได้ ISO +
ทาในประเทศไทย
มอก. + ISO ที่เสนอราคาตา่ สุ ด
ได้ สิทธิ + 5 %
+3%
การกาหนดSpec และการตัดสินผูช้ นะราคากรณี
เป็ นพัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย (ข้อ11)
ข้ อ
มอก.
จด
มอก. ISO
+ ISO
ทะเบียน
11 (7) วรรค 1 และ 3
11 (7) วรรค 2 (ก)
11 (7) วรรค 1 และ
11 (7) วรรค 2 (ข)
11 (8) วรรค 1 และ
11 (8) วรรค 2
11(11)
3
3
-

-
-
 
การกาหนด TOR
สิทธิ
Spec.
ความต้ องการพัสดุ
16(2) / (3)
16 (5) – (11)
ตาม มอก.
(ก) มอก. + ISO
เฉพาะทีท่ า
ตาม มอก.
ได้ สิทธิ + 10 %
+7%
ในประเทศไทย
(ตาม มอก.)
กรณี (ก) ไม่ ได้ ผล มอก. / ISO
ได้ สิทธิ + 7 %
+5%
สอดคล้อง
กับคู่มือผู้ซื้อ
หรือ

ใบแทรกฯ

ตามความ
ต้ องการ
เฉพาะที่ทา
ในประเทศไทย
ระบุแหล่งกาเนิด/
ประเทศที่ผลิต
จดทะเบียนที่เสนอราคาตา่ สุ ด
ได้ สิทธิ + 7 %
+5%
กาเนิด / ผลิตในประเทศ
ได้ สิทธิ + 5 %
+3%
ข้ อ
11(5) วรรค 1
11 (5) วรรค 2 และ
11 (6) วรรค 3
11 (6) วรรค 1 และ
11 (6) วรรค 3
11 (6) วรรค 2 และ
11 (6) วรรค 3
11 (7) วรรค 1 และ16
(7) วรรค 2 (ก)
11 (7) วรรค 1 และ
11 (7) วรรค 2 (ข)
11 (8) วรรค 1 และ
11 (8) วรรค 2
11 (11)
มอก.
+ ISO
มอก.
ISO
จด
ทะเบียน
3
3
3
3
3
3
3
3
บริษทั
ก.
บริษทั
ข.
บริษทั
ค.
บริษทั
ง.
มอก.
+ ISO
มอก.
+ ISO
มอก.
+ ISO
มอก.
+ ISO
มอก.
+ ISO
มอก.
(ขอ ISO)
ISO
(ขอ มอก.)
มอก.
+ ISO
มอก.
มอก.
ISO
มอก.
มอก.
ISO
ISO
ISO
มอก.
+ ISO
มอก.
ISO
3
-
-
-











กรณีการซื้อพัสดุจากต่างประเทศ(มติครม.กาหนดว่า)
กรณีตอ่ ไปนี้ ให้เสนอรัฐมนตรี
พิจารณา*
๑.ถ้ามีพสั ดุที่ผลิตในประเทศ แต่ไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการในประเทศ หรือมีนอ้ ยราย
๒. จาเป็ นต้องใช้พสั ดุที่ผลิตจากต่างประเทศ
หรือจะต้องนาเข้าจากต่างประเทศในกรณี
เป็ นประโยชน์ยงิ่ กว่า
43
การซื้อพัสดุจากต่างประเทศ (ต่อ)
มติครม. ยกเว้น
1 การจัดหาที่มีวงเงินไม่สูง ให้เป็ นอานาจของ
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ที่จะพิจารณาอนุ มตั ไิ ด้ 2 กรณี ดังนี้
1) เป็ นการจัดหาอะไหล่ ที่จาเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ คุณลักษณะ
เฉพาะและ จาเป็ นต้องนาเข้าจากต่างประเทศ
2) เป็ นการจัดหาที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท หรือ ราคาพัสดุท่ี
นาเข้าจากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 2 ล้านบาท
2. การใช้พสั ดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือนาเข้าจากต่างประเทศ
หมายถึง การใช้ หรือ การนาเข้าพัสดุท่ีผลิตสาเร็จรูปแล้ว จาก
ต่างประเทศไม่ว่าจะนาเข้าโดยคู่สญ
ั ญาหรือบุคคลอื่นใด
44
วิธีการกาหนด(Spec) ของสิ่งของหรือยี่หอ้ สิ่งของ
ในงานซื้อ(ห้ามล๊อกสเปค)
มติ ครม. ตามหนังสือที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12
และ
ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19
คุณลักษณะเฉพาะของสิ่ งของ
*** ห้ าม ***
1. กาหนดให้ใกล้เคียงกับยี่หอ้ ใดยี่หอ้ หนึ่ง
2. ระบุย่ีหอ้ สิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มีขอ้ ยกเว้นไว้ เช่น
ยารักษาโรค เครือ่ งอะไหล่ เป็ นต้น
45
วิธีการกาหนด(Spec)
ของสิ่งของหรือยี่หอ้ สิ่งของในงานก่อสร้าง
มติ ครม. 23 มี.ค. 20
(ที่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20)
การกาหนดรายการในการก่อสร้าง
1. ถ้ามี มอก. หรือ
2. กรณียงั ไม่มีมาตรฐาน ถ้าส่วนราชการ กระทรวงอุตสาหกรรม
จาเป็ นต้องใช้ส่ ิงของที่เห็ นว่ามีคุณภาพดี รับรองแล้ว หรือ
เป็ นที่นิยมใช้ในขณะนัน้ ต้องระบุให้มาก มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น
เปิ ดกว้าง มากยี่หอ้ ที่สุดเท่าที่จะสามารถ กาหนดไว้ก็ให้ระบุตาม
้
มาตรฐานนั
น
ได้
ตามความ
ระบุได้ และสิ่งของที่มีคุณภาพเทียบเท่า
จาเป็ น
กันก็ให้ใช้ได้ดว้ ย
46
การกาหนดSpec เรือ่ งงานก่อสร้าง
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๖ มิ.ย.๒๕๒๑
หนังสือสานักเลขาครม. ด่วนมาก ที่ สร ๐๒๐๓
/ ว ๘๐ ลว. ๘ มิ.ย. ๒๕๒๑ กาหนดมาตรการป้องกัน
หรือลดโอกาสการสมยอมกันในการเสนอราคาที่
เกี่ยวข้องกับงานจ้างก่อสร้างไว้ดงั นี้
๑. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เป็ นผูก้ าหนด
แบบบัญชีรายการก่อสร้าง เพื่อให้ผเู ้ สนอราคากรอกปริมาณวัสดุ
และราคา และเพื่อตรวจสอบเปรียบเทียบกับราคากลาง
47
๒.ให้กาหนดระยะเวลาการก่อสร้างไว้ในเอกสารประกวดราคา
๓.งานก่อสร้างวงเงิน ๑ ล้านบาทขึ้นไป
ต้องกาหนดให้ผเู ้ สนอราคาต้องเป็ นนิตบิ ุคคล
๔.ผูเ้ สนอราคาต้องมีวัตถุประสงค์ในการรับจ้างก่อสร้าง
๕.ให้กาหนดระยะเวลาการก่อสร้างไว้ในเอกสารประกวดราคา
๖.ให้แบ่งงวดงาน การจ่ายเงินให้สมั พันธ์กนั และต้องกาหนด
ไว้ในเอกสารประกวดราคาด้วย
๗.ไม่กาหนดราคาขายแบบรูปรายการในอัตราร้อยละของ
ราคากลาง หรือวงเงินงบประมาณ และให้ขาย ณ หน่วยงาน
ต้นสังกัด/หรือหน่วยงานย่อยที่มีการก่อสร้าง ก็ให้กระทาได้
48
๘.สถานที่ขายแบบต้องสามารถติดต่อได้สะดวก
ไม่เป็ นเขตหวงห้าม
๙.เตรียมแบบรูปรายการไว้ให้มากเพียงพอกับผูซ้ ้ ือแบบ
๑๐.เปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีคุณสมบัตซิ ้ ือแบบได้เท่าเทียมกัน
๑๑.ถ้าผูเ้ สนอราคาผิดเงื่อนไขที่มิใช่สาระสาคัญ ให้พิจารณา
ผ่อนปรน ไม่ตดั รายนัน้ ออก
๑๒.การพิจารณาราคารวม ให้พิจารณาราคาต่อหน่วยของ
แต่ละรายการ ว่าเหมาะสมหรือไม่ดว้ ย
๑๓.ถ้ามีการสมยอมกันในการเสนอราคา ให้ยกเลิกการ
ประกวดราคา
49
มติคณะรัฐมนตรี (๒๘ ธ.ค.๒๕๓๖)
หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ด่วนมาก ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๑ ลว. ๓ ม.ค.๒๕๓๗
๑.กรณีการประกวดราคามิได้กาหนดงวดงานไว้ ให้กาหนด
เงื่อนไขในสัญญาจ้างให้ผรู ้ บั จ้างจะต้องเสนอแผนการทางานด้วย
๒.กาหนดให้มีการประกันความชารุดบกพร่องของงานก่อสร้าง
ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ปี ยกเว้น ถนนลูกรัง ถนนดิน งานขุดลอกคู
คลอง สระ หนอง ซึ่งเป็ นงานดินไม่มีดาดคอนกรีต
๓.กรณีจาเป็ นต้องกาหนดผลงาน ให้กาหนดได้ไม่เกิน
ร้อยละ ๕๐ของวงเงินที่จะจ้างในครัง้ นัน้
50
การกาหนดSpecเกี่ยวกับรายละเอียดงานดินถม
งานดินตัก และฐานรากในการจ้างก่อสร้าง
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี
ที่ นร(กวพ) ๑๒๐๔/ว๑๑๕๔๒ ลว ๒ ธ.ค.๒๕๓๙
ก่อนเริ่มดาเนินการจัดจ้างตามระเบียบ
๑.ให้ส่วนราชการสารวจสภาพดินในสถานที่ก่อสร้าง เพื่อ
กาหนดแบบรูป/รายการละเอียดในงานฐานรากให้แน่นอน
ชัดเจนเสียก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัน้ -ยาวของเสาเข็ม
๒.ให้ส่วนราชการสารวจ ตรวจสอบกาหนดปริมาณดินถม
งานดินตัก ในแบบรูปรายละเอียด ให้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง
51
การกาหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก และ
ฐานรากในการจ้างก่อสร้าง (ต่อ)
๓. กรณีไม่อาจการกาหนดแบบรูปและรายละเอียดของงาน
ฐานรากได้แน่นอน จาเป็ นต้องให้มีทางเลือกในการ
เปลี่ยนแปลงฐานราก
-ให้กาหนดเงื่อนไขไว้ในชัน้ เสนอราคาในส่วนต่างๆให้ชัดเจน
ตัง้ แต่ตน้ และระบุไว้ในสัญญาด้วย เช่น ต้องตอกเสาเข็ม
หรือใช้ฐานแผ่ ขนาดความสัน้ -ยาวของเสาเข็ม
๔. หากระหว่างดาเนินการตามสัญญา มีความจาเป็ นต้อง
เปลี่ยนแปลงฐานราก ให้แก้ไขสัญญา ตามระเบียบฯพัสดุ
โดยตกลงในเรือ่ งเนื้องาน ที่เปลี่ยนแปลง และราคาค่าจ้าง
รวมทัง้ ระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลงพร้อมกันไปด้วย
52
การกาหนด Spec เกี่ยวกับคุณสมบัตขิ อง
ผูเ้ ข้าเสนอราคาในเรื่องผลงานงานก่อสร้าง ตามมติคณะรัฐมนตรี
ด่วนมาก ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๑ ลว.๓ ม.ค.๒๕๓๗และมีส.เวียน นร
(กวพ)1204/ว11441 ลว.28 พ.ย.39ซ้อมความเข้าใจว่า
กรณีกาหนดผลงาน งานก่อสร้ าง
๑.ต้องเป็ นผลงานในสัญญาเดียวเท่านัน้
๒.เป็ นผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้างคือ
เป็ นผลงานที่ใช้เทคนิคในการดาเนินการเหมือนกัน
๓.เป็ นผลงานที่ผรู ้ บั จ้างได้ทางานแล้วเสร็จตามสัญญที่ได้มีการส่งมอบงาน
และตรวจรับเรียบร้อยแล้ว
๔. ต้องเป็ นผลงานที่กระทาสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิ สาหกิจหรื อเอกชน
ซึ่งเป็ นผูว้ ่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจากการรับจ้างช่วง
53
ข้อห้าม กาหนดคุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคาในลักษณะดังนี้
(หนังสือสานักนายกฯ ที่นร(กวพ)๑๓๐๕/ว ๗๙๑๔ ลว.๒๒ ก.ย. ๒๕๔๓)
๑. จะต้องเป็ นนิตบิ ุคคลที่มีทุนจดทะเบียนจานวนหนึ่ง
๒.จะต้องมีผลประกอบการเป็ นกาไร
๓.จะต้องมีบุคลากร หรือมีเครื่องมือเครือ่ งจักรอยูก่ ่อน หรือขณะ
เข้าเสนอราคา
๔.จะต้องมีหนังสือรับรองทางการเงินจากสถาบันการเงินมาแสดง
ตั้งแต่ขณะเสนอราคา
เป็ นต้น เนื่องจากเป็ นการกาหนดเงื่อนไขที่ไม่เป็ นธรรม กีดกัน
หรือช่วยเหลือผูเ้ ข้าเสนอราคาบางราย
54
กรณีที่เป็ นงานซื้อ / จ้าง ทั่วไป
ไม่มีเรือ่ งการให้ตอ้ งกาหนดผลงานผูเ้ สนอราคา
หากจาเป็ นต้องกาหนด ก็เป็ นดุลยพินิจของส่วนราชการที่จะ
อนุ โลมนาหลักเกณฑ์ของงานก่อสร้างมาใช้ได้
กล่าวคือ
กาหนดผลงานได้ไม่เกิน ๕๐% ของวงเงินงบประมาณ
(แนววินิจฉัยของ กวพ.)
55
การกาหนด Spec ของผูเ้ สนอราคางานก่อสร้าง
ที่เป็ น “กรณีกิจการร่วมค้า”
 จดทะเบียน
o คุณสมบัตคิ รบถ้วนตามเงื่อนไข
o คุณสมบัตดิ า้ นผลงานก่อสร้าง ..... ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่วมค้าได้
 ไม่จดทะเบียน
ส.เวียนสานักนายกฯ
o คุณสมบัตทิ ุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข
นร(กวพ)1305/ว
o ข้อยกเว้น
2457 ลว.
• ตกลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
16 มี.ค.43
• ให้ใครเป็ นผูร้ บั ชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐาน
พร้อมซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค
•ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่วมค้าหลักได้
56
การซื้อ/จ้าง
แต่ละวิธี
57
ความหมายของงานซื้อ และงานจ้าง
(ข้อบังคับ ข้อ ๕)
การซื้อ หมายความว่า
ซื้อพัสดุ ทั้งที่มีการติดตัง้
ทดลอง และบริการที่
เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ
การจ้าง หมายความว่า
การจ้างทาของ/การรับขน/
การจ้างเหมาบริการ
การจ้างก่อสร้าง
58
งานก่อสร้าง คืออะไร (มติกวพ.ปี ๕๒)
• งานก่อสร้าง หมายถึง งานก่อสร้างตามหลัก
ทั ่วไป ที่มีกม. ระเบียบ /มติครม./
หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ เช่น กวพ.
แจ้งเวียน /ว ๑๙๓๙ ลว.๒๔ก.พ.๓๗ว่า-งาน
ก่อสร้างหมายรวมถึงงานเคลื่อนย้ายอาคาร,
งานดัดแปลง/ปรับปรุง ต่อเติม/ซ่อมแซม
อาคาร ที่หัวหน้าส่วนราชการเห็ นว่าจาเป็ น
จะต้องมีผคู ้ วบคุมดูแลการปฏิบตั งิ านของผู ้
รับจ้างตลอดเวลา/มติครม.ว ๙ลว. ๖กพ๕๐งานก่อสร้างอาคาร/ชลประทาน/ทาง/ มติ
ครม.ว๑ ลว.๓ ม.ค.๓๗ งานดินที่ไม่มีการดาด
คอนกรีต ได้แก่ งานขุดลอกคู คลอง สระ
หนอง บึง เป็ นงานก่อสร้าง
หลักพิจารณาว่าอะไรเป็ น
งานจ้างก่อสร้าง ได้แก่
 สัญญาซื้อขายที่มีงาน
ก่อสร้าง หรือพร้อมติดตั้ง
โครงสร้างพื้นฐานรวมอยูด่ ว้ ย
 ให้พิจารณาว่า หากมี
งานก่อสร้างเป็ นสาระสาคัญ
ซึ่งราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่
ติดตั้ง ถือว่า เป็ นงานก่อสร้าง
เช่น งานติดตั้งสะพานลอย
ทางเดินข้ามถนน ก่อสร้างรั้ว
59
การซื้อ / การจ้าง มี ๖ วิธี
ขึ้นอยูก่ บั วงเงิน และเงื่อนไขของแต่ละวิธี
ข้อ ๑๓ วิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน ๒แสนบาท
ข้อ ๑๔ วิธีสอบราคา
วงเงินเกิน ๒แสน-๒ ล้านบาท
ข้อ ๑๕ วิธีประกวดราคา วงเงินเกิน ๒ล้านบาทขึ้นไป
ข้อ ๑๗ ชื้อโดยวิธีพิเศษ
วงเงินเกิน ๒ แสนบาทขึ้นไป
ข้อ ๑๘ จ้างโดยวิธีพิเศษ
- แต่มีเงื่อนไข
ข้อ ๑๙ วิธีกรณีพิเศษ
-ไม่กาหนดวงเงิน
(ระเบียบฯ 49วิธีประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ วงเงินตัง้ แต่ ๒
ล้านขึ้นไป )
60
ข้อห้าม
แบ่งซื้อ หรือ แบ่งจ้าง
61
หลักการชื้อ/จ้างตามระเบียบ ข้อ ๑๖
(ข้อ ๑๖ วรรคแรก)การซื้อ
ผูส้ ั ่งซื้อ-สั ่งจ้าง จะสั ่งให้ทา
หรือจ้าง โดยวิธีตกลงราคา
โดยวิธีที่สูงกว่าก็ได้
หรือ สอบราคา
ข้อห้ามแบ่งซื้อ หรือ แบ่งจ้าง/ให้พิจารณาขณะดาเนินการ
-หากมีเจตนา ที่จะลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจะจ้าง
ในครั้งเดียวกันให้ต ่าลงเพื่อเปลี่ยนแปลง
๑) วิธีจดั หา ตามข้อ ๑๔ และ ๑๕ ให้ลดลง
๒) หรือให้ผมู ้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง เปลี่ยนแปลงไป
ยกเว้น การซื้อ/จ้างที่ใช้เงินกูห้ รือเงินช่วยเหลือ ผูส้ ั ่งซื้อ/จ้าง
จะให้ทาตามที่สญ
ั ญานั้น ๆกาหนดก็ได้
62
เหตุที่หา้ มแบ่งซื้อ /แบ่งจ้าง
เนื่องจากการจัดหาพัสดุคราวละจานวนมาก ทาให้มีการ
แข่งขันราคาอย่างเสรี /ราชการได้ประโยชน์สูงสุด
• (มตืกวพ.มื.ย.๓๑)
การแบ่งซื้อ หรือแบ่งจ้าง หมายความถึง
การซื้อ/การจ้าง ที่มีลักษณะพัสดุประเภทเดียวกัน
มีความต้องการในการใช้พสั ดุในระยะเวลาเดียวกัน
“ก็ควรดาเนินการจัดหาในคราวเดียวกัน”
63
การแบ่งซื้อ พัสดุประเภทเดียวกัน
• (มติกวพ.ก.ย. ๔๗) หน่วยงานราชการ จัดซื้อ เครื่องมือ-วัสดุ
การแพทย์ หรือการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิไช่ยา ได้แยกจัดซื้อ
หลายครั้ง
• แนวปฏิบตั ิ
• เมื่อเป็ นพัสดุประเภท ชนิดเดียวกัน แม้จะต่างขนาดและ
ต่างราคากันก็ตาม เมื่อมีการประมาณความต้องการ ในการใช้งาน
ของทั้งปี แล้ว จึงต้องจัดซื้อรวมกันในครั้งเดียว
• ข้อยกเว้น
• หน่วยงาน จะมีเหตุผลโดยชัดเจนที่ทาให้ตอ้ งดาเนินการ
แยกซื้อ
64
ในกรณีการรวมจัดซื้อพัสดุประเภทเดียวกัน
• วิธีปฏิบตั ิ (๑) กรณีพสั ดุที่จดั ซื้อ เป็ นประเภทชนิดเดียวกันแม้ตา่ ง
ขนาด ต่างราคากัน ควรรวมการจัดซื้อในคราวเดียวกัน
• หากความต้องการใช้งานรวมทั้งปี มีวงเงินเกินกว่า ๑๐๐.๐๐๐
บาทแล้ว หน่วยงานก็จะต้องดาเนินการสอบราคาหรือประกวดราคา
วิธีปฏิบตั ิ(๒) เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ทั้งใน
การเก็บรักษา หรือควบคุมคุณภาพและปริมาณของพัสดุที่จดั ซื้อ
• หน่วยงานสามารถกาหนดเงื่อนไขการจัดซื้อ โดยใช้สญ
ั ญาจะซื้อจะ
ขายแบบราคาคงที่ไม่จากัดปริมาณ เพื่อออกใบสั ่งซื้อเป็ นคราว ๆ
ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานจริง ของแต่ละช่วงเวลาได้
65
ลักษณะของ สัญญาจะซื้อจะขายแบบ
ราคาคงที่ไม่จากัดปริมาณ
เป็ นสัญญาที่กวพ.กาหนดขึ้นมา เพื่อใช้กบั การซื้อขาย
ที่มีราคาพัสดุตอ่ หน่วยที่คงที่ แน่นอนตลอดอายุสญ
ั ญา
แต่การจัดซื้อตามสัญญา ผูซ้ ้ ือจะทะยอยการสั ่งซื้อตาม
ความต้องการของผูซ้ ้ ือ/ผูข้ ายสัญญาว่าจะเตรียมพัสดุ
ไว้ให้เพียงพอตามจานวนที่ได้ประมาณการไว้ในสัญญา
โดยมีวงเงินตามสัญญา ประมาณไว้ไม่เกินกว่าวงเงิน
ที่ดาเนินการจัดหาในครั้งนั้น
66
ข้อควรรูเ้ งินงบประมาณที่แยกออกเป็ น แต่ละรายการ
ไม่ถือว่าแบ่งซื้อ /แบ่งจ้าง.
• ส่วนราชการได้รบั การจัดสรรเงินงบประมาณ โครงการจ้างก่อสร้าง
อาคาร ซึ่งมีหลายอาคาร โดยเงินระบุจาแนกเป็ นรายอาคาร
• ถือว่า เงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารของแต่ละอาคารแยกออก
จากกัน การดาเนินการจัดจ้างก่อสร้างอาคาร สามารถดาเนินการ
ได้ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดดังนี้
1. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละอาคาร
2. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละกลุม่ อาคาร
3. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละหลายกลุม่ อาคาร
4. ประกวดราคาครั้งเดียวกันทุกอาคาร
67
ข้อปฏิบตั ิ
(ระเบียบฯ ข้อ ๒๐)
ก่อนการจัดหาพัสดุแต่ละวิธี
ให้เจ้าหน้าที่จดั หา จัดทารายงานขอ
ซื้อ/ ขอจ้างเสนอขอความเห็ นชอบต่อ
ผูว้ ่าการก่อนทุกครัง้
ยกเว้น วิธีตกลงราคา /หรือกรณีจาเป็ น
เร่งด่วน ตามข้อ ๑๗(๒)๑๘(๓)เจ้าหน้าที่
จัดหา /เจ้าหน้าที่ผรู ้ บั ผิดชอบ จะทา
รายงานเท่าที่จาเป็ นก็ได้
68
(ตัวอย่าง๑)การไม่ทารายงานขอซื้อ/ขอจ้าง
ก่อนการจัดหาตามระเบียบฯ ของส่วนราชการ
ปั ญหา ส่วนราชการก. สั ่งให้หน.เจ้าหน้าที่พสั ดุจา้ งบริษทั ฯ ต่อเติม
ปรับปรุงอาคารฯเป็ นห้องประชุมและห้องปฏิบตั กิ ารโดยมิได้จดั ทา
รายงานขอจ้างและมิได้จา้ งโดยวิธีสอบราคาตามระเบียบฯข้อ ๒๗,ข้อ
๒๐ จังหวัดมีคาสั ่งลงโทษข้าราชการทั้งสองแล้ว
แนวทางแก้ไข(มติกวพ.ปี ๕๐)
ให้แจ้งให้ส่วนราชการจัดทาสัญญากับบริษทั ฯในส่วนของงานที่ได้
ทาไปแล้วและทาการตรวจรับตามระเบียบฯ
►ส่วนเนื้องานที่ยงั ไม่ได้ก่อสร้าง -ต้องแต่งตั้งคกก.กาหนดราคากลาง
เพื่อคานวณราคางานก่อสร้างส่วนที่เหลือ และจัดหาพัสดุใหม่ตอ่ ไป
69
(ตัวอย่าง๒)การไม่ทารายงานขอซื้อ/ขอจ้าง
โรงพยาบาล ก. เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ กับพวก ได้จดั ซื้อ
น้ ายา ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบตั กิ ารไปโดยพลการ
โดยมิได้จดั ทารายงานขอซื้อเพื่อขอความเห็นชอบต่อ
หัวหน้าส่วนราชการก่อน แม้จะได้นาไปใช้ในราชการจริง
แต่เป็ นการปฏิบตั ทิ ี่ไม่ถูกต้องตามระเบียบฯข้อ ๒๗
กรณีน้ ีไม่ปรากฏว่า เป็ นกรณีจาเป็ นต้องซื้อโดยวิธีตกลง
ราคาหรือเป็ นกรณีจาเป็ นเร่งด่วน ล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ
ตามระเบียบฯข้อ ๓๙ วรรคสอง ที่ให้สามารถจัดซื้อไปก่อน
แล้วรีบรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการภายหลังได้ แต่อย่างใด
70
เมื่อปรากฏว่าหัวหน้าส่วนราชการได้ลงโทษทางวินยั ไปแล้ว
และมีการตรวจรับน้ ายาฯไว้ใช้ในราชการจริง
โรงพยาบาลจึงต้องรับผิดชอบหนี้ค้างชาระค่าน้ ายาให้แก่
บริษทั ฯ จานวน ๑ ล้านบาทเศษ
ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้น สามารถเบิก
จ่ายเงินไปชาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ได้
จึงอนุมตั ผิ ่อนผันการไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ พัสดุ ให้เป็ น
กรณีพิเศษเฉพาะราย
????????????????
71
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา
(เป็ นการจัดหาพัสดุ วงเงินไม่เกิน ๒ แสนบาท
(ข้อ๓๒ วรรคแรก)) มีวิธีปฏิบตั ดิ งั นี้
๑.เมือ่ ได้รบั ความเห็นชอบรายงานขอซื้ อ/ขอจ้าง จาก
ผูว้ ่าการตามทีเ่ จ้าหน้าทีพ่ สั ดุเสนอแล้ว
๒.ให้เจ้าหน้าทีจ่ ดั หาไปติดต่อตกลงราคากับผูข้ าย/ผูร้ บั
จ้างโดยตรง(ระเบียบมิได้มีขอ้ กาหนดว่าต้องมีใบเสนอราคา)
๓.หลังจากนั้น ให้หวั หน้าแผนกจัดหาจัดซื้ อ/จัดจ้าง
ได้ภายในวงเงินทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากผูว้ ่าการตามที่
ได้มีการรายงานขอซื้ อ/จ้างไว้แล้วนั้น
72
การซื้อ/จ้าง วิธีตกลงราคา กรณีมีความจาเป็ นเร่งด่วน
ทีไ่ ม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้าได้ (ข้อ๓๒วรรค ๒)
ใช้กบั กรณีจาเป็ น/เร่งด่วน/ที่ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้า
โดยให้ทารายงานขอซื้อ/จ้างภายหลังได้
วิธีปฏิบตั ิ ขั้นตอนที่ (๑)
-ให้จนท.จัดหา/หรือจนท.ผูร้ บั ผิดชอบ ในการ
ปฏิบตั งิ านนั้น จัดซื้อ/จ้างไปก่อนได้
ขั้นตอนที่(๒)
-ให้จดั ทารายงานขอซื้อ/จ้าง ขอความเห็นชอบผูว้ ่าการใน
ภายหลัง โดยมีสาระสาคัญเท่าที่จาเป็ น
ขั้นตอนที่(๓)
-เมื่อผูว้ ่าการเห็นชอบแล้วให้ใช้รายงานนั้นเป็ น
หลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม
73
การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีสอบราคา
(วงเงินเกิน ๒แสน-ไม่เกิน๒ ล้าน)
เป็ นวิธีแข่งขันราคา
ระเบียบฯข้อ๓๓กาหนดว่า
ให้จนท.จัดหาจัดทาร่างประกาศและเอกสารสอบราคา
หากเป็ นกรณีส่วนราชการในการจัดทาเอกสารสอบราคามี
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี
ที่ นร(กวพ)๑๒๐๔/ว ๘๕๘ ลงวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๓๕
กาหนดให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ เป็ นผูล้ งชื่ อกากับตรา
ชื่อส่วนราชการ เช่นเดียวกับวิธีประกวดราคา
74
เอกสารสอบราคาอย่างน้อยให้แสดงรายการดังต่อไปนี้
(ข้อ ๓๓)
75
ข้อสังเกต วิธีสอบราคา
-ไม่มีการขายเอกสารสอบราคา
-ไม่มีการวางหลักประกันซอง
-ให้แจกจ่าย/ให้เอกสารได้ ตัง้ แต่วนั ที่ลงประกาศสอบราคา
-กาหนดวันยืน่ ซอง ถึงวันปิ ดรับซองต้องไม่นอ้ ยกว่า ๑๐วัน
-จะกาหนดให้ยนื่ ซองสอบราคาทางไปรษณียก์ ็ได้(ข้อ๓๓(๑๑))
-ผูร้ บั ซองได้แก่
จนท.งานสารบรรณ/หรือผูท้ ี่ได้รบั แต่งตัง้ ให้รบั ซอง
โดยเฉพาะลงรับ โดยไม่เปิ ดซอง ให้ระบุวนั เวลารับซองถ้ารับ
ทางไปรษณียใ์ ห้ถือวันที่สถาบันฯ รับจากไปรษณีย ์
76
-เมื่อรับซองแล้วให้ส่งให้หวั หน้าแผนกจัดหาเก็บ
รักษาไว้
-เมื่อปิ ดรับซองให้ทาบันทึกส่งคกก.เปิ ดซองสอบราคา
-หากมีผเู ้ สนอราคามีคุณสมบัตถิ ูกต้องรายเดียว
-ให้ตรวจสอบคุณภาพของสิ่งของ/ว่า มีคุณภาพ/
คุณสมบัตแิ ละเป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการหรือไม่
-หากเห็นว่าสมควรซื้อ/จ้างจากรายเดียวนั้น
ก็ให้ดาเนินการต่อไปได้ โดยไม่ตอ้ งยกเลิกการสอบ
ราคา
77
ข้อควรรู ้
การกาหนดวัน เวลา เปิ ดซอง ใบ
เสนอราคา ให้กาหนดวันใด วัน
หนึ่งหลังจากวันปิ ดการรับซอง
แล้ว ทั้งนี้ ให้คานึงถึงระยะเวลาที่
คณะกรรมการเปิ ดซองฯ
ต้องใช้ในการตรวจสอบ
ผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน ด้วย
เช่น ปิ ดการรับซอง
วันที่ 1
ควรกาหนดวันเปิ ด
ซองใบเสนอราคา
เฉพาะผูม้ ีชื่อผ่านการ
ตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์รว่ มกัน
วันที่ 4 เป็ นต้น
หนังสือเวียน สานักนายกฯ ด่วนมาก ที่นร(กวพ)
๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ลว.๒๐ส.ค.๒๕๔๒ เรือ่ งการตรวจสอบ
ผูเ้ สนอราคาหรือผูเ้ สนองานที่มีผลประโยชน์รว่ มกัน
78
การเผยแพร่ประกาศ
สอบราคา/ประกวดราคา)
(ต้องปิ ดประกาศ/ลงเว็ปไซต์ วันเดียวกันกับในประกาศ)
มติครม.เมื่อ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๗
ให้หน่วยงานลงเว็ปไซต์ประกาศสอบ/
ประกวดราคาทุกวงเงิน ของหน่วยงานและ
ของกรมบัญชีกลางอีกทางหนึ่ง
79
เมื่อปิ ดการรับซองสอบราคาแล้ว
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา จะทาหน้าที่ ดังนี้
๑.ตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์รว่ มกัน
ก่อนถึงวันเปิ ดซอง
ใบเสนอราคาตามข้อ
๑๕ ตรี ว.๒
(ดูวิธีตรวจสอบตาม
หนังสือที่ นร (กวพ)
๑๓๐๕/ว๗๒๘๖ ลว.
๒๐ส.ค.๔๒)
๒.ประกาศรายชื่อผู ้
ผ่านการตรวจสอบ
ตามข้อ ๑ ไว้ ณ
สถานที่ทาการของ
ส่วนราชการ
- ถ้าผูผ้ ่านการ
คัดเลือกอยู่ ณ ที่น้นั
ให้แจ้งให้ทราบด้วย
๓.ถ้าพบว่ามีผมู ้ ี
ผลประโยชน์ร่วมกัน
-ตัดชื่อออกทุกราย/
แจ้งผูน้ ้นั ทราบ
-มีสิทธิ์อุทธรณ์ตอ่
ปลัดกระทรวง ใน
๓ วันนับแต่รบั แจ้ง
-คาวินิจฉัยของ
ปลัดกระทรวงเป็ น
ที่สุด
80
วิธีตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน เพื่อป้องกันการ มีส่วน ได้เสียไม่
ว่าทางตรง/ทางอ้อมในการเข้าเสนอราคาในครั้งเดียวกันของ
บุคคลธรรมดา/นิตบิ ุคคล/ให้ตรวจถึงคูส่ มรส และ
บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะด้วย
๑.กรณีที่มีความสัมพันธ์กนั ในเชิงทุน
• เป็ นหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วน
สามัญ ก
• เป็ นหุน้ ส่วนไม่จากัดความรับ
ผิด ใน ห้างหุน้ ส่วนจากัด ก
• เป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ใน บจก.
บมจ ก. (เกิน>25% )
•ร้านข.,ค../หุน้ ส่วนใน
ห้างหุน้ ส่วนสามัญ ข., ค/
หุน้ ส่วนไม่จากัดความรับ
ผิดในหจก.ข.,ค...ผูถ้ ือหุน้
รายใหญ่ใน บจก./บมจ.ข,ค
...
81
๒.วิธีตรวจสอบความสัมพันธ์กนั ในเชิงบริหาร :
• ผูจ้ ดั การ
• หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ
• กรรมการผูจ้ ดั การ
• ผูบ้ ริหาร
• ผูม้ ีอานาจในการ
ดาเนินงาน
ไปมีอานาจ
หรือสามารถ
ใช้ อานาจใน
การบริหาร
จัดการ
ในกิจการ
บุคคลหรือ
นิตบิ ุคคลอีก
รายหนึ่งหรือ
หลายราย
ทีเ่ ข้ าเสนอ
ราคาในครั้ง
เดียวกัน
82
๓.วิธีตรวจสอบความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กนั
(ทั้งเชิงทุน-บริหาร) ไม่ยกเว้นแม้เป็ นรัฐวิสาหกิจ
-๑.เป็ น
ผูจ้ ดั การ
หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ
กรรมการผูจ้ ดั การ
ผูบ้ ริหาร
-๒. และเป็ นผูม้ ีอานาจใน
การดาเนินงาน/บริหาร
ไปเป็ นผูถ้ ือหุน้ /และมี
อานาจบริหารจัดการใน
กิจการของ
บุคคล/นิตบิ ุคคล(ห้าง
หุน้ ส่วนสามัญ/หุน้ ส่วนไม่
จากัดความรับผิดในหจก.
หรือถือหุน้ รายใหญ่ใน
บจก. / บมจ.
83
วิธีตรวจสอบการขัดขวางการแข่งขันราคา
กันอย่างเป็ นธรรม (ข้อ๑๕ ฉ)
ได้แก่ - กระทาการโดยสมยอมกัน/โดย
๑) ให้/ขอให้/รับว่าจะให้
-เงิน/ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด
๒) หรือ โดยข่มขู่/ใช้กาลังประทุษร้าย
๓) ทุจริต/แสดงเอกสารเท็จ
เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิใช่ธุรกิจปกติ
หากตรวจพบก่อน/ขณะเปิ ดซองสอบ/ประกวดราคาให้ตดั
รายชื่อออก และแจ้งให้ผนู ้ ้นั ทราบ /แจ้งหส.ราชการเพือ่ ให้
เสนอปลัดกระทรวงสั ่งเป็ นผูท้ ้ ิงงานตามระเบียบข้อ ๑๔๕
84
เมือ่ ถึงวันเปิ ดซองใบเสนอราคา
หน้าที่ของคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา (ต่อ)
เปิ ดซองคุณสมบัติทาง
เทคนิค/ราคา/เฉพาะผูม้ ีชื่อ
ผ่านการตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์ร่วมกันเท่านั้น
-อ่านแจ้งราคา อ่านเอกสาร
บัญชีรายการเอกสาร
-ลงชื่อกากับทุกแผ่น
คัดเลือกพัสดุ /งานจ้าง ที่
ถูกต้องตามเงือ่ นไขใน
ประกาศ และทีม่ ีคุณภาพ/
คุณสมบัติ /เป็ นประโยชน์
ต่อทางราชการ
เสนอซื้ อ/จ้าง รายทีค่ ดั เลือกแล้ว
ทีเ่ สนอราคาตา่ สุด
85
หน้าที่คณะกรรมการสอบราคา(ต่อ)
ให้ต่อรองราคา เมือ่ ราคารายทีส่ มควรซื้ อ/จ้าง
สูงกว่าวงเงินงบประมาณ ตามข้อ ๓๖
ให้คณะกรรมการดาเนินการตามลาดับดังนี้
(๑) ให้เรียกผูเ้ สนอราคารายตา่ สุดนั้นมาต่อรองราคาให้
ตา่ สุดเท่าทีจ่ ะทาได้
- หากรายนั้นยอมลดราคาแล้ว ราคาใหม่ไม่สูงกว่าวงเงินทีจ่ ะ
ซื้ อ/จ้าง หรือ สูงกว่าแต่ไม่เกิน ๑๐% ของวงเงินทีจ่ ะซื้ อ/จ้าง
หรือต่อรองแล้ว ไม่ยอมลดราคา แต่ส่วนทีส่ ูงกว่าวงเงินที่จะซื้ อ/จ้าง
ไม่เกิน๑๐%
 ถ้าเห็นว่าเหมาะสมให้เสนอซื้ อ/จ้างจากรายนั้นได้
86
- (๒) ถ้าต่อรองตาม (๑)แล้วไม่ได้ผล
+ให้เรียกทุกรายมายืน่ ซองใหม่พร้อมกัน ภายในกาหนดเวลา สมควร
+หากรายใดไม่ยนื่ ให้ถอื ว่ายืนตามราคาเดิม
+หากมีผูเ้ สนอราคาตา่ สุด เสนอราคาไม่สูงกว่าวงเงิน
หรือสูงไม่เกิน๑๐%
 ถ้าเห็นว่าเป็ นราคาทีเ่ หมาะสม ให้เสนอซื้ อ/จ้างจากรายนั้น
(๓) ถ้าดาเนินการตาม (๒)ไม่ได้ผล
ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการว่าสมควรจะ
- ลดรายการ ลดจานวน หรือลดเนื้ องาน
- หรือขอเงินเพิม่
- หรือยกเลิกเพือ่ สอบราคา/ประกวดราคาใหม่
87
วิธีประกวดราคา (วงเงินเกิน ๒ ล้านบาทขึ้ นไป)

๑.การจัดทาเอกสารประกวดราคา ให้ทาตามแบบที่ กวพ. กาหนดหรือ
ผ่านการตรวจจากสานักงานอัยการสูงสุดแล้ว
๒. การเผยแพร่เอกสารประกวดราคา (ข้อ ๓๘)
-ให้หัวหน้าแผนกจัดหามีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ควบคุม ดูแล และจัดทา
หลักฐานการเผยแพร่ /แต่งตั้งผูป้ ิ ด/ปลดประกาศ
-และให้จนท.จัดหาดาเนินการดังนี้
ปิ ดประกาศ ณ สานักงาน
วิทยุ/หนังสือพิมพ์/อ.ส.ม.ท.
-ส่งให้กรมประชาสัมพันธ์
-ศูนย์รวมข่าว/ส.ต.ง
๓. -วันเผยแพร่ให้ทาก่อนวันขาย/ให้เอกสารไม่นอ้ ยกว่า ๗ วันทาการ
-วันขาย/ให้เอกสาร ต้องมีเวลาไม่นอ้ ยกว่า ๗ วันทาการ
-วันยืน่ ซองต้องห่างจากวันปิ ดการขาย/ให้ ไม่นอ้ ยกว่า๗ วันทาการ
โดยให้คานึงถึงปริมาณวัสดุ ทีจ่ ะซื้ อ/งานทีจ่ ะจ้าง
88
(ตัวอย่าง)การส่งประกาศประกวดราคาเผยแพร่ที่ไม่ชอบ
• โรงพยาบาล ส. ปิ ดประกาศ ณ ที่ทาการโดยเปิ ดเผยตรงตามขัอ๔๕
(๑) แต่ส่งประกาศไปทางวิทยุชุมชนตาม(๒)และสถานีวิทยุ อสมท.
ในจังหวัดตาม(๓)ส่งไปยังที่ว่าการอาเภอต่างๆ ตาม(๔) ซึ่งมิไช่กรม
ประชาสัมพันธ์และศูนย์รวมข่าวประกวดราคาของทางราชการทาง
ส่วนกลาง และไม่ส่งให้สตง.ภูมิภาคตาม(๕)
• มติกวพ. ปรากฏว่ามีผเู ้ ข้าเสนอราคาเพียงรายเดียว แม้จะถูกต้อง
ตามเงื่อนไข ต ่ากว่าราคากลาง และงบประมาณไม่เกิน ๑๐% แม้
ระเบียบข้อ ๕๑ จะเป็ นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการไม่ยกเลิกได้
แต่หากโรงพยาบาล มีการเผยแพร่เอกสารตามระเบียบฯ
• อาจทาให้สว่ นราชการได้ประโยชน์มากกว่านี้ จึงไม่อนุมตั ผิ ่อนผันการ
ไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ ข้อ ๔๕ตามที่ขอมา
89
เมือ่ ถึงวันรับซองประกวดราคาข้อ ๔๑ ห้ามร่น/เลือ่ น/เปลีย่ น
เวลารับ-เปิ ดซอง
หน้าทีข่ องคณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา
วิธีปฏิบตั ิ(ข้อ ๔๒)
๑. รับซอง/ลงทะเบียนรับซอง/ลงชื่อกากับซองกับบันทึกไว้ที่หน้าซอง
ว่าเป็ นของผูใ้ ด/
๒. ตรวจหลักประกันซอง ร่วมกับจนท.การเงินพร้อมออกใบรับให้แก่ผู ้
ยืน่ ซองเป็ นหลักฐาน หากไม่ถูกต้อง ให้หมายเหตุ ในใบรับและ
บันทึกในรายงานด้วย
(ส่งสาเนาให้ธนาคาร/บริษทั เงินทุนฯ/ธปท. ผูค้ ้ าประกันทราบทาง
ไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับ)
90
หน้าที่ของคณะกรรมการรับและเปิ ดซองประกวดราคา(ต่อ)
๖. เปิ ดซองใบเสนอราคา/ อ่านแจ้งราคาพร้อมบัญชีรายการ
เอกสารหลักฐานต่างๆ ของผูเ้ สนอราคา ทุกรายโดย
เปิ ดเผย ตามเวลาทีก่ าหนด
๗ .ให้กรรมการทุกคน ลงชื่อกากับไว้ในใบเสนอราคา/เอกสาร
ประกอบใบเสนอราคาทุกแผ่น
๘. ทาบันทึกการดาเนินการเสนอต่อคณะกก.พิจารณาผลฯ ส่ง
มอบเอกสารทั้งหมดให้คกก.พิจารณาผลในวันนั้น
91
วิธีการซื้ อโดยวิธีพิเศษข้อ ๑๗(วงเงินเกิน๑ แสนขึ้ นไป)
ให้ผูว้ ่าการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้ อโดยวิธีพิเศษมีหน้าที่ (ข้อ ๕๐)
ให้ ดาเนินการเจรจาตกลงราคา
๑)ซื้อพัสดุทจี่ ะขายทอดตลาด
๒)พัสดุทจี่ าเปน นต้ องซื้อ
เร่ งด่ วน/ล่ าช้ าจะเสี ยหาย
๓) พัสดุทตี่ ้ องใช้ ใน
ราชการลับ
ให้ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคา
/ถ้ าราคาสู งกว่ าท้ องตลาดให้ ต่อรอง
ให้ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาต่ อรอง
๔)พัสดุทซี่ ื้อไว้ แล้ ว-จาเปน นต้ อง
-ซื้อเพิม่ ในสถานการณ์ จาเปน น
- หรือเร่ งด่ วน(Repeat Order)
ให้ เจรจากับผู้ขายรายเดิมตาม
สั ญญาเดิมทีย่ งั ไม่ สิ้นสุ ด
ระยะเวลาส่ งมอบ ใช้ เงื่อนไข,
ราคาเดิม, หรือดีกว่ า
92
การซื้อโดยวิธีพิเศษ/ หน้าที่คณะกรรมการ (ต่อ)
๕)ต้องซื้อจากต่างประเทศ
ให้เสนอหน.ส่วนราชการติดต่อสั ่งตรง
โดยให้หน่วยงานต่างประเทศสืบราคาให้
๖)พัสดุมีขอ้ จากัดทาง
เทคนิค/จาเป็ นต้องระบุยี่หอ้
ให้เชิญผูผ้ ลิต/ผูแ้ ทนจาหน่ายมา
เสนอราคาและต่อรอง
๗) ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ให้เชิญเจ้าของมาตกลงราคา
๘)ดาเนินการซื้อโดยวิธี
อื่นแล้วไม่ได้ผลดี
(๙)ต้องซื้อใช้งาน/
โฆษณา/ประชาสัมพันธ์
สืบราคาจากผูม้ ีอาชีพขายและผูเ้ สนอ
ราคาที่ถูกยกเลิก (ถ้ามี) ต่อรองราคา
ให้ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคา
/ถ้ าราคาสูงกว่ าท้ องตลาดให้ ต่อรอง
93
การจ้างโดยวิธีพิเศษ ข้อ ๑๘
• (๑)จ้างช่ างผูม้ ีฝีมือ
• (๔) งานที่ทาวิธีอ่ืนไม่ได้ผลดี
โดยเฉพาะ/ชานาญเป็ นพิเศษ
• (๒)ซ่อมพัสดุท่ีตอ้ งถอดตรวจ
ให้ทราบความเสียหายก่อนจึง
ประมาณค่าซ่อมได้ เช่นซ่อม
• (๕)งานจ้างเหมาบริการ
เครื่องจักร เครื่องกล เครื่องยนต์
เครื่องอากาศยาน ใบพัดอากาศ
ยาน เครื่องไฟฟ้า เครื่องวิทยุ และ
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น
• (๓)จาเป็ นเร่งด่วน ล่าช้าจะ
เสียหายแก่งานของสถาบันฯ
แบบต่ อเนื่อง เช่ น จ้ างรั กษาความ
ปลอดภัย ทาความสะอาดอาคารและ
การให้ บริการสวัสดิการของสถาบัน
• (๖) งานโฆษณา/ประชาสัมพันธ์
สถาบัน
• (๗) งานที่ตอ้ งปกปิ ดเป็ นความลับ
• (๘) งานที่ตอ้ งจ้างเพิ่ม (REPEAT
ORDER)
94
วิธีปฏิบตั ใิ นการจ้างโดยวิธีพิเศษ (วงเงินเกิน๑ แสน)
ให้ผวู ้ ่าการแต่งตัง้ คณะกรรมการฯทาหน้าที่ (ข้อ๕๑)
๑) การจ้างตามข้อ ๑๘
-ให้เชิญผูม้ ีอาชีพโดยตรงมา
(๑)(๒)(๓)(๕)(๖)(๗) (จ้าง
เสนอราคา-ต่อรองเท่าที่จะทาได้
๒) การจ้ างตามข้ อ๑๘(๘)
จ้ างเพิม่ (Repeat Order)
-ให้เจรจากับผูร้ บั จ้างรายเดิม
ตามสัญญาที่ยงั ไม่ส้ นสุ
ิ ดเวลาส่ง
มอบราคา/เงื่อนไขเดิม/ดีกว่า
๓) การจ้ างตามข้ อ๑๘(๔) ให้เชิญผูม้ ีอาชีพโดยตรง/และรายที่ถูก
ใช้ วธิ ีอนื่ แล้ วไม่ ได้ ผลดี
ยกเลิกไป/มาเสนอราคา/ต่อรองราคา
95
ข้ อควรระวัง
การซือ้ หรือการจ้ างเพิ่ม(Repeat Orderตามข้ อ ๑๗ (๙)
หรือ ข้ อ๑๘(๗) มีเงื่อนไขดังนี ้
๑. ต้ องเป็ นเรื่องซือ้ ของอย่ างเดิม หรือเป็ นงานเดิม ที่ต้องทา
เพิ่มขึน้ ถ้ าเป็ นคนละเนือ้ งานมิใช่ Repeat Order
๒. ต้ องเจรจาต่ อรองกับรายเดิม เงื่อนไขเดิมหรือดีกว่ า และ
สัญญาเดิมต้ องยังไม่ สนิ ้ สุดเวลาส่ งมอบ
๓. ต้ องทาสัญญากันใหม่ จะทาสัญญาแก้ ไขเพิ่มเติมไม่ ได้
เนื่องจาก เป็ นเพียงการผ่ อนปรนให้ หน่ วยงานไม่ ต้อง
จัดซือ้ จัดจ้ างใหม่ เท่ านัน้
96
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีกรณี พิเศษ
(ไม่จากัดวงเงิน) (ข้อ ๕๒)
เป็ นการซื้อ/จ้าง/จาก..ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/
ท้องถิ่น/หน่วยอื่น(ทีไ่ ด้รบั
สิทธิพิเศษดูรายชื่อได้จาก
ที่เป็ นผูท้ า/ผลิตเอง/จาหน่ าย/ให้บริการ
และนายกรัฐมนตรี/มีกฎหมาย/มติ
คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิ ให้ซื้อ/จ้างได้โดย
ไม่ต้องสอบ/ประกวดราคา
www.gprocurement.go.th ให้ผวู ้ ่าการอนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง
ลำดับขัน้ ตอนวิธีปฏิบตั ิ
๑.ทำรำยงำนขอซื้อ/จ้ำง
๒.ให้ติดต่อตกลงราคา
กับผูข้ าย หรือผูร้ บั จ้าง
ได้โดยตรง
ได้ไม่จากัดวงเงิน
-วงเงินไม่เกิน๑ แสนบาท ให้หน.แผนกจัดหา
สั ่งซื้อ/จ้างได้ภายในวงเงินที่ได้รบั
ความเห็นชอบจากผูว้ ่าการ
97
การซื้อ/จ้างโดยใช้วิธีกรณีพิเศษ ปั จจุบนั มีหน่วยงานที่ได้รบั สิทธิ
พิเศษอยู่ ๒ ประเภทคือประเภทบังคับ/กับไม่บงั คับ
ประเภทบังคับ หมายความว่ า
ประเภทไม่ บังคับ หมายความว่ า
ส่ วนราชการต้ องซือ้ /จ้ างจากหน่ วยงาน
ส่ วนราชการจะซือ้ หรื อจ้ างจาก
ที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษนัน้ ก่ อน ขณะนี ้
หน่ วยงานที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษ
มี ๓ หน่ วยงาน ได้ แก่
หรื อไม่ กไ็ ด้
ข้ าราชการเดินทางไปตปท. ต้ องซือ้
หากประสงค์ จะซือ้ หรื อจ้ างจาก
หน่ วยงานที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษ ก็ไม่
ตั๋วจากบมจ.การบินไทยก่ อนเว้ นแต่
ให้ บริการไม่ ได้ หรื อราคาสูงเกิน 25%
ต้ องสอบราคา หรื อประกวดราคา
แต่ อย่ างใด
ส่ วนราชการต้ องซือ้ น้ามันเชื้อเพลิงฯ
ตั้งแต่ ๑ หมื่นลิตรขึน้ ไปต้ องซือ้
จาก.ปตท,สถานีบริการของปตท
ต้
อ
งดู
เ
งื
่
อ
นไขการได้
ส
ท
ิ
ธิ
ส่ วนราชการต้ องซือ้ นมโรงเรี ยน
พิเศษของแต่ ละเรื่องด้ วย
สาหรั บเด็กอนุบาล-ป ๖ จากอสค.
98
วิธีประกวดราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
ตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกาพัสดุ
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙
99
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๒๔ ม.ค.๔๙
ให้หน่วยงานภาครัฐ ที่มีวิธีซ้ ือ/จ้าง วงเงินตัง้ แต่
๒ ล้านบาทขึ้นไป ให้จดั หาด้วยวิธีการประกวดราคา
ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตัง้ แต่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
ยกเว้นไม่ใช้กบั
การจ้าง
ที่ปรึกษา
๒. การจ้าง
ออกแบบ
และควบคุม
งาน
๓. ซื้อ/จ้าง
โดย
-วิธีพิเศษ
-วิธีกรณีพิเศษ
๔.ได้รบั
ยกเว้นจาก
กวพ.อ
(ข้อ๓)
กรณีตอ่ ไปนี้ คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒
ผ่อนผัน จะไม่ประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์ ก็ได้
ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒
(สานักเลขาธิการครม. ด่วนที่สุด ที่ นร๐๕๐๔/๓๓๓ ลว.๒๗ ต.ค.๕๑
๑.ด้านวงเงิน
๑.๑ ส่วนราชการ ฯ
๑.๒ รัฐวิสาหกิจ
๒-๕ ล้านบาท
๒-๑๐ ล้านบาท
แต่ให้แสดงเหตุผล/ความจาเป็ น ปั ญหา/อุปสรรค
แนบไว้ในรายงานขอซื้อ/จ้างด้วย
หนังสือเวียนใหม่
กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด กค.๐๔๒๑.๓/๒๔๗ ลงวันที่ ๑๔
กรกฎาคม ๒๕๕๓ อนุมตั ยิ กเว้นการจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ตอ้ ง
ประมูลทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ก็ได้ ดังต่อไปนี้
๑. เป็ นสินค้า/บริการที่มีคณ
ุ ลักษณะเฉพาะ ทาให้มีการแข่งขัน
ได้นอ้ ยราย(ไม่ถึง ๓ ราย)
๒.เป็ นสินค้าหรือบริการที่มีความซับซ้อน มีเทคนิคเฉพาะ โดย
ดูที่ตวั สินค้าเป็ นหลัก อาจมีขอ้ เสนอที่ไม่อยู่ในฐานเดียวกัน
102
๓. เป็ นสินค้า/บริการ เกี่ยวกับเทคโนโลยี (HardSoftware)ประเภทระบบ IT ที่มีลักษณะเฉพาะ
เช่น การจัดหาหรือพัฒนาระบบSoftwareสาหรับใช้งาน
เฉพาะที่ผพ
ู้ ฒ
ั นาต้องเข้าไปศึ กษารูปแบบการทางานของ
หน่วยงาน แล้วจึงจัดทาขึ้นมาได้ เป็ นต้น
๔.เป็ นพัสดุที่จดั หาซึ่งมีความผันผวนทางด้านราคา
-โดยเมื่อมีการสารวจราคาตลาดโลกแล้ว มีการ
เปลี่ยนแปลงระหว่าง ๓๐ วัน สูงหรือต ่าลงมากกว่า
อัตรา ๑๐%
103
อนึ่ง เฉพาะการซื้อจ้างโดยวิธีพิเศษ
๑.ในการใช้ดุลพินิจของหน่วยงานที่จดั หาพัสดุ ที่อยูใ่ น
เกณฑ์ยกเว้นไม่ตอ้ งจัดหาพัสดุโดยวิธีE-Auction ตาม
ข้อ ๓ ของระเบียบ ๔๙ เฉพาะกรณีจาเป็ นเร่งด่วน
ล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ หมายถึง หากจัดหาด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ อาจล่าช้า จะเสียหายแก่ราชการ
เท่านั้น
๒.กรณีสินค้า/บริการ จาเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ หรือจ้างผูม้ ีความ
ชานาญโดยเฉพาะ หรือชานาญเป็ นพิเศษ ให้หมายรวมถึง มี
ยีห่ อ้ เดียว หรือมีผรู ้ บั จ้างรายเดียวด้วย
104
ให้ลดอัตราการยึดหลักประกันซอง จาก ๕% ลงเหลือ
๒.๕% เฉพาะกรณีผมู ้ ีสิทธิเข้าสูก่ ระบวนการเสนอราคา
ดังต่อไปนี้(หนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด กค.๐๔๒๑.๓/
๒๔๗ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓)
๑.ไม่สง่ ผูแ้ ทนมาลงทะเบียนเสนอราคาตามวัน เวลาและ
สถานที่ที่กาหนด
๒.มาลงทะเบียนแล้ว แต่ไม่ Log in เข้าสูร่ ะบบ
๓. Log in แล้ว แต่ไม่เสนอราคา หรือเสนอเท่ากับ หรือสูงกว่า
ราคาเริ่มต้นการประมูล
๔.ไม่ลงลายมือชื่อในแบบยืนยันราคาสุดท้ายในการ
เสนอราคา (แบบบก.๐๐๘)
105
เพิ่มราคาที่ให้ใช้เป็ นราคาเริ่มต้นการประมูล
๑.งานซื้อ หรืองานจ้างทั ่วไป ที่มิใช่งานจ้างก่อสร้างให้ใช้
วงเงินงบประมาณที่มีอยู่ หรือราคามาตรฐาน หรือราคา
ท้องตลาด ณ ปั จจุบนั อย่างใดอย่างหนึ่ง
โดยให้พิจารณาตามความเหมาะสมของประเภทสินค้า/
บริการ หรืองานโครงการ และเป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการ
๒.งานจ้างก่อสร้าง
ให้ใช้ราคากลางเป็ นราคาเริ่มต้นการประมูล
106
มติคณะรัฐมนตรี ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒
กาหนดให้จดั หาพัสดุ โดยให้ใช้วิธีอื่นได้กรณีดงั นี้
ในกรณีการจัดหาที่มีวงเงินในการจัดหาพัสดุไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท
๑.หากไม่มีผูเ้ ข้าเสนอราคา หรือ
๒. มีผูม้ ีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว หรือ
๓. มีผูม้ ีสิทธิเสนอราคาหลายราย แต่มาเสนอราคาเพียง
รายเดียว
 และกรณีตามข้อ ๒.,๓ คณะกรรมการประกวดราคาได้ต่อรองราคา
รายนัน้ แล้วไม่ได้ผล
 ให้จดั หาโดยวิธีอื่น ตามระเบียบฯพัสดุทีห่ น่วยงานนั้น ๆ ถือปฏิบตั ิได้
หนังสือเวียนใหม่ เรื่อง การกรอกปริมาณราคา
ตามตัวอย่าง เอกสารประกวดราคา ตามระเบียบฯ
๔๙สดุพ.ศ.๒๕๔๙
๑.การกรอกปริมาณวั
ในบัญชีรายการก่อสร้างในใบ
BOQ ตัวอย่างเอกสารประกวดราคากาหนดให้ผูเ้ ข้าเสนอ
ราคากรอกแต่เฉพาะปริมาณวัสดุเท่านั้น ราคายังไม่ตอ้ งกรอก
-ราคาจะกรอกเมือ่ ผูอ้ นุมตั ิสงซื้
ั ่ อ/สังจ้
่ าง สังรั
่ บราคาราคาราย
ตา่ สุดแล้วจึ งให้ผูช้ นะราคามากรอกราคาในใบ BOQ ก่อนทา
สัญญา
๒. การคืนหลักประกันซอง จะคืนให้ผูเ้ สนอราคาเมือ่ ผูม้ ี
อานาจอนุมตั ิสงซื้
ั ่ อ/จ้าง สังให้
่ รบั ราคารายตา่ สุดแล้ว
ยกเว้น รายตา่ สุดจะคืนให้ เมือ่ เรียกมาทาสัญญาในวันทาสัญญา
วิธีเสนอราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
เป็ นการแข่งขันราคากันทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่
เปิ ดเผยตัวเลข ที่มีการเสนอราคา (Sealed Bid Auction)
๑. โดยให้ผผู ้ ่านการคัดเลือกคุณสมบัตเิ ข้าเสนอราคา ต้องมา
ลงทะเบียนเสนอราคาภายในเวลาที่กาหนด และเจ้าหน้าที่ของ
รัฐจะพาเข้าประจาที่ในห้องเสนอราคา โดยให้ทดสอบระบบก่อน
เสนอราคาจริง ๑๕ นาที
๒ ให้กระทาการเสนอราคาภายในสถานที่ ที่กาหนดให้เท่านั้น
.
๓
กาหนดเวลาที่ให้มีการเสนอราคาแต่ละรายการ จะต้อง
ไม่ต ่ากว่าครั้งละ ๓๐ นาที แต่ไม่เกิน ๖๐ นาที
๔
กรณีมีเหตุขดั ข้องในระหว่างการเสนอราคา
ให้คณะกรรมการประกวดราคา สังพั
่ กการเสนอราคาไว้ก่อน
เมือ่ แก้ไขเสร็จแล้ว
-ให้หกั เวลาทีส่ งพั
ั ่ กออก แล้วดาเนินการต่อไปเท่าระยะเวลา
ทีเ่ หลืออยู่ ให้เสร็จสิ้ นในวันเดียวกัน
 ถ้าไม่เสร็จ -ให้ประธานคกก.ประกวดราคา สังยกเลิ
่
กและนัด
วัน /เวลา /สถานที่ เพือ่ เริม่ ต้นกระบวนการเสนอราคาใหม่
๕. เมือ่ สิ้ นสุดระยะเวลาการเสนอราคา
หากมีผเู ้ สนอราคาตา่ สุดเท่ากันหลายรายซึ่งไม่อาจชี้ ขาดได้
 ให้ คกก.ขยายเวลาการเสนอราคา ออกไปอีกครั้งละ ๓ นาที
และให้ทุกรายเสนอราคาใหม่ จนกว่าจะได้ราคาตา่ สุดรายเดียว
๖.
เมือ่ การเสนอราคาเสร็จสิ้ น
ผูใ้ ห้บริการตลาด
กลาง
-จะพิมพ์ใบยืนยัน
ราคาสุดท้าย
(แบบบก.๐๐๘)
ออกจากระบบ
และสรุปผลการ
เสนอราคาตา่ สุด
-ส่งสรุปผลมอบให้
คณะกรรมการ
ประกวดราคาทันที
๗ คณะกรรมการฯ
-นาใบยืนยันราคาสุดท้าย ไปให้ผูเ้ สนอ
ราคาลงนาม ณ ห้องเสนอราคา
-แล้วจึ งอนุญาตให้ผูเ้ สนอราคาออกจาก
ห้องเสนอราคาได้
๘
คกก.ประชุม
ทันที และลง
มติตดั สินราคา
ในวันนั้น
๙
รายงานผล
ต่อหัวหน้า
หน่วยงานใน
วันทาการ
ถัดไป
๑๐
เมือ่ เห็นชอบ
รายงานแล้ว
-เสนอผูอ้ นุมตั ิ
สังซื้
่ อ/สัง่
จ้าง ต่อไป
การแจ้งผลการพิจารณา หรือ
แจ้งยกเลิกการประกวดราคา (แนวทางข้อ๑๕)
แจ้งยกเลิก
แจ้งผลการคัดเลือก
•เมื่อผูม้ ีอานาจอนุมตั ใิ ห้สั ่งซื้อหรือสั ่งจ้าง/หรือ สั ่งยกเลิกการเสนอราคา
ให้คณะกรรมการประกวดราคา โดยฝ่ ายเลขานุการ นาประกาศ
แจ้งผล หรือแจ้งยกเลิก ไปลงในเว็ปไซต์ของหน่วยงานและ
www.gprocurement.go.th ของกรมบัญชีกลาง ด้วย ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
ถ้าภายใน ๓ วัน นับแต่วนั ที่ประธานกก.แจ้งผลการเสนอราคา
ตามแบบ บก ๐๑๐-๑ ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาทุกรายทราบแล้ว
หากไม่มีการอุทธรณ์ ให้ดาเนินการตามระเบียบฯพัสดุของหน่วยงาน
นัน้ ๆ ตามขัน้ ตอนต่อไป เช่น แจ้งให้มาทาสัญญา เป็ นต้น
ข้ อควรร้ ู
สาหรั บคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
หรื อ
คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา
ในงานก่ อสร้ าง ก่ อนแจ้ งให้ ผ้ ูเสนอราคา
รายตา่ สุดทีค่ ัดเลือกไว้ แล้ วมาทาสัญญา
่ จิ ารณาราคาในใบ BOQ ของ
มีหน้ าทีพ
ผู้เสนอราคารายนั้นด้ วยว่ า เหมาะสม
หรื อไม่ ด้ วยวิธีประเมินเปรี ยบเทียบกับ
ราคาของราชการ ดังต่ อไปนี้
113
วิธีการประเมินราคาจ้างก่อสร้าง
ตามหนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี
ที่ นร(กวพ) ๑๐๐๒/ว ๖ ลว ๑๖ ก.พ.๒๕๓๒
เจตนารมณ์ **** เมื่อคัดเลือกผูเ้ สนอราคาได้แล้ว
การจ้างก่อสร้าง- การจะพิจารณาว่าราคาที่เสนอ
เหมาะสมหรือไม่ เป็ นเรือ่ งของการประเมินราคา
วิธีการ
ต้องตรวจสอบความถูกต้อง หากไม่ถูกต้อง จะต้อง
ขอปรับตัวเลขลงมา แล้ว
ของราคาที่เสนอ
แก้ไขยอดรวมให้ตรงกัน
โดยคานวณจากตัวเลขของ
ราคาที่เสนอ ต่อหน่วยในบัญชี การปรับลดดังกล่าว
รายการที่เสนอเป็ นหลัก (BOQ) ไม่ถอื ว่าเป็ นการต่อรองราคา
114
การประเมินราคาในงานประกวดราคาจ้างก่อสร้าง(ต่อ)
ดังนัน้ การประกวดราคาซื้อ/จ้าง กรณีคดั เลือกผูเ้ สนอราคา
ไว้แล้ว รวมถึงการปรับลดราคาหลังจากประเมินราคาแล้ว
หากราคาอยู่ในวงเงินงบประมาณ
 ให้ถอื เป็ นหลักการว่าไม่สมควรให้มี
การต่อรองราคาในระดับใดอีก
นอกจาก
จะเกินวงเงิน
หรือ เรียกรายตา่ ถัดไปเข้าทางบประมาณ
สัญญา เนื่องจากรายตา่ สุด
ไม่มาทาสัญญา (ต่อรองได้)
(ต่อรองได้)
115
การประเมินราคาในงานประกวดราคาจ้างก่อสร้าง(ต่อ)
(ขอบเขตและวิธีปฏิบต
ั ใิ นการประเมินราคางานก่อสร้าง)
หลักเกณฑ์
๑.การประเมินราคา
-ให้ใช้เฉพาะการ
ประกวดราคาจ้าง
ก่อสร้างเท่านัน้
จะต้องเป็ นการประเมิน
ราคาเฉพาะผูเ้ สนอราคา
รายที่คดั เลือกไว้แล้ว
ซึ่งเป็ นผูเ้ สนอราคารวม
ตา่ สุด
และ ราคาที่เสนอไว้ตอ้ งอยู่ใน
วงเงินงบประมาณที่จะจ้าง
เท่านัน้
116
๒.วิธีการประเมินราคา
-ให้คกก.พิจารณาผลประกวดราคา ตรวจสอบราคา
ที่ผเู ้ สนอราคา ได้เสนอไว้ ในรายการที่เป็ นหัวข้อใหญ่
ของส่วนการก่อสร้าง
ให้เชิญผูเ้ สนอราคาราย
นั้นมาเจรจา
เพื่อปรับลดราคาลงมา
แล้วแก้ไขยอดรวมให้
ตรงกัน
ซึ่งเมื่อประเมินราคาปรับลดแล้ว จะทาให้ยอดรวม
ใหม่ต ่ากว่ายอดรวมที่ผเู ้ สนอราคาเสนอไว้เดิม
117
ข้อควรรูเ้ รื่อง
การทาสัญญา
การบริหารสัญญา
และ หลักประกันสัญญา
118
หลักการทาสัญญาตามระเบียบฯ มี ๓ แบบ
ทาตามตัวอย่างที่
ระเบียบสานัก
นายก กาหนด
(ข้อ๑๑๔)
ทาข้อตกลง
เป็ นหนังสือ
(ดุลพินิจของ
ผูว้ ่าการ
ข้อ ๑๑๕)
ไม่ทาเป็ นหนังสือ
ไว้ต่อกัน ก็ได้
(ข้อ ๑๑๕ วรรค
ท้าย)
สัญญาทีม่ ขี อ้ ความแตกต่างไปจากแบบทีก่ วพ.กาหนด
ให้ส่งให้สานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน
 ผูม้ อี านาจลงนามสัญญา/ข้อตกลง ได้แก่
ผูว้ ่าการ
119
กรณีทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน (ข้อ ๑๓๓)
หลัก -เป็ นดุลยพินิจของผูว้ ่าการ




5.
จะทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน โดยไม่ตอ้ งทา
สัญญาตามแบบในข้อ ๑๑๔ ก็ได้ ในกรณีดงั นี้
ซื้ อ/จ้าง/แลกเปลีย่ นโดยวิธีตกลงราคา /การจ้างปรึกษา
วงเงินไม่เกิน๑แสน
คู่สญ
ั ญา ส่งของได้ครบถ้วนภายใน ๕ วันทาการ
นับจากทาข้อตกลง
การซื้ อ/จ้างโดยวิธีกรณีพเิ ศษและการจัดหาจากส่วนราชการ
การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ ๑๗(๑)-(๓)(๗)หรือ ๑๘
(๑)-(๓)(๖)
การเช่า ทีไ่ ม่ตอ้ งเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า
120
กรณีที่ไม่ตอ้ งทาข้อตกลงเป็ นหนังสือ ไว้ตอ่ กันก็ได้
(ระเบียบข้อ ๑๑๕ วรรคท้าย)
ได้แก่
(๑)การจัดหาซึ่งมีราคาไม่เกิน ๑ หมื่นบาท หรือ
(๒) การซื้อ/จ้าง ซึ่งใช้วิธีดาเนินการตาม
ระเบียบข้อ ๓๒ วรรคสอง
(ได้แก่ วิธีตกลงราคา กรณีจาเป็ นเร่งด่วน
ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และ
ไม่อาจดาเนินการตามปกติได้ทนั )
121
การทาสัญญาจ้างก่อสร้างทุกประเภท
ต้องมีเงื่อนไขให้มีการปรับราคาได้(ค่าK)
มติคณะรัฐมนตรี หนังสือของสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ที่นร ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒กาหนดให้ความ
ช่วยเหลือผูป้ ระกอบอาชีพก่อสร้าง
โดยให้ทุกส่วนราชการมีขอ้ กาหนดในประกาศสอบ
ราคา ประกวดราคา ไว้ดว้ ยว่าจะทาสัญญาแบบปรับ
ราคาได้ และในขั้นตอนทาสัญญาต้องการทาสัญญา
แบบปรับราคาได้ (ค่าK)
กรณีมีปัญหา ให้หารือสานักงบประมาณ
122
ข้อควรรู/้ การแก้ไขสัญญาก่อสร้างเป็ นสัญญาแบบปรับ
ราคาได้(ค่าK)ตามเจตนารมณ์เดิมที่ประกาศ กระทาได้
Ref.กวพ/๐๘๘๔๓
ลว.๒๒ มี.ค.๕๓
ในประกาศประกวดราคา มีขอ้ กาหนดในการทาสัญญา
แบบปรับราคาได้ แต่ในสัญญาไม่มีเงื่อนไขดังกล่าว
คู่สญ
ั ญาร้องขอให้แก้ไขสัญญาให้ถูกต้อง
มติกวพ. ส่วนราชการกาหนดการปรับราคาค่างานก่อสร้างไว้ใน
ประกาศแล้ว การแก้ไขสัญญาให้เป็ นสัญญาแบบปรับราคาได้ตาม
เจตนารมณ์เดิม จึงไม่เป็ นเรือ่ งที่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
อย่างไรก็ดี แม้ผรู ้ บั จ้างจะส่งงานงวดสุดท้ายแล้ว และ
คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจรับงานเสร็จสิ้นแล้ว หากเป็ นการ
แก้ไขรายละเอียดของงานเท่านั้นที่ไม่สามารถแก้ไขได้
123
ผลของสัญญา
หลักการ
สัญญามีผลนับตัง้ แต่วนั ที่ค่สู ญ
ั ญาได้ลงนามในสัญญา
ยกเว้น
 คู่สญ
ั ญามีขอ้ ตกลงกาหนดเงื่อนไขกันไว้ในสัญญา
เป็ นอย่างอื่น
ระเบียบข้อ๑๓๕
สัญญา/ข้อตกลงที่มีมูลค่า ๑ ล้านบาทขึ้นไป
ให้สง่ สาเนาให้สตง.และกรมสรรพากรภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วนั ทาสัญญา หรือ ข้อตกลงด้วย
124
การบริ หารสั ญญา
125
ใคร ? เป็ นผูม้ ีหน้าที่บริหารสัญญา
คาวินิจฉัยกวพ.ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๒๘๕๑๔ลว.๑๒ ต.ค.๔๘
เจ้าหน้าที่พสั ดุ/ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
โดยปกติ ต้องมีหน้าที่บริหารสัญญา กล่าวคือ เมื่อสัญญา
ครบกาหนด จะต้องแจ้งให้ผขู ้ ายหรือรับจ้างส่งมอบงาน
ตามสัญญา เจ้าหน้าที่ดงั กล่าว จะต้องเสนอหัวหน้าส่วน
ราชการให้มี หนังสือแจ้งเตือน แจ้งปรับ แล้วแต่กรณี
หากมิได้ดาเนินการ จะถือว่าละเลยไม่ดาเนินการตามหน้าที่
126
กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา
(ข้อ ๑๑๘)
หลัก *สัญญาทีล่ งนามแล้ว ห้ามแก้ไขเปลีย่ นแปลง
ข้อยกเว้น -กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข
เป็ นอานาจผูว้ ่าการพิจารณา
การแก้ไขจะต้องเป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ราชการ
หรือไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
ระยะเวลาทีจ่ ะแก้ไข :-
“จะแก้ไขเมือ่ ไดก็ได้
แต่ตอ้ งก่อนการตรวจรับงวดสุดท้าย”
127
การแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา (ต่อ)
การแก้ไขสัญญา ถ้าจาเป็ นต้อง:-เพิม่ /ลดวงเงิน /ขยายเวลาการส่งมอบ/
ก็ให้ตกลงไปพร้อมกัน
กรณีงานเกีย่ วกับความมันคงแข็
่
งแรง/งาน
เทคนิคเฉพาะอย่าง
-ต้องได้รบั การรับรองจากสถาปนิก/วิศวกรฯ ที่
รับผิดชอบ ก่อนการแก้ไข
128
คู่สญ
ั ญาขอแก้ไขสัญญา เพื่อเปลี่ยนพัสดุใหม่
เนื่องจากบริษัทเลิกผลิตแล้ว
ปั ญหา บริษทั แจ้งขอแก้ไขสัญญาโดยเปลี่ยนพัสดุใหม่
จากรุน่ ที่ทาสัญญาไว้ เป็ น รุน่ ใหม่ที่มีคุณภาพเท่าเดิม
หรือดีกว่าเดิม ราคา และเงื่อนไขเดิม หรือดีกว่าเดิม
แนวทางแก้ไข
หากส่วนราชการเห็นควรแก้ไขสัญญา
เพื่อประโยชน์ราชการ และมิได้ทาให้ทางราชการ
เสียประโยชน์ ก็สามารถกระทาได้
129
คู่สญ
ั ญาส่งของไม่ได้ตามสัญญา
จะขอเปลี่ยนพัสดุ เนื่องจากบริษัทเลิกผลิตแล้ว (ต่อ)
แต่การแก้ไขสัญญา
(๑) จะต้องระบุการสงวนสิทธิ์เรียกค่าปรับจากผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง
(๒) ต้องกาหนดระยะเวลาการส่งมอบใหม่ให้ชดั เจนใน
สัญญาที่แก้ไขใหม่ดว้ ย
(หากไม่เขียน จะเรียกค่าปรับไม่ได้ เพราะไม่มีวนั ส่งมอบที่จะ
นามาคานวณค่าปรับได้ เนื่องจากเป็ นการเปลี่ยนแปลงสิ่งซึ่งเป็ น
สาระสาคัญแห่งหนี้ ถือว่าเป็ นการยกเลิกสัญญาเดิมหรือแปลงหนี้ใหม่
สัญญาเดิมย่อมระงับไป แม้จะสงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับไว้ก็ตาม แต่
ขณะที่บริษทั ขอแก้ไขสัญญานั้น ค่าปรับยังไม่เกิดขึ้น)
130
การทาสัญญาจ้างก่อสร้างแบบเหมารวมจะจ่ายค่า
งานเพิ่ม-ลดไม่ได้ เว้นแต่ คู่สญ
ั ญาตกลงกัน
เป็ นสัญญาที่กาหนดค่าจ้างเหมารวมเป็ นเกณฑ์ หมายถึง ราคา
ค่าจ้างจะคงที่ กาไรหรือขาดทุน ผูร้ บั จ้างจะรับไปคนเดียว
กล่าวคือ ผูร้ บั จ้างประมูล
งานมาได้ราคาเท่าใด เมื่อ
ก่อสร้างถูกต้องตามสัญญา
หากมีค่าใช้จา่ ยน้อย ก็จะได้
กาไรมาก หน่วยงานผูว้ ่าจ้าง
จะปรับลดค่าจ้าง หรือไม่จา่ ย
ค่าจ้างในส่วนนัน้ ๆ ไม่ได้
ในทางกลับกัน
ถ้าผูร้ บั จ้างคานวณงานตาม
สัญญาผิดพลาดต้องใช้เงินทุน
มากกว่าค่าจ้างที่ตกลงกันไว้
ในสัญญา จะเรียกค่าจ้างเพิ่ม
อีกไม่ได้ (ฎีกา๑๒๓๗/๒๕๒๓./
มติกวพ. ๓๒/๒๕๔๖)
131
ใคร ?
เป็ นผูเ้ สนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ
แก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา หรือข้อตกลง การงด
ลดค่าปรับ/ขยายเวลาสัญญา/ข้อตกลง
• หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร
(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลว.๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓
ข้อ ๓ กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของ : คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
• แล้วแต่กรณีเป็ นผูเ้ สนอความเห็นในแต่ละครัง้ ด้วย
132
คู่สญ
ั ญาขอแก้ไขสัญญา เพื่อเปลี่ยนพัสดุใหม่
เนื่องจากบริษัทเลิกผลิตแล้ว
ปั ญหา บริษทั แจ้งขอแก้ไขสัญญาโดยเปลี่ยนพัสดุใหม่
จากรุน่ ที่ทาสัญญาไว้ เป็ น รุน่ ใหม่ที่มีคณ
ุ ภาพเท่าเดิม
หรือดีกว่าเดิม ราคา และเงื่อนไขเดิม หรือดีกว่าเดิม
วิธีปฏิบตั ิ
หากส่วนราชการเห็นควรแก้ไขสัญญา
เพื่อประโยชน์ราชการ และมิได้ทาให้ทางราชการ
เสียประโยชน์ ก็สามารถกระทาได้
133
คู่สญ
ั ญาส่งของไม่ได้ตามสัญญา
จะขอเปลี่ยนพัสดุ เนื่องจากบริษัทเลิกผลิตแล้ว (ต่อ)
ในการแก้ไขสัญญา
(๑) ต้องระบุการสงวนสิทธิ์เรียกค่าปรับจากผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง
(๒) ต้องกาหนดระยะเวลาการส่งมอบใหม่ให้ชดั เจนใน
สัญญาที่แก้ไขใหม่ดว้ ย
(หากไม่เขียน จะเรียกค่าปรับไม่ได้ เพราะไม่มีวนั ส่งมอบที่จะ
นามาคานวณค่าปรับได้ เนื่องจากเป็ นการเปลี่ยนแปลงสิ่งซึ่งเป็ น
สาระสาคัญแห่งหนี้ ถือว่าเป็ นการยกเลิกสัญญาเดิมหรือแปลงหนี้ใหม่
สัญญาเดิมย่อมระงับไป แม้จะสงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับไว้ก็ตาม แต่
ขณะที่บริษทั ขอแก้ไขสัญญานั้น ค่าปรับยังไม่เกิดขึ้น)
134
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสัญญา (ข้อ๑๒๑/๑๒๒)
ข้อ ๑๒๑ ให้พิจารณาได้เฉพาะเหตุดงั ต่อไปนี้
(๑) เหตุเกิดจากความผิด/ความบกพร่องของสถาบัน
(๒) เหตุสุดวิสยั
(๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สญ
ั ญาไม่ตอ้ งรับผิด
ข้อ ๑๒๒ กรณี เป็ นความจาเป็ น เพื่อประโยชน์ สถาบัน
เงื่อนไข
• ให้สถาบันระบุไว้ในสัญญาให้ค่สู ญ
ั ญาของทางราชการจะต้องมี
หนังสือแจ้งเหตุที่เกิดขึ้นตาม ข้อ ๑๒๑(๒)หรือ(๓) ให้ทราบ ภายใน
๑๕ วัน นับแต่เหตุน้นั สิ้นสุดลง เว้นแต่(๑) มีหลักฐาน /ทราบอยู่แล้ว
นับแต่เหตุส้ นสุ
ิ ดให้พิจารณาให้ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดข้น้ จริง
อานาจอนุมตั ิ
• ผูว้ ่าการ
135
การพิ
จ
ารณาอนุ
ม
ต
ั
ใ
ิ
ห้
ง
ด/
ลดค่
า
ปรั
บ
ข้อ
หรือการขยายระยะเวลาสัญญา
ควรรู ้
ไม่ตอ้ งทาสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม
• วิธีปฏิบตั ิ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาให้งด หรือลด
ค่าปรับ หรืออนุมตั ใิ ห้ค่สู ญ
ั ญาขยายระยะเวลาการส่งมอบ
พัสดุหรืองานจ้างตามสัญญาแล้ว
ส่วนราชการไม่จาต้องแก้ไขสัญญาเพิ่มเติมแต่อย่างใด
เนื่องจากเป็ นสัญญาฝ่ ายเดียว ไม่จาต้องให้คูส่ ญ
ั ญายินยอม
เพียงแต่เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการแจ้งให้ค่สู ญ
ั ญาทราบการงด /ลด
ค่าปรับ /หรืออายุสญ
ั ญาขยายเวลาสิ้นสุดเมื่อใด
เพื่อให้คูส่ ญ
ั ญาทราบเท่านัน้
136
ความรู ้
เกี่ยวกับหลักประกัน
-ซองเสนอราคา
-หลักประกันสัญญา
137
หลักประกันซอง และ หลักประกันสัญญา
กาหนดให้ผเู ้ สนอราคาในวิธีประกวดราคา หรือคู่สญ
ั ญาต้อง
นาหลักประกันมาวาง(ระเบียบฯข้อ ๑๒๓มี๗อย่าง)
ให้ใช้หลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้
๓.
๒.
๑.
เช็ค
เงินสด
ที่ธนาคาร
เซ็นสั ่งจ่าย
๔.
หนังสือ หนังสือค้า
ประกันของ
ค้าประกัน บริษทั เงินทุน
ธนาคาร หลักทรัพย์ตาม
ภายใน รายชื่อที่ธปท.
ประเทศ แจ้งเวียนชื่อ
๕.
พันธ
บัตร
รัฐบาล
138
หลักประกันซอง และ หลักประกันสัญญา
กาหนดให้ผเู ้ สนอราคาในวิธีประกวดราคา หรือคู่สญ
ั ญาต้อง
นาหลักประกันมาวาง(ระเบียบฯข้อ ๑๒๓มี๗อย่าง)
หนังสือ
ค้าประกันธนาคาร
ใน ต่างประเทศที่มี
หลักฐานดี และผูว้ ่าการ
เชื่อถือ สาหรับกร
ประกวดราคานานาชาติ
ดร๊าฟที่ลงวันที่ที่
ใช้ดร๊าฟนั้นชาระต่อ
เจ้าหน้าที่ หรือก่อนวัน
นั้นไม่เกิน ๓ วันทาการ
และเป็ นดร๊าฟที่สั ่งจ่าย
ภายในท้องถิ่นที่ยื่นซอง
เสนอราคา
139
มูลค่าหลักประกันสัญญา (ข้อ ๑๔๒/๑๔๓)

อัตราจานวนเต็ม ๕% ของวงเงินที่ทาสัญญา
 เว้นแต่ การจัดหาที่สาคัญพิเศษ กาหนดสูงกว่าได้
ไม่เกิน ๑๐%
 ข้อ๑๔๓ กรณี ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็ น
คู่สญ
ั ญาได้รบั การยกเว้น ไม่ต้องวางหลักประกัน
คู่สญ
ั ญาจะวางหลักประกันสูงกว่าที่กาหนด
ให้อนุโลมรับได้
140
แนวปฏิบตั ทิ ี่ถูกต้องในการออกหนังสือค้าประกันธนาคาร
(เพื่อใช้เป็ นหลักประกันสัญญา)
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว
๓๖๕๙ ลว. ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๑ กาหนดวิธีปฏิบตั ไิ ว้ดงั นี้
(๑.)
ส่วน
ราชการ
ต้อง
จัดพิมพ์
ร่างสัญญา
ให้
สมบูรณ์
(๓.)
(๒.)
นัดหมาย
กาหนดวัน ผูข้ าย/
ทาสัญญา ผูร้ บั จ้าง
ล่วงหน้า
ซื้อขาย
ว่าจะทา
หรือ
สัญญาจ้าง สัญญาใน
วันใด
(๔.) กาหนดเลขที่สญ
ั ญา
เพื่อให้ผขู ้ าย/ผูร้ บั จ้างนา
ร่างสัญญาไปออกหนังสือ
ค้าประกันของธนาคาร
-เพื่อให้ธนาคารผูอ้ อกหนังสือ
ค้าประกัน กรอกข้อความ
ในหนังสือค้าประกันได้อย่าง
สมบูรณ์ ครบถ้วน
141
ข้อควรระวังในการ
รับหลักประกันที่เป็ นพันธบัตรรัฐบาล
หนังสือกระทรวงการคลัง ที่กค๐๕๐๗/๔๘๔๐๕ลว. ๒๗ กันยายน
๒๕๒๖
๑. ให้ผรู ้ บั พันธบัตรรัฐบาลไว้เป็ นหลักประกัน มีหนังสือแจ้ง ธนาคาร
แห่ งประเทศไทย(ธปท.)ทราบ
-เพื่อธปท.จะได้ลงทะเบียนบันทึกการรับหลักประกันไว้ แล้วมี
หนังสือตอบรับการแจ้งให้ทราบ
๒. การถอนหลักประกัน ให้ผรู ้ บั หลักประกันมีหนังสือแจ้งธปท.
ทราบ เพื่อจะได้ลงทะเบียนบันทึกการถอนหลักประกัน
เมื่อคูส่ ญ
ั ญาผิดสัญญา กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรยังไม่ตกเป็ นของผูร้ บั
หลักประกัน จะต้องฟ้องบังคับตามสัญญาค้าประกันก่อน
142
วิธีปฏิบตั ใิ นการรับหลักประกันที่เป็ นพันธบัตรรัฐบาล
(กรณีเป็ นพันธบัตรของบุคคลธรรมดา)
• มติกวพ.ครั้ งที่ ๒๖/๒๕๕๒ พ.ย.
๕๒
• กรณีพันธบัตรที่เป็ นชื่อของ
บุคคลธรรมดา ซึ่งมิใช่ ช่ อื ของ
นิตบิ ุคคลผู้เสนอราคา หรือ
คู่สัญญา
• ที่ผ้ ูเสนอราคา หรือคู่สัญญา
นามาวางเป็ นประกัน ระเบียบ
ยังไม่ เคยวางหลักเกณฑ์ ไว้
• อย่างไรก็ดี
• เพื่อป้องกันปั ญหาโต้แย้งกัน
ในภายหลัง
• เห็นควรกาหนดให้มีหนังสือ
ยินยอมจากผูท้ รงพันธบัตร
ให้นามาวางเป็ นหลักประกัน
ได้โดยปราศจากเงื่อนไขใด ๆ
143
การบอกเลิก
และ การตกลงกันเลิก
สัญญา/ข้อตกลง
144
การบอกเลิก/ตกลงกันเลิกสัญญา หรือข้อตกลง
หลักการ (ข้อ ๑๑๙) เป็ นดุลยพินิจของผูว้ ่าการ
๑.)การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาจ้าง
เมื่ อ ผิ ด สั ญ ญา
มี เ หตุ เ ชื่ อ ได้ว่ า ผู ้ รั บ จ้า งไม่ ส ามารถทา งานได้แ ล้ ว
เสร็ จ ภายในระยะเวลาที่ กาหนด
๒.) การตกลงบอกเลิกสัญญา/ ข้อตกลง ให้ทาได้แต่เฉพาะ
ที่ เ ป็ นประโยชน์ ห รื อ เพื่ อ แก้ ไ ขข้ อ เสี ย เปรี ย บ ของ
สถาบั น โดยตรง
(หากจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา /ข้ อ ตกลงต่ อ ไป )
145
ข้อควรระวัง
เรื่องการบอกเลิกสัญญา
ปั ญหา ถ้าส่วนราชการคู่สญ
ั ญา มีหนังสือแสดงเจตนาใช้
สิทธิบอกสัญญาไปยังผูข้ าย หรือผูร้ บั จ้างแล้ว
 ย่อมมีผลให้สญ
ั ญาสิ้นสุดลงทันที และไม่อาจถอน
การบอกเลิกสัญญาได้(ประมวลกฎหมายแพ่งฯม.๓๘๖)
แนวทางปฏิบตั ิ คาวินิจฉัยกวพ.
คู่สญ
ั ญาที่เป็ นผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง จะขอผ่อนปรนการปฏิบตั ติ าม
สัญญาอีกไม่ได้
หากส่วนราชการประสงค์จะซื้อ/จ้าง รายเดิม ต้องดาเนินการ
จัดหาใหม่ จะแก้ไขสัญญาก็มิได้
146
ข้อ ๑๒๐ การบอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง
หากจานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อยละ ๑๐
หลักการ
กรณีค่สู ญ
ั ญาปฏิบตั ผิ ิดสัญญา/ข้อตกลง หากจานวนเงินค่าปรับ
จะเกินร้อยละ ๑๐ ของวงเงินค่าพัสดุหรือค่าจ้าง
ให้สว่ นราชการบอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง นั้น
ข้อยกเว้น
เว้นแต่ คู่สัญญายินยอมเสียค่าปรับให้โดยไม่มี
เงื่อนไขใด ๆทัง้ สิ้น ให้ผูว้ ่าการผ่อนปรน
การบอกเลิกสัญญาได้เท่าที่จาเป็ น
147
เมื่อเลิกสัญญาแล้วจะริบหลักประกันสัญญาทั้งหมด/
หรือริบแต่เพียงบางส่วน ได้หรือไม่?
• แนวทางปฏิบตั ิ (มติกวพ.)
เมื่อบอกเลิกสัญญาแล้ว ส่วนราชการผูซ้ ้ ือจะใช้สิทธิริบ
หลักประกันสัญญาตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ข้อ ๘
เต็มจานวนหลักประกันทัง้ หมด หรือเพียงบางส่วน ก็ได้
แต่การจะริบทัง้ หมด หรือ บางส่วน นัน้ ขึ้นอยู่กบั ว่า จานวน
ค่าปรับ และค่าเสียหายอื่น (ถ้ามี) รวมกันแล้วไม่เกินกว่า
จานวนเงิน ตามหลักประกัน
ส่วนราชการผูซ้ ้ ือ อาจใช้ดลุ พินิจริบหลักประกัน
เพื่อชดใช้ได้ตามจานวนค่าเสียหายที่แท้จริง
148
การใช้สิทธิตามสัญญา ภายหลังบอกเลิกสัญญาแล้ว
มติกวพ. ๔๗/พ.ย.๕๒ กรม ว. ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามเงื่อนไขของ
สัญญาซื้อเครือ่ งตรวจวิเคราะห์ทางอิมมูโนเอสเสย์ แบบอัตโนมัตไิ ป
แล้ว ย่อมมีสิทธิดงั นี้
๑. ริบหลักประกันสัญญา หรือเรียกร้องจากธนาคารผูค้ ้าประกัน
๒.กรณีมีค่าปรับ ให้เรียกร้องจากคู่สญ
ั ญาให้ชาระค่าปรับโดยคิดตั้งแต่
วันถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญา จนถึงวันบอกเลิกสัญญา
หักด้วยจานวนวันที่สว่ นราชการใช้ไปในการตรวจรับ
๓. หากต้องซื้อใหม่ และมีราคาเพิ่มขึ้นจากวงเงินตามสัญญาเดิม
ย่อมเรียกให้ชดใช้ราคาส่วนที่เพิ่มขึ้นได้ดว้ ย
๔. ค่าเสียหายอื่น ๆ (ถ้ามี) ได้แก่ ค่าขาดรายได้ หรือขาดประโยชน์
จากการรับจ้างวิเคราะห์
149
การใช้สิทธิตามสัญญาภายหลังบอกเลิกสัญญา
(ต่อ)
ทั้งนี้ ให้นาค่าเสียหายข้างต้นทั้งหมดมาหักจากเงิน
ประกันสัญญา ถ้าเหลือให้คืนบริษทั ฯคู่สญ
ั ญา
หากมีค่าเสียหายท่วมจานวนหลักประกันให้ยดึ ไว้
ทั้งหมดโดยไม่ตอ้ งคืนหลักประกันสัญญา และใช้
สิทธิเรียกร้องเพิ่มจนครบจานวนด้วย
150
ความรูเ้ กี่ยวกับ
การตรวจรับพัสดุ
ตาม ข้อ ๕๙ ข้อ ๖๐ข้อ ๖๑ข้อ๖๒
151
กาหนดระยะเวลาการตรวจรับพัสดุ
ส.เวียน สานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร.๑๓๐๕/ว.๕๘๕๕ ลว. ๑๑ กค.๔๔
เรือ่ ง ระยะเวลาตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง และการตรวจรับพัสดุ
ให้ตรวจรับวันที่มีหนังสือนาพัสดุมาส่งตามเงื่อนไขสัญญา
ต้องมีหลักฐานการส่งมอบเป็ นหนังสือด้วย เพื่อ:-ให้ใ ช้เ ป็ นหลัก ฐานยืน ยัน วัน ที่ ส่ ง มอบตามสัญ ญา
และเป็ นประโยชน์ในการคิดคานวณค่าปรับ
152
การนับระยะเวลาตรวจรับงานก่อสร้าง
ให้นบั ตัง้ แต่เมื่อใด ?
ผูค้ วบคุมงาน
งวดงานละ ๓ วันทาการ
ให้นบั ถัดจากรับ
หนังสือส่งมอบจาก
ผูร้ บั จ้าง
คกก.ตรวจการจ้าง
งวดงานละ ๓ วันทาการ
งวดสุดท้าย ๕ วันทาการ
ให้นบั ถัดจากวันที่
ผูค้ วบคุมงานตรวจเสร็จ
และรายงานให้ประธาน
กรรมการตรวจการจ้าง
ทราบแล้ว
153
ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้ างก่ อสร้ าง
นร (กวพ) 1002/ว 9 -ให้ หน.ส่ วนราชการหรือผู้มอี านาจแต่ งตั้ง กาหนดระยะเวลา
-ปฏิบัตงิ านทุกครั้ง/ให้ คกก.ตรวจรับ / ตรวจการจ้ าง รายงานผล
ลว. 4 เม.ย. 33
-ภายในกาหนด + ถ้ าล่าช้ า ให้ ขอขยายเวลา
นร 1305/ว 5855 ลว. 11 ก.ค. 44 + สร 1001/ว 35 ลว. 30 ธ.ค. 25
ระยะเวลาตรวจรับพัสดุ
ระยะเวลาเริ่มตรวจ
ระยะเวลาตรวจการจ้ าง
ระยะเวลาการตรวจ ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ
ตรวจให้ เสร็จสิ้นโดยเร็วทีส่ ุ ด
วันทีส่ ่ งมอบ แต่ อย่ างช้ าไม่ เกิน5 วันทาการ
(ไม่รวมเวลาที่ใช้ทดลอง)
ตารางถัดไป
154
กาหนดระยะเวลาในการตรวจรับ/ตรวจการจ้ าง
งานจ้ างก่อสร้ างแบบราคาเหมารวม (Lump Sum)
ราคาค่ างาน
ทุกราคาค่ างาน
วันทาการ
ผู้ควบคุมงาน
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง
งวดงาน งวดสุ ดท้ าย งวดงาน
งวดสุ ดท้ าย
3 วัน
3 วัน
3 วัน
5 วัน
งานจ้ างก่อสร้ างแบบราคาต่ อหน่ วย (Unit Cost)
ราคาค่ างาน
วันทาการ
ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้ าง
รายงวด ครั้งสุ ดท้ าย รายงวด
ครั้งสุ ดท้ าย
ไม่ เกิน 30 ล้านบาท 4 วัน
ไม่ เกิน 60 ล้านบาท 8 วัน
ไม่ เกิน 100 ล้านบาท 12 วัน
เกิน 100 ล้านบาทขึน้ ไป 16 วัน
8 วัน
12 วัน
16 วัน
20 วัน
3 วัน
3 วัน
3 วัน
3 วัน
5 วัน
5 วัน
5 วัน
5 วัน
** ทาไม่ เสร็จภายในกาหนด ให้ รายงาน หน.ส่ วนราชการ + สาเนาแจ้ งค่ สู ัญญาทราบ **155
วิธีการตรวจรับพัสดุขอ้ ๕๙
กาหนดหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
 ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน ตามสัญญา /ข้อตกลง
กรณีจาเป็ นไม่อาจตรวจนับเป็ นจานวนหน่วยได้ท้งั หมด
• ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ
> รับพัสดุไว้/ ถือว่าผูข้ าย,ผูร้ บั จ้าง ส่งมอบครบวันที่นาพัสดุมาส่ง
> มอบของให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ
> ทาใบตรวจรับอย่างน้อย 2 ฉบับ (ให้ผขู ้ าย 1 เจ้าหน้าที่พสั ดุ 1 เพื่อ
ประกอบการเบิกจ่ายเงิน )
 > รายงานผลให้ ผูว้ ่าการทราบ
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีส่งมอบไม่ ถูกต้ องตามสัญญา
> ไม่ถูกต้องในรายละเอียด
* ให้รายงาน ผูว้ ่าการทราบเพื่อสั ่งการทันที
กรณีถูกต้ องแต่ ไม่ ครบจานวน/ หรื อครบแต่ ไม่ ถูกต้ องทัง้ หมด
*แจ้งผูข้ าย/ ผูร้ บั จ้าง ทราบภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั
ตรวจพบ หากจะให้รบั เฉพาะที่ถูกต้อง รีบรายงาน ผูว้ ่าการ
ผ่านหัวหน้าแผนกจัดหาพิจารณา แก้ไขสัญญาก่อน แล้วจึง
ตรวจรับส่วนที่ถูกต้อง
> >สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่สง่ ไม่ถูกต้อง)
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ (ต่ อ)
กรณีพสั ดเุ ป็ นชุด / หน่ วย
ให้ดวู ่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ง
จะใช้การไม่ได้อย่างสมบูรณ์
* ถือว่ายังไม่ได้สง่ มอบ

รีบรายงาน ผูว้ ่าการภายใน 3 วันทาการนับแต่ตรวจพบ
กรรมการตรวจรั บบางคนไม่ ยอมรั บพัสดุ
ให้ทาความเห็นแย้งไว้ ถ้ าผู้ว่าการสั่งการให้ รับพัสดุไว้
* ให้ ออกใบตรวจรับให้ ผ้ ูขาย/ผู้รับจ้ างและจนท.จัดหาเป็ นหลักฐาน
การตรวจรับงานจ้างเหมาบริการของ
คณะกรรมการตรวจการจ้างเหมาบริการ ข้อ ๖๒
๑) ตรวจการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง ที่ผคู ้ วบคุมงาน รายงาน
๒) ตรวจผลงานผูร้ บั จ้างให้เสร็จภายใน ๓ วันทาการ นับแต่
ประธานรับทราบการส่งมอบงาน
๓) หากถูกต้องตามสัญญา ถือว่าถูกต้องตั้งแต่วนั ส่งมอบงาน
๔) ให้ทารายงานรับรองผลตรวจการจ้างนัน้ ทัง้ หมดหรือเฉพาะ
งวด แล้วแต่กรณี ลงชื่อเป็ นหลักฐานอย่างน้อย ๒ ฉบับ(มอบ
ผูว้ ่าจ้าง/ เจ้าหน้าที่จดั หา เพื่อเบิกจ่ายต่อไป
และรายงานให้ผวู ้ ่าการทราบ
๕) หากไม่ถูกต้องทัง้ หมด หรืองวดใด ให้รายงานผูว้ ่าการสั่งการ
ต่อไป
159
ผูค้ วบคุมงานการจ้างเหมาบริการมีหน้าที่ดงั นี้ ข้อ ๖๓
๑.ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานที่ท่ีกาหนด ให้เป็ นไปตาม
รายละเอียดในสัญญาทุกวัน
-หากผูร้ บั จ้างไม่ปฏิบตั ติ าม ให้มีอานาจสั่งให้ปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้อง และ
รายงาน คกก.ตรวจการจ้างเหมาบริการทราบทันที
๒.จดบันทึกการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง และเหตุการณ์แวดล้อม
ทุกวัน พร้อมผล และรายงานคกก.ตรวจการจ้างทราบทุกเดือน
-หากผูค้ วบคุมงานลงชื่อตรวจสอบสมุดลงชื่อผูร้ บั จ้าง
แล้ว จะไม่จดบันทึกการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างก็ได้ แต่
ต้องจดบันทึกในสมุดลงชื่อลูกจ้าง ของผูร้ บั จ้างไว้ดว้ ย
160
หน้าที่(ต่อ)
ผูค้ วบคุมงานการจ้างเหมาบริการ ข้อ ๖๓
๓. ในวันกาหนดลงมือทางานของผูร้ บั จ้าง และใน
วันที่ถงึ กาหนดส่งมอบงานแต่ละงวด
-ให้รายงานผลการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง ว่าเป็ นไป
ตามสัญญาหรือไม่ ไปให้คกก.ตรวจการจ้างทราบภายใน ๓
วันทาการ นับแต่วันถึงกาหนดนัน้ ๆ
161
วิธีการตรวจรั บงานจ้ างก่อสร้ าง
 ระเบียบฯ พัสดุ ข้ อ ๖๐
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ตรวจตามรายงานของผ้ คู วบคมุ งาน
 ดูการปฏิบต
ั งิ านของผูร้ บั จ้าง

ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์

รับทราบการสั่งการของผูค้ วบคุมงาน กรณีสั ่งผูร้ บั จ้างหยุด/
พักงาน
แต่ตอ้ งรายงาน หส.ราชการทราบ/สั ่งการ
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจการจ้ าง (ต่ อ)
กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่ าไม่ น่าจะเป็ นตามหลักวิชาการ



ให้ออกตรวจสถานที่ที่จา้ ง
ให้มีอานาจ
สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้
เพื่อให้เป็ นไปตามรูปแบบ /รายการ / ข้อตกลง
ตรวจผลงานที่สง่ มอบ
ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วน
ั ประธานกรรรมการ
รับทราบการส่งมอบงาน
ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
กรณีตรวจถูกต้ อง
 ทาใบรับรองผลงาน
 ทั้งหมด / เฉพาะงวด
 มอบให้ผรู ้ บ
ั จ้าง , จนท.จัดหา
 รายงาน ผูว้ ่าการทราบ
กรณีตรวจพบว่ าไม่ ถูกต้ อง
 ทั้งหมด / เฉพาะงวดใด
 ให้รายงาน ผูว้ ่าการทราบผ่าน หน.แผนกจัดหาเพื่อสั ่งการ
 ถ้า ผูว้ ่าการสั ่งรับไว้ ให้ทาใบรับรองผลงานได้
 หากมติกรรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน
ให้ทาความเห็นแย้งไว้
ผูค้ วบคุมงาน มีหน้าที่ตรวจรับงานจ้าง ดังนี้ขอ้
๖๑
1
ตรวจให้เป็ นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และ
ข้อตกลงในสัญญาทุกวัน
2
มีอานาจ
 สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ตาม
สมควรและตามหลักวิชาช่าง เพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูป
รายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญา
165
3
ถ้าผูร้ บ
ั จ้างขัดขืนไม่ปฏิบตั ติ าม
 ให้สั ่งหยุดงานนั้นเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือ /
ทั้งหมดไว้ก่อน จนกว่าผูร้ บั จ้างจะยอม
ปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องตามคาสั ่ง
และรีบรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทันที
4
กรณีเห็ นว่าแบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกาหนดสัญญา มี
ข้อความขัดกัน หรือคาดหมายได้ว่า
้ จะเป็ นไปตามแบบรูป รายการละเอียด หรือ
แม้ว่างานนัน
ข้อกาหนดสัญญา แต่เมื่อสาเร็จแล้วก็จะไม่ม่นั คง แข็งแรง /
ไม่เป็ นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือ ไม่ปลอดภัย ให้สามารถ
 สั่งพักงานไว้ก่อน แล้วรายงาน คกก. ตรวจการจ้างโดยเร็ว
166
5 จดบันทึกสภาพการปฏิบตั งิ านของผูร้ บ
ั จ้างเป็ นรายวัน
ไว้อย่างน้อย ๒ ฉบับ ดังนี้
 สภาพการปฏิบต
ั งิ าน / เหตุการณ์แวดล้อม/ ผลการ
ปฏิบตั งิ าน /การหยุดงาน/ สาเหตุที่มีการหยุดงาน
 เพื่อรายงานให้ คกก. ตรวจการจ้างทราบ ทุกสัปดาห์
 ให้เก็บรักษารายงานไว้ เพื่อมอบให้แก่ จนท.พัสดุ
เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด
โดยถือเป็ นเอกสารสาคัญ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ
ของผูม้ ีหน้าที่
ทัง้ นี้
ให้ระบุรายละเอียด
การบันทึกการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง
ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน และวัสดุท่ใี ช้ดว้ ย
167
ในวันกาหนดลงมือทาการของผูร้ บั จ้างตามสัญญา
และ วันถึงกาหนดส่งมอบงานแต่ละงวด
ให้ผคู ้ วบคุมงาน
รายงานผลการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างว่า เป็ นไปตาม
สัญญาหรือไม่ ?
►โดยให้รายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบ
ภายใน ๓ วันทาการ นับแต่วนั ถึงกาหนดนั้น ๆ
168
กรณีการปฏิบตั ิงานของผูค้ วบคุมงาน
ผูค้ วบคุมงานจะต้องไปปฏิบตั หิ น้าที่ ณ สถานที่ที่ผรู ้ บั จ้างทางาน
ตามสัญญาทุกวัน หรือไม่
และปฏิบตั ติ ามขั้นตอนที่ระเบียบฯ กาหนดหรือไม่
การที่จะต้องอยูป่ ฏิบตั งิ านตลอดทั้งวันหรือไม่
ถือเป็ นดุลพินิจของผูป้ ฏิบตั งิ านว่าในขั้นตอนของการทางานในวันนั้น
จาเป็ นที่ตอ้ งควบคุมดูแลตลอดเวลาการทางานของผูร้ บั จ้างหรือไม่
หากข้าราชการหรือลูกจ้างประจา ต้องปฏิบตั งิ านหลายแห่ง
ในวันและเวลาเดียวกัน เพราะเหตุที่สว่ นราชการมีบุคลากรไม่
เพียงพอ
ย่อมขึ้นอยูท่ ี่การใช้ดลุ พินิจของส่วนราชการในการมอบหมายงาน
ซึ่งจะต้องคานึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบตามระเบียบฯ
169
กรณีศึกษาตัวอย่าง
และแนวทางแก้ไขปั ญหา
ตามแนววินิจฉัยของกวพ.
170
ปัญหาข้อหารือเกี่ยวกับ
การตรวจรับพัสดุ
171
• ข้ อเท็จจริง
• สานักงาน ศ.ได้ทาสัญญาซื้ อขายเครื่องปรับอากาศพร้อมติดตั้ง
จ า น ว น ๘ ๐ เ ค รื่ อ ง กั บ บ ริ ษั ท ฯ โ ด ย ผู ้ ข า ย ไ ด้ ส่ ง ม อ บ
เครื่ อ งปรั บ อากาศ จ านวน ๘๐ เครื่ อ งให้ แ ก่ ผู ้ ซ้ ื อภายใน
กาหนดเวลาตามสัญญา
• แต่ปรากฏว่า เครื่องปรับอากาศที่มีขนาดตา่ กว่า ๓๐,๐๐๐ บีทียู
จานวน ๓๔ เครื่อง ไม่ได้รบั มาตรฐานประหยัดพลังงานเบอร์ ๕
ตามเงื่อนไข ที่กาหนดไว้ในสัญญา
 จึงเป็ นการส่งมอบครบถ้วน แต่ไม่ถูกต้องตามสัญญาบางส่วน
• ข้อหารือ
• สานักงานฯ ควรบอกเลิกสัญญากับบริษทั ฯ หรือ ควรตรวจ
รับบางส่วนโดยแก้ไขสัญญาเพื่อให้รบั ในส่วนที่ถูกต้อง
จานวน ๔๖ เครื่อง และไม่ตรวจรับจานวน ๓๔ เครื่อง
172
แนววินิจฉัยของ กวพ..
• ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๗๑ (๕) กาหนดหน้าที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุไว้ว่า
• ในกรณี ที่ ผู ้ข ายหรื อ ผู ้รับ จ้า งส่ ง มอบพัส ดุ ถู ก ต้อ งแต่ ไ ม่ ค รบ
จานวน หรือส่งมอบครบจานวนแต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด ถ้าสัญญา
หรือข้อตกลงมิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ตรวจรับไว้เฉพาะ
จานวนที่ถูกต้อง
• และโดยปกติให้รีบรายงานหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแจ้งให้ผขู ้ าย
หรือผูร้ บั จ้างทราบภายใน ๓ วันทาการ นับแต่วนั ตรวจพบ
• แต่ท้งั นี้ ไม่ตดั สิทธิของส่วนราชการที่จะปรับผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง
ในจานวนที่สง่ มอบไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องนั้น
173
หากส่วนราชการจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามข้อ ๙
คู่สัญญาแต่ละฝ่ ายจาต้องให้อีกฝ่ ายหนึ่ ง ได้กลับคื นสู่ฐานะดังที่
เ ป็ น อ ยู่ เ ดิ ม แ ต่ ทั้ ง นี้ จ ะ ใ ห้ เ ป็ น ที่ เ สื่ อ ม เ สี ย แ ก่ สิ ท ธิ ข อ ง
บุคคลภายนอกหาได้ไม่ ตามปพพ.มาตรา ๓๙๑
 โดยผูซ้ ้ ือจะต้องชดใช้เงินคืนตามควรค่าแห่งงาน
หากมีการงานหรือพัสดุที่ได้รบั ไว้และใช้ประโยชน์ในราชการได้
ตามสัญ ญาแล้ว ผู ซ้ ้ ื อจะต้อ งมี ก ารชดใช้ร าคาให้แ ก่ ผู ข้ าย และ
จะต้องมีการหักค่าปรับและค่าเสียหายอื่นๆ (ถ้ามี) ออกก่อนด้วย
 เว้น แต่ ก ารงานหรื อ พั ส ดุ ที่ รั บ ไว้ ผู ้ซ้ ื อไม่ ส ามารถน าไปใช้
ประโยชน์ตามสัญญาได้ จึงต้องถือว่าพัสดุหรืองานนั้น ไม่ควรค่า
แก่การชดใช้เงินคืน
อนึ่ ง เมื่ อ หน่ วยงานได้มี การบอกเลิ กสัญญาไปแล้ว และหน่ วยงานได้
จัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่น ผูข้ ายจะต้องชดใช้ราคาที่เพิ่มขึ้นจากราคาที่
กาหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย
174
หากส่วนราชการผูซ้ ้ ือเห็นว่า การตรวจรับเฉพาะส่วนที่ถกู ต้องไว้ใช้
ในราชการ จะเป็ นประโยชน์แก่ทางราชการมากกว่าการบอกเลิก
สัญญา ก็ สามารถที่จะตรวจรับบางส่วนไว้ใช้ในราชการได้ ตาม
เงื่อนไขของสัญญา ข้อ ๕ วรรคสามดังกล่าว และเบิกจ่ายเงินให้แก่
ผูข้ ายตามจานวนที่ส่งมอบถูกต้องตามเงื่อนไขของสัญญา
 ทั้ง นี้ การตรวจรับ เครื่ อ งปรับ อากาศบางส่ ว นดัง กล่ า ว เนื่ อ งจาก
สัญญาฯ กาหนดให้มีการจ่ายเงินงวดเดียวเท่านั้นเมื่อผูข้ ายส่งมอบ
ของครบถ้วนถูกต้องตามสัญญา
ดังนั้น หากจะตรวจรับเฉพาะส่วนตามสัญญาข้อ ๕ จึงต้องแก้ไข
สัญญาตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๖ ด้วย เพื่อให้สามารถแบ่งจ่ายเงิ น
เป็ นงวดได้ และจะต้องสงวนสิทธิการปรับในจานวนที่ส่งมอบไม่
ถูกต้องไว้ดว้ ย
สาหรับการคิดค่าปรับจะเริ่มคิ ดเมื่ อสิ้นสุ ดระยะเวลาตามสัญญา
แล้ว โดยเริ่มนับถัดจากวันสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญาไปจนถึงวันที่
ผูข้ ายส่งมอบสิ่งของถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้ หัก
ด้วยจานวนวันที่ส่วนราชการใช้ไปในการตรวจรับ
175
การตรวจรั บเครื่ องปรับอากาศ
ส. เวียน กวพ. ว. ๒๖๒๑ ล.๒๙ มี.ค. ๔๕
- การซือ้ /จ้ าง ที่ระบุ พร้ อมติดตัง้ เครื่องปรับอากาศ
- ถ้ าเครื่องปรับอากาศไม่ เสียภาษีสรรพสามิตให้
ถูกต้ อง จะทาให้ มีปัญหาครอบครอง และใช้ งานตามปกติ
วิธีปฏิบัติ จึงควรขอความร่ วมมือ จนท. สรรพสามิ ต มา
ช่ วยตรวจสอบ หรือ มาร่ วมเป็ นกรรมการตรวจรับ ก็ได้
- ถ้ าเสียภาษีไม่ ถูกต้ อง ถือว่ าผิดสัญญา เพราะ
๑. ราคาสิ่งของ/ค่ าจ้ างจ้ าง รวมภาษีทงั ้ ปวงไว้ แล้ ว
๒. อาจถูกสั่งเป็ นผู้ทงิ ้ งาน ต่ อไป
๓. อาจถูกปรับ
176
ผู้ขายส่ งมอบของพัสดุขาด / เกิน
 กรม ร.ซือ้ /กระสุนปื น ๙ มม.และ .๓๘ สเปเชียล
ตามสัญญา ซือ้ กระสุนขนาด ๙ มม. ๑๘,๗๘๕ นัด
แต่ ส่งของ - ๙ มม. ๑๐,๐๐๐ นัด ขาดไป ๘,๙๘๕ นัด
- .๓๘ สเปเชียล ๑๘,๗๘๕ นัด
ส่ งเกินไป ๘,๗๘๕ นัด
177
ผู้ขายส่งของพัสดุขาด / เกิน
มติกวพ. แนวปฏิบตั ิทีถ่ ูกต้อง--- โดยหลักการ---- ต้องรับมอบกระสุนปื นพกทีถ่ ูกต้องตามสัญญา
๑.)กรณี กระสุนลูกโม่ .๓๘ บริษทั ฯ ที่ส่งมาเกินกรมฯ ต้องรับ ให้ครบ
ตามจานวนทีก่ าหนดในสัญญาจานวน ๑๐,๐๐๐ นัด เท่านั้น
 ๒)กรณี บ ริ ษ ั ท ส่ ง มอบกระสุ น ปื นขนาด ๙ มม.ขาดจ านวนไป
ต้องเรียกให้บริษทั ส่งให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามสัญญาได้
-หากบริษทั ฯ ไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาข้อหนึง่ ข้อใด
-กรมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา และเรียกชดใช้ค่าเสียหายที่เพิ่ มขึ้ นได้
ตามจ านวนค่ า เสี ย หายที่ ต ้อ งซื้ อกระสุ น ปื น จ านวนดัง กล่ าว
กับผูข้ ายรายใหม่และค่าเสียหายอื่น ๆ (ถ้ามี)
 ทั้งนี้ กรมฯ จะต้องแก้ไขสัญญาก่อนตรวจรับตามจานวนทีแ่ ท้จริง ก่อน
178
ซื้ อของ กาหนด SPEC ไว้ ๖ รายการ
ส่ง CATALOG มา ๓๑ รายการ
หลัก การตรวจรับพัสดุ ตามสัญญา ต้องพิจารณาเจตนารมณ์
อันแท้จริงของคู่สญ
ั ญาในการทาสัญญาด้วย
- จ.อุ ต รดิ ต ถ์ ซื้ อเครื่ อ งถ่ า ยเอกสาร ก าหนดคุ ณ สมบัติ เ ฉพาะ
ไว้ ๖ รายการ วงเงิน ๙๕,๐๐๐ บาท
- บริษทั ฯ เสนอขายยี่หอ้ RICOH รุ่น ๒๐๒๒ วงเงิน ๙๕,๐๐๐
บาท มีรายละเอียด CATALOG ๓๑ รายการ
179
ซื้ อของ กาหนด SPEC ไว้ ๖ รายการ
ส่ง CATALOG มา ๓๑ รายการ(ต่อ)
แม้สญ
ั ญาจะกาหนดให้ CATALOG เป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาก็ตาม
แต่ คู่ ส ัญ ญามี เ จตนาซื้ อที่ มี คุ ณ ลัก ษณะ ๖ รายการ ตามเงื่ อ นไข
ทีป่ ระกาศกาหนด
คณะกรรมการตรวจรับ จึงต้องพิจารณาเจตนาที่แท้จริงของคู่สญ
ั ญา
เมื่อบริษทั ฯ ส่งมอบครบ ๖ รายการ ไม่ครบ ๓๑ รายการ
ก็ถือว่า – บริษัทฯ ส่งมอบถูกต้องตามเจตนารมณ์ของคู่สญ
ั ญาทั้ง ๒
ฝ่ ายแล้ว
(ส.ตอบข้อหารือ ที่ กค. (กวพ.๐๔๐๘/๒๐๐๕๔ ลว. ๑๓ กค. ๔๘)
180
ผูร้ บั จ้างมีหนังสือส่งมอบงานย้อนหลัง
จะตรวจรับอย่างไร
ตัวอย่าง - มีหนังสือส่งมอบงาน ๖ ก.ค. ๒๕๔๘
- แต่แจ้งว่าส่งมอบงานจริงตัง้ แต่ ๑๖ กพ. ๒๕๔๘ แล้ว
กรณีเป็ นการทาหนังสือส่งมอบย้อนหลังในวันที่งานเสร็จ
ถ้าพิสูจน์ไม่ได้ว่างานเสร็จจริงในวันที่๑๖กพ.หรือไม่
ต้องถือวันส่งมอบเป็ นหนังสือเป็ นสาคัญ
กรณี นี้ ป ราก ฏว่ า คกก . ตรวจการจ้ า งยอมรั บ ว่ างานเสร็ จ
วันที่ ๑๖ กพ.๔๘ และยอมรับว่าส่งงานจริงวันที่ ๑๖ กพ. แล้ว
- จึงต้องถือวันส่งมอบงานจริง คือ ๑๖ กพ. ๔๘
181
ปัญหาการตรวจการจ้าง
ก่อสร้าง
182
การนาพัสดุไปใช้ก่อนการตรวจรับ
ถือว่าเป็ นการรับมอบแล้วโดยปริยาย
เทศบาลจ้างบริษทั ฯ ก่อสร้างถนน จ่ายค่าจ้าง ๑๓ งวด
ผูร้ บั จ้างส่งงานงวดที่ ๑๓ สุดท้าย ปรากฏว่ามีเนื้องานงวด
ก่อนๆ ทั้ง ๑๒ งวด ซึ่งจ่ายเงินค่างวดไปแล้ว กลับมีความชารุด
บกพร่องอีก กรรมการสั ่งให้แก้ไขซ่อมแซม
ระหว่างการแก้ไข เทศบาลเปิ ดถนนให้ประชาชนใช้สญ
ั จร ไป-มา
ถือได้ว่า เป็ นการยอมรับมอบงานงวดที่ ๑๓ ไปแล้ว โดยปริยาย
 เทศบาลต้องจ่ายเงินค่าจ้างตามสัญญา
ส่วนปั ญหาความชารุดบกพร่องในงวดงานใด บริษทั ผูร้ บั จ้างต้อง
ซ่อมแซมแก้ไขตามเงื่อนไขสัญญา ข้อ ๖ เรือ่ งประกันความชารุด
บกพร่อง
183
ผูร้ บั จ้างฝ่ าฝื นคาสั ่งหยุดงานเฉพาะส่วน ของผูค้ วบคุมงาน
หรือของคกก.ตรวจการจ้าง และทางานต่อไปจนส่วนนั้นแล้ว
เสร็จ จะไม่ตรวจรับเฉพาะส่วนนั้น หรือทั้งหมด ได้หรือไม่ ?
แนววินิจฉัย กวพ.
สัญญาจ้างข้อ ๗ กาหนดว่า
ถ้าผูร้ บั จ้างเพิกเฉย ไม่ปฏิบตั ิ
ตามคาสั ่งคกก.ตรวจการจ้าง
หรือผูค้ วบคุมงาน ผูว้ ่าจ้างมี
สิทธิบอกเลิกสัญญาได้ และมี
สิทธิให้ผรู ้ บั จ้างรายใหม่เข้า
ทางานของผูร้ บั จ้างให้ลลุ ่วงไป
ได้ดว้ ย
สัญญาข้อ ๑๕ กาหนดให้
ผูค้ วบคุมงาน มีอานาจสั ่งแก้ไข
เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือ
ตัดทอน ซึ่งงานตามสัญญานี้ได้
หากผูร้ บั จ้างไม่ปฏิบตั ติ าม
คกก.ตรวจการจ้าง หรือผูค้ วบคุม
งานมีสิทธิสั ่งให้หยุดกิจการนั้น
ชั ่วคราวได้ ความล่าช้าไม่เป็ นเหตุ
ให้ขยายเวลาสัญญา
184
ดังนั้น หากส่วนราชการผูว้ ่าจ้าง
ไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา
อาจสั ่งให้
ผูร้ บั จ้างแก้ไข
เปลี่ยนแปลง
งานจ้างให้
ถูกต้องตรง
ตามสัญญาจ้าง
ได้
กรณีที่ผรู ้ บั จ้างทางานต่อไปจนแล้ว
เสร็จ และส่งมอบงานแล้ว
ผูค้ วบคุมงาน และคณะกรรมการ
ตรวจการจ้าง จะต้องตรวจรับให้
ถูกต้องครบถ้วน เป็ นไปตามแบบรูป
รายการละเอียด และข้อกาหนดใน
สัญญา
185
การส่งมอบและตรวจรับข้ามงวดงาน ทาได้หรือไม่ ?
มติกวพ.( ธ.ค.๔๘) ในหลักการ
สัญญาจ้างแบ่งงวดงาน
๑๐ งวด มิได้มีขอ้ กาหนดไว้
เป็ นอย่างอื่น จึงตรวจรับงาน
และจ่ายเงินข้ามงวดงาน
นอกไปจากที่สญ
ั ญากาหนด
ไม่ได้
“สัญญามีการแบ่งงวดงาน
และจ่ายเงินเป็ นงวดๆก็
เพื่อให้การก่อสร้างเป็ นไป
ตามลาดับขั้นตอนตามหลัก
วิชาการก่อสร้าง
การแบ่งจ่ายเงินเป็ นงวด ๆ ก็ เว้นแต่ เห็นว่า งานงวดใด
เพื่อให้ใช้เป็ นทุนหมุนเวียนใน เป็ นอิสระไม่เกี่ยวข้องกันและ
ระหว่างการทางานให้ผรู ้ บั จ้าง ประสงค์จะรับไว้ก่อน ก็ตอ้ ง
แก้
ไ
ขสั
ญ
ญาเพื
อ
่
ให้
ค
กก.ตรวจ
เกิดสภาพคล่องทางการเงิน.” การจ้าง ตรวจรับงานตาม
เงื่อนไขสัญญา
186
ความเสียหายเกิดขึ้นก่อนตรวจรับงานงวดสุดท้าย
ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบซ่อมแซมให้คืนดี แม้เกิดเหตุสุดวิสยั
ห นั ง สื อ เ วี ย น ก ว พ . ส ร . ๑ ๐ ๐ ๑ / ว . ๒ ๘ ล ว . ๑ ๘ พ . ย ๒ ๕
และในแบบสัญญาที่กวพ.กาหนด
การตรวจรับงานจ้างแต่ละงวด มิใช่ การตรวจรับมอบงานจ้า ง
ไว้ใช้ในราชการ
แต่เป็ นเพียงเพื่อจะออกใบตรวจรับงานจ้าง ให้ผรู ้ บั จ้างไว้เป็ น
หลักฐานเพื่อใช้ประกอบการเบิกจ่ายเงินค่างวดงานต่อไปเท่านั้น
หากความเสียหายใด ๆ เกิดขึ้นแก่งานจ้าง ระหว่างงวด
งานแม้จะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสยั ผูร้ บั จ้างก็ตอ้ งรับผิดใน
ความเสียหายนั้น โดยจัดหาใหม่/หรือแก้ไขซ่อมแซมให้คืนดี
187
การส่งมอบงานก่อสร้างครั้งละหลายๆงวด กระทาได้
บริษทั ฯ ก ผูร้ บั จ้างก่อสร้างอาคารเรียน ๙ ชั้น พร้อมลิฟท์ ตามสัญญา
แบ่งงวดงานออกเป็ น ๑๘ งวด งานล่าช้ากว่าสัญญา
บริษทั ฯ รีบก่อสร้าง และส่งงานงวดที่ ๑๒ – งวดสุดท้าย(งวดที่ ๑๘)
ในคราวเดียว ก็ชอบที่จะกระทาได้
แต่คณะกรรมการตรวจการจ้างต้องตรวจรับงานดังกล่าวให้ถูกต้องตามสัญญา
ข้อสังเกต การแบ่งงวดงาน เป็ นไปเพื่อประโยชน์ในการแบ่งจ่ายเงินให้
ผูร้ บั จ้างใช้เป็ นทุนหมุนเวียนในการทางาน เมื่อผูร้ บั จ้างทาตามขั้นตอนของ
งานแต่ละงวดถูกต้องตามสัญญา
-การส่งมอบงานเป็ นงวด-หลาย ๆ งวด จึงเป็ นสิทธิ์ของผูร้ บั จ้าง
188
ผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูร้ บั จ้างช่วงทา โดยไม่ได้รบั อนุ ญาต
เมือ่ ได้ตรวจรับไว้ใช้งานแล้วโดยไม่ทกั ท้วง
ถือว่ายอมรับแล้วว่า งานถูกต้อง
• ผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูร้ บั จ้างช่วงทา
กรมฯ กาหนดเงื่อนไขห้ามผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผู ร้ บั จ้างช่วง
ดาเนินงาน โดยมิได้รบั ความยินยอมจากผูว้ ่าจ้างก่อน
ปรากฏว่า  บริษทั ฯ ผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูอ้ ื่นรับจ้างต่อ
โดยมิได้รบั ความยินยอม จึ งเป็ นการผิดสัญญาข้อ ๗
แต่ เมื่อส่งมอบของให้กรมฯ และกรมฯ ตรวจรับไว้ใช้ง าน
เรียบร้อยแล้ว โดยมิได้ทกั ท้วงถือว่ายอมรับแล้ ว
189
คณะกรรมการตรวจการจ้าง/และ
ผูค้ วบคุมงาน-สั ่งให้ผรู ้ บั จ้างหยุดงาน
จังหวัดสุพรรณบุรี (มติกวพ.ครั้งที่๓/๒๕๕๐)
-จ้า งปรับ ปรุ ง ระบบบ าบั ด น้ า เสี ย เทศบาลเมื อ ง วงเงิ น
๗,๙๕๐,๐๐๐ บาท
- ระหว่างสัญญา บริษทั ผูร้ บั จ้างฯ ขอหยุดงาน
- เนื่องจากมีฝนตกเป็ นระยะ ๆ ก่อสร้างไม่ได้
- เมื่ อ ขุ ด ดิ น แล้ว พบว่ า มี น้ า ใต้ดิ น จ านวนมากต้อ งสู บ น้ า
ตลอดเวลา ดินอ่อนตัว ไม่ สามารถนาเครื่องจักร เครื่อ งมื อ
เข้าไปดาเนินงานได้
190
คกก. ตรวจการจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน-สังหยุ
่ ดงาน(ต่ อ)
ม ติ ก ว พ . ค ก ก . ต ร ว จ ง า น จ้ า ง ไ ป ดู ที่ ก่ อ ส ร้ า ง เ ห็ น ว่ า
ผูร้ บั จ้างยังสามารถทางานส่วนอื่นได้ไม่ควรหยุดงาน
►แม้อานาจในการสังหยุ
่ ดงาน,งด, ลดค่าปรับ,ขยายสัญญา
-จะเป็ นดุลพินิจของ หัวหน้าส่วนราชการก็ตาม
แต่ จะต้องพิ จารณาด้วยความรอบคอบให้ไ ด้ความชัดเจนว่ า
มี เ หตุ อุ ป สรรคอัน เกิ ด ขึ้ นที่ ท างราชการจะต้อ งแก้ไ ข ห รื อ
ไม่สามารถให้ผูร้ บั จ้างทางานต่อไปได้อย่างแท้จริง
จังหวัดจึ งต้องพิจารณาว่ า เหตุอุปสรรคที่เกิดขึ้ น เป็ นเรื่องที่ผู ้
รับ จ้า งไม่ ส ามารถป้ องกัน ได้ อัน จะถื อ เป็ นเหตุ สุ ด วิ ส ั ย ตาม
ปพพ. ม.๘ หรือไม่
191
ใบ BOQ แตกต่างจากแบบรูปรายการ
คณะกรรมการต้องตรวจรับตามแบบรูปรายการตามสัญญา
 มหาวิทยาลัย ส. จ้างก่อสร้างระบบระบายน้ า/และที่พกั บุคลากร
ตามประกาศประกวดราคา ข้อ ๑๒.๒ กับสัญญาจ้างข้อ ๑๓ กาหนด
ตรงกันว่า เรื่องแบบรูป และรายละเอียดคลาดเคลื่อนไว้สรุปว่า
”เอกสารประมาณราคางาน รายละเอี ยดปริมาณราคาวัสดุ และ
ค่าแรงงานแต่ละรายการของมหาวิทยาลัย ไม่ถือเป็ นข้อผูกพัน ที่ตอ้ ง
พิจารณาหรือปฏิบตั ไิ ปตามนัน้ ”
→ ผูเ้ สนอราคาต้องรับผิดชอบตรวจสอบแบบรูป ถอดแบบ คานวณ
ราคาแต่ละรายการของงานเอง
 จะกล่าวอ้างปฏิเสธความรับผิดพลาด คลาดเคลื่อนไปจากหลัก การ
ทางวิ ศวกรรม จะปฏิ บัติตามคาวิ นิจฉัยของ คกก. ตรวจการจ้า ง
หรือผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้าง (มหาวิทยาลัย) โดยไม่คิดค่าใช้จา่ ย
เพิ่ม
192
ใบ BOQ แตกต่างจากแบบรูปรายการ
คกก.ต้องตรวจรับตามแบบรูปรายการตามสัญญา(ต่อ)
มติ กวพ.
เมื่อปรากฏว่า รายละเอี ยดงานที่กาหนดไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคา (BOQ) BILL OF QUANTITY ของผูร้ บั จ้าง
แตกต่างไปจากรูปแบบรายการตามสัญญา
ผูร้ บั จ้างฯจะปฏิเสธความรับผิดชอบไม่ได้
- คณะกรรมการตรวจงานจ้าง (มหาวิทยาลัย) ต้องยึดถือตาม
รูปแบบรายการตามทีป่ รากฏในเงือ่ นไขสัญญา
193
การตรวจรับงานก่อสร้างกรณี BOQ กับสัญญาขัดกัน
๑. ราคากลางงานก่อสร้างของราชการไม่มีครุภณ
ั ฑ์
แต่มีอยูใ่ นแบบรูปรายการแนบท้ายสัญญา
๒.ผูเ้ สนอราคาก็ไม่ได้เสนอราคาค่าครุภณ
ั ฑ์มาในใบ BOQ
มติกวพ.RF00281/ม.ค./53
เงื่อนไขในประกาศประกวดราคา กาหนดให้ผรู ้ บั จ้างต้องรับผิดชอบ
ถอดแบบ คานวณราคาเองจะนาราคากลางของราชการมาปฏิเสธ
ความรับผิดชอบและเรียกร้องค่าก่อสร้างภายหลังไม่ได้
-เงื่อนไขสัญญาเขียนว่า ผูร้ บั จ้างต้องรับรองว่าได้ตรวจสอบ และ
ทาความเข้าใจแบบรูปรายการละเอียดโดยถี่ถว้ นแล้ว หากผิดพลาด
คลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรม ผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามคา
วินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจการจ้าง และผูค้ วบคุมงาน จะเรียกร้อง
เพื่อให้งานแล้วเสร็จสมบูรณ์ จะคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นไม่ได้
19
4
วินิจฉัยว่า
ในใบเสนอราคากาหนดให้ผรู ้ บั จ้างต้องกรอกปริมาณวัสดุ
จานวนวัสดุ ราคาต่อหน่วยและค่าแรงต่อหน่วยในซึ่งต้อง
ตรวจสอบอย่างถี่ถว้ น เมื่อใบBOQ ไม่มีรายการครุภณ
ั ฑ์
 จึงเป็ นการคานวณผิดพลาดของผูร้ บั จ้างเอง
โดยที่ราคากลางของราชการเป็ นเพียงการประมาณราคาเพื่อ
ใช้เปรียบเทียบกับราคาของผูร้ บั จ้างเท่านัน้
ผูร้ บั จ้างจะอ้างว่ารายการครุภณ
ั ฑ์ดงั กล่าว ไม่มีในราคากลาง
ไม่ได้ .....
195
แม้สว่ นราชการผูว้ ่าจ้างจะอ้างว่า
ครุภณ
ั ฑ์เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ไม่มีความประสงค์จะซื้อและ
ไม่ได้ตง้ั งบประมาณเพื่อการนี้ไว้แต่ตน้
แต่กลับมีในแบบรูปรายการ หากผูร้ บั จ้างไม่ทาตามแบบ
รูปรายการ อาจทาให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผู ้
เสนอราคาด้วยกันเนื่องจากในประกาศ มีรายการดังกล่าว
ดังนั้น กรณีน้ ี ส่วนราชการจึงต้องพิจารณาวินิจฉัย โดย
ต้องตีความโดยสุจริต และคานึงถึงประเพณีปฏิบตั ิว่า
วัตถุประสงค์ในการต่อเติมดังกล่าว รวมถึงการใช้งาน
ต้องการให้มีเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือไม่ และรายการที่ขอตัง้
งบประมาณประกอบด้วยค่าใช้จา่ ยอะไรบ้าง เป็ นต้น
196
กรณีรายการละเอียดประกอบสัญญา ประมาณการดินถมไว้
๑๘,๗๘๒ ลบ.ม แต่ถมจริง ต้องถมเพิม่ อีก ๘,๘๗๕ ลบ.ม
เพือ่ ให้อยู่ในระดับก่อสร้างได้ เมือ่ เป็ นสัญญาเหมารวม
ผูร้ บั จ้างจะเรียกเงินค่าถมดินก่อสร้างเพิม่ ไม่ได้
สัญญาแบบเหมารวม และกาหนดจ่ ายค่าจ้างเป็ นงวด ๆ
ต่างฝ่ ายไม่อาจเรียกร้องค่าจ้างทีเ่ พิม่ -ลดลงได้
เมือ่ ผูร้ บั จ้างถมดินก่อสร้างตามทีส่ ่วนราชการประมาณการไว้แล้ว แต่ไม่
เพียงพอทีจ่ ะอยู่ในระดับก่อสร้าง เพราะพื้ นทีเ่ ป็ นสระลึก คิดเป็ นเงินเพิม่ ๑
ล้านบาทเศษ
เมือ่ ในประกาศประกวดราคา กาหนดให้ผูเ้ สนอราคาไปดูสถานที่
ก่อสร้างแล้ว ไม่ไปดู การคานวณผิดพลาดดังกล่าว จึ งไม่อาจถือเป็ น
ข้ออ้างให้ขยายสัญญา และไม่อาจคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมได้
197
ผูร้ บั จ้างขอเงินเพิ่มงานเสาเข็มเจาะ
สัญญาจ้างแบบถือราคาเหมารวม หมายถึง สัญญาที่คูส่ ัญญา
ตกลงกันแบบราคาเหมารวมทัง้ หมดของงานตามสัญญา โดยคิด
ค่าจ้างในการดาเนินการตามสัญญาแบบเหมารวมทัง้ สัญญา
คู่สญ
ั ญาต่างไม่อาจใช้สิทธิเรียกร้องค่าใช้จา่ ยในส่วนที่เพิ่มขึ้น หรือ
ลดลงได้ หากส่วนราชการกาหนดการปฏิบตั เิ กี่ยวกับเรือ่ งการตอก
เสาเข็มในลักษณะให้เลือกใช้ตามเงื่อนไขของสัญญาแล้ว
โรงพยาบาล พ.ทาสัญญาแบบเหมารวม แต่ตามรายการประกอบแบบ
ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของสัญญา ระบุให้ผรู ้ บั จ้างใช้เสาเข็มเจาะขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๕๐ เมตร ลึกปลายเสาเข็ม ประมาณ ๑๐ เมตร 198
-โดยกาหนดเป็ นเงื่อนไขว่า ความยาวของเสาเข็มสามารถ
เปลี่ยนแปลงได้ ทัง้ นี้ ขึ้นอยู่กบั การทดสอบดิน
-หากผลปรากฏว่า การทดสอบดินจาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลง
ความยาวของเสาเข็มจากที่ระบุไว้
-ให้คิดราคาเปรียบเทียบเงินเพิ่ม-ลด โดยใช้ราคาของทาง
ราชการเป็ นเกณฑ์ และให้ถอื ความยาวตามวิศวกรกาหนด จาก
รายการผลสารวจดินเป็ นการสิ้นสุด
-หากผลทดสอบการรับน้ าหนักของเสาเข็ม จาเป็ นต้องใช้
เสาเข็มเจาะยาวกว่าที่วิศวกรฝ่ ายผูร้ บั จ้างกาหนด ให้อยูใ่ นความ
รับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง จะคิดเงินเพิ่มจากราชการไม่ได้ แต่
สามารถคิดเวลาเพิ่มได้ ตามความจาเป็ น
199
ดังนั้น การที่ผรู ้ บั จ้างส่งผลการทดสอบดินให้ทางราชการ
พิจารณา ต้องใช้ความยาวเสาเข็มเพิ่มขึ้นจากแบบรูป
กรณีน้ ีจงึ เป็ นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง ที่คานวณค่า
งานคลาดเคลื่อนเอง โดยจะคิดเงินเพิ่มจากทางราชการ
มิได้ตามรายการประกอบแบบดังกล่าว
อนึ่ง ในการกาหนดรายละเอียดของฐานรากการจ้างก่อสร้าง
ส่วนราชการจะต้องปฏิบตั ติ ามหนังสือแจ้งเวียนของกวพ.
(สานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร.(กวพ)๑๒๐๔/ว ๑๑๕๔๒ ลว.๒
ธ.ค.๒๕๓๙
(มติกวพ.ครั้งที่ ๕/๒๕๕๒ต.ค.๕๒)
200
สัญญาแบบเหมารวม หากคู่สญ
ั ญาตกลงกันเป็ น
อย่างอื่น โดยให้หกั ค่างานที่เพิม่ ขึ้ น-ลดลง ก็ได้
สัญญาแบบเหมารวมในข้อ ๔กาหนดเงือ่ นไขว่า
“ กรณีทีผ่ ูร้ บั จ้างใช้เข็มคอนกรีตสั้นกว่าทีก่ าหนด ให้หักเงินค่า
เสาเข็ มตามอัตราทีก่ าหนดไว้ในรายละเอียดประกอบแบบ”
แนววินิจฉัย กวพ.
กรณีนี้ แม้ว่าจะเป็ นสัญญาแบบเหมารวม ดังนั้น หากผูร้ บั จ้าง
ใช้เข็มคอนกรีตสั้นกว่าทีก่ าหนดแล้ว ผูว้ ่าจ้างก็จาต้องหักคืนเงิน
ค่าเสาเข็มทีส่ ้นั กว่า(การตอกเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง) ตาม
รายการประกอบแบบในข้อ ๔ ให้ผูร้ บั จ้างต่อไป
201
คู่สญ
ั ญามีขอ้ ตกลงกันระบุให้หกั เงินค่าเสาเข็มคืนได้
ตามเงือ่ นไขสัญญา
มติกวพ.ครั้งที๔่ /๒๕๕๓(๔ ก.พ.๕๓)
สัญญาจ้างก่อสร้างอาคารค.ส.ล. ๕ ชั้น พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
อาคาร วงเงิน ๑๔๔ ล้านบาทเศษ
ราคากลางของทางราชการ ในส่วนงานโครงสร้างเสาเข็มเจาะ
อยู่ที่๐.๖๐ เมตร ยาว ๒๑ เมตร รับน้ าหนักปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า
๖๐ ตันต่อต้น
ผูร้ บั จ้างเสนอราคาตามบัญชีแสดงปริมาณงานและราคาในส่วน
งานโครงสร้างเสาเข็มเจาะที่๐.๖๐ เมตร ยาว ๑๗ เมตร รับ
น้ าหนักปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๖๐ ตันต่อต้น
202
คู่สญ
ั ญาตกลงกันให้หกั เงินค่าเสาเข็มคืนตามเงือ่ นไข (ต่อ)
ปรากฏว่า ผูร้ บั จ้างเจาะสารวจดินในการก่อสร้าง
ผลการสารวจให้ใช้เสาเข็มเจาะขนาด ๐.๖๐ เมตร
ยาว ๑๑ เมตร ซึ่งสามารถรับน้ าหนักได้ ๖๐ ตัน ต่อต้น
ผูร้ บั จ้างอ้างว่าเป็ นสัญญาแบบเหมารวมเป็ นเกณฑ์
จะไม่คืนค่าเสาเข็มให้
มติทปี่ ระชุมกวพ.
งานก่อสร้าง ส่วนราชการต้องปฏิบัติตามหนังสือแจ้งเวียน
สานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ)๑๒๐๔ ลงวันที่ ๒ ธันวาคม
๒๕๓๙
203
การหักเงินค่าเสาเข็มคืนตามเงือ่ นไข ทีค่ ู่สญ
ั ญาตกลงกัน(ต่อ)
กล่าวคือ ก่อนการจัดจ้าง ส่วนราชการจะต้องสารวจและ
กาหนดปริมาณดินถม งานดินตัก ในแบบรูปรายการละเอียด
ให้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานฐานราก ที่
เกีย่ วกับความสัน้ -ยาว ขนาดของเสาเข็ มทีอ่ าจเปลีย่ นแปลงค่า
งานได้
หากไม่อาจกาหนดได้แน่นอน จาเป็ นต้องกาหนดให้มที างเลือก
ไว้ตัง้ แต่ตน้ เช่น ต้องตอกเสาเข็ ม หรือใช้ฐานแผ่ ขนาดความสัน้ ยาวของเสาเข็ ม และกาหนดราคาค่าจ้างในส่วนต่างๆ ไว้ให้ชัดเจน
ตัง้ แต่ตน้ และต้องระบุไว้ให้เป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญาด้วย
หากจาเป็ นต้องมีการแก้ไข ให้ปฏิบัติระเบียบฯพัสดุขอ้ ๑๓๖
204
การหักเงินค่าเสาเข็มคืนตามเงือ่ นไขทีค่ ู่สญ
ั ญาตกลงกัน(ต่อ)
กรณีปัญหาทีเ่ กิดขึ้ น
โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับ
ตามแบบรูปรายการ ซึง่
กาลังรับน้ าหนักบรรทุกปลอดภัย
เป็ นเอกสารอันเป็ นส่วน
ของเสาเข็มเจาะ และการทรุดตัว
หนึง่ ของสัญญา กาหนด
ของชั้นดิน ในอันทีจ่ ะไม่ทาให้เกิด
ความยาวของเสาเข็ มเจาะ
ความเสียหายกับโครงสร้าง
ว่า
หากในแบบแปลนไม่ได้
แล้วแจ้งให้
กาหนดความยาวของ
ผูค้ วบคุมงานของผู ้
เสาเข็มไว้ ผูร้ บั จ้างต้อง
ว่าจ้างและคณะกรรมการ
พิจารณากาหนดความยาว
ตรวจการจ้างทราบ
ของเสาเข็มเจาะ
205
การหักเงินค่าเสาเข็มคืนตามเงือ่ นไขทีค่ ู่สญ
ั ญาตกลงกัน(ต่อ)
ประกอบตามรายการทัว่ ไปประกอบแบบก่อสร้างอาคารและ
สิ่งก่อสร้าง พ.ศ.๒๕๔๓ ซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญา ข้อ ๑.๑.๑๐
กาหนดว่า.......
...หากเกิดกรณีจาเป็ นทีจ่ ะต้องเปลีย่ นแปลงแบบรูปและ
รายละเอียดเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ในการใช้สอยอาคารมากทีส่ ุด ใน
การเปลีย่ นแปลงดังกล่าว ให้คิดราคาเพิ่ม – ลด ตามเกณฑ์ราคา
ของคณะกรรมการกาหนดราคากลางของจังหวัด หรือของผูว้ ่าจ้าง
ซึง่ ตามเกณฑ์ราคากลางของส่วนราชการผูว้ ่าจ้าง กาหนดให้ใช้
เสาเข็ มเจาะที่ ๐.๖๐ เมตร ยาว ๒๑ เมตร รับน้ าหนักปลอดภัย
ไม่นอ้ ยกว่า ๖๐ ตัน ต่อต้น
206
การหักเงินค่าเสาเข็มคืนตามเงือ่ นไขทีค่ ู่สญ
ั ญาตกลงกัน(ต่อ)
ดังนั้น แม้บริษทั ผูร้ บั จ้างจะเสนอความยาวที่ ๑๗ เมตร และ
เมือ่ เจาะสารวจดินแล้วต้องใช้ทีค่ วามยาวที่ ๑๑เมตร
และส่วนราชการผูว้ ่าจ้าง อนุมตั ิให้ใช้ความยาวที่ ๑๑ เมตรได้
ดังนัน้ ในขั้นตอนนี้ จึงต้องทาการแก้ไขเปลีย่ นแปลงสัญญา
ตามระเบียบฯพัสดุก่อน หากมีความจาเป็ นต้องเพิม่
หรือลดวงเงิน ก็ให้ดาเนินการแก้ไขเปลีย่ นแปลงเพือ่ ความ
ถูกต้องเป็ นธรรม โดยไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
และหากมีกรณี มิได้มกี ารประเมินราคาค่าเสาเข็ มของผู้
รับจ้าง และของส่วนราชการ ให้เป็ นราคาเดียวกันไว้ก่อนทาสัญญา
จึงเป็ นเรื่องทีต่ อ้ งตกลงกันในการแก้ไขสัญญาต่อไป
207
การคิดค่างาน เพิม่ ขึ้ น-ลดลง คิดจากฐานอะไร
กรณีมีงานเพิ่ม-ลด ซึ่งต้ องตกลงราคาค่ าวัสดุ ค่ าแรงงาน ต่ อ
หน่ วย กัน ระหว่ างผู้ว่าจ้ างกับผู้รับจ้ าง
หากปรากฏว่ า บัญชีปริมาณงานใบBOQซึ่งถือเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของสัญญา ได้ กาหนดปริมาณงานและราคาไว้ แล้ ว
โดยหลักการ จึงต้ อง
ยึดถือราคาในบัญชีปริมาณ
งาน (BOQ)ตามที่ปรากฏ
ในสัญญา
โดยไม่ ต้องคิดจากราคากลาง
 แต่ หากในBOQไม่ ได้
กาหนดไว้ จะต้ องตกลงกับ
ผู้รับจ้ างกาหนดอัตราค่ าจ้ างให้
เหมาะสมต่ อไป
208
209