การบริหารงานพัสดุ - สำนักงานตรวจสอบภายใน

Download Report

Transcript การบริหารงานพัสดุ - สำนักงานตรวจสอบภายใน

โครงการฝึ กอบรมหลักสูตรวิชา
“การบริหารงานพัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
และตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์”
บรรยายโดย
คุณรวีวลั ย์ แสงจันทร์
ผูอ้ านวยการกลุ่มงานระเบียบว่าด้วยการพัสดุ
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
โทร. ๐๒ ๒๗๓๙๐๒๔ ต่อ ๔๕๕๑-๔๕๕๓
www.gprocurement.go.th
(สงวนลิขสิทธิ์)
1
การพัสดุ
หมายความว่า
การจัดทาเอง
การซื้อ
การจ้างที่ปรึกษา
การจ้างออกแบบ
และควบคุมงาน
การแลกเปลี่ยน
การเช่า
การควบคุม
การจาหน่าย
การจ้าง
การดาเนินการอื่น ๆ ที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้
2
กฎหมาย และ
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กับการบริหารงานพัสดุ
ที่ควรรู ้
3
ศึกษา กฎหมาย และ
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบ
สานักนายก
รัฐมนตรีว่า
ด้วยการ
พัสดุ พ.ศ.
๒๕๓๕/
และ พ.ศ.
๒๕๔๙
พรบ.วิธีการ
งบประมาณ
พ.ศ.๒๕๐๒
และ ระเบียบ
บริหาร
งบประมาณ
พ.ศ.๒๕๔๖
และที่แก้ไข
เพิ่มเติม
พรบ.
ข้อมูล
ข่าวสาร
ของทาง
ราชการ
พ.ศ.
๒๕๔๐
พรบ.
ความผิด
เกี่ยวกับ
การเสนอ
ราคาต่อ
หน่วยงาน
ของรัฐ
พ.ศ.
๒๕๔๒
4
ศึกษา กฎหมาย และ
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)
พรบ.ที่
ราชพัสดุ
พ.ศ.
๒๕๑๘
พรบ.
ความผิด
ทางละเมิด
ของ
เจ้าหน้าที่
พ.ศ.
๒๕๓๙
ประกาศ
ระเบียบ
คณะกรรมการ
คณะกรรมการ
ตรวจเงิน
แผ่นดิน
ว่าด้วย
วินย้ ทาง
งบประมาณ
และการคลัง
พ.ศ. ๒๕๔๔
ตรวจเงิน
แผ่นดิน
เรือ่ งการ
จัดทา
แผนปฏิบตั ิ
การจัดซื้อ
จัดจ้าง พ.ศ.
๒๕๔๖
5
ศึกษา กฎหมาย และ
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)
พรบ.
ระเบียบ
บริหาร
ราชการ
แผ่นดิน
พ.ศ.
๒๕๑๘
พ.ร.บ.
วิธีปฏิบตั ิ
ราชการ
ทาง
ปกครอง
พ.ศ.
๒๕๓๙
ระเบียบการ
เบิกจ่ายเงินจาก
คลังและการ
เก็บรักษาเงิน
และการนาเงิน
ส่งคลังของส่วน
ราชการ พ.ศ.
๒๕๕๐
ระเบียบ
กระทรวง
การคลัง
ว่าด้วยเงิน
ทดรอง
ราชการ
พ.ศ.
๒๕๔๗
6
ศึกษา มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง
มติครม.นร
๐๒๐๒/ว ๑
ลว.๓ม.ค.
๒๕๓๗ เรื่อง
มาตรการ
ป้องกันหรือลด
โอกาสในการ
สมยอมกันใน
การเสนอราคา
มติครม.นร
๐๒๐๒/ว๘๐ ลว.
๓ม.ค.๒๕๓๗
เรื่อง การ
ปรับปรุงแก้ไข
วิธีการประกวด
ราคาจ้างก่อสร้าง
ของทางราชการ
มติครม.สร
๐๒๐๓/ว๕๒
ลว.๒๘มี.ค.
๒๕๒๐ เรื่อง
การระบุคณ
ุ
ลักษณะเฉพาะ
ของสิ่งของ
หรือยีห่ อ้
สิ่งของ
7
ศึกษา มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)
มติครม.นร
๐๒๐๕/ว
๔๔ ลว.๒๒
มี.ค.๒๕๓๖
เรื่อง การ
จ้างเอกชน
ออกแบบ
และควบคุม
งาน
มติครม.ด่วน
มาก ทีน่ .ว.
๑๐๕/๒๕๐๔ ลว.
๑๘ ต.ค.๒๕๐๔
เรื่อง หลักเกณฑ์
การร้องขอถอน
ชื่อออกจากบัญชี
รายชื่อผูล้ ะทิ้ง
งาน
มติครม. ที่นร
๐๕๐๖/๒๓๖๒
ลว.๑๔ ก.พ.
๒๕๕๐ เรือ่ ง
หลักเกณฑ์
การกาหนด
ราคากลาง
งานก่อสร้าง
8
ศึกษา มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
มติ ครม. 29 พ.ค. 50
ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30
พ.ค. 50 ** มติ ครม. 21
เม.ย. 52 - ด่วนที่สุด ที่
นร 0505/ว 89 ลว. 28
เม.ย. 52 **
เรือ่ ง การใช้พสั ดุท่ี
ผลิตในประเทศหรือเป็ น
กิจการของคนไทย
มติครม.๒๘ ก.ค.
๒๕๕๒ ยกเว้น
การจัดหาพัสดุ
จากเงินกู ้
ภายในประเทศ
สาหรับโครงการ
ตามแผนปฏิบตั ิ
การไทยเข้มแข็ง
๒๕๕๕
9
ศึกษา มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
มติครม.
เกี่ยวกับ
มาตรการ
เร่งรัดการใช้
จ่ายเงิน
ภาครัฐ
(แต่ละปี )
มติครม.
เกี่ยวกับ
มาตรการ
ช่วยเหลือ
ผูป้ ระกอบ
อาชีพก่อสร้าง
(แต่ละปี )
10
พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒
• มาตรา ๒๓ วรรคแรก
• ห้ามมิให้จา่ ยเงินหรือก่อหนี้
ผูกพันตาม พ.ร.บ.
งบประมาณรายจ่าย
ประจาปี หรือ พ.ร.บ.
งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
• จนกว่าจะได้รบั อนุมตั เิ งิน
ประจางวดแล้ว ฯลฯ
ระเบียบว่าด้วยการบริหาร
งบประมาณของสานัก
งบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘
ข้อ ๑๘, ๒๓ , ๒๔ , ๒๕,
๒๖ เรื่อง การโอน
เปลี่ยนแปลงงบประมาณ
รายจ่าย
11
พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
มาตรา ๙(๑)และ(๘) กาหนดว่า
ข้อมูลข่าวสารที่รฐั ต้องจัดไว้ให้
ประชาชนเข้าตรวจดู ได้แก่
(๑) ผลการพิจารณา
หรือคาวินิจฉัยที่มีผล
โดยตรงต่อเอกชน
(๘) ข้อมูลข่าวสารอื่น
ตามที่
คณะกรรมการกาหนด
12
ประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓
เรื่อง กาหนดให้หน่วยงาน
ของรัฐ จัดทาข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับผลการพิจารณา
จัดซื้อจัดจ้างไว้ให้ประชาชน
ตรวจดูได้ตามมาตรา ๙(๘)
แห่ง พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร
ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
บทลงโทษ
-ผูฝ้ ่ าฝื นคาสั่งคกก.ไม่ให้
ถ้อยคา/ชี้แจง/ส่งหลักฐาน/ตาม
ตามมาตรา ๓๒
จาคุกไม่เกิน ๓ เดือนปรับไม่เกิน
๕ พันบาท หรือทัง้ จา/ปรับ
-ฝ่ าฝื นม.๒๐จาคุกไม่เกิน๑ ปี
ปรับไม่เกิน ๒ หมื่นหรือทัง้ จา
และปรับ
วิธีปฏิบตั ิ ได้แก่ 1. สรุปผลการจัดหา วัน/เดือน/ปี /งาน /วงเงินจัดหา
วิธีจดั หา ชื่อผูเ้ สนอราคา ผูช้ นะราคา เหตุผลที่คดั เลือกรายนั้น
2.ทาตามแบบ สขร.1
13
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา
ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๐ กาหนด
บทลงโทษเจ้าหน้าที่ที่
มีอานาจ อนุมตั ิ
พิจารณา ดาเนินการ
เกี่ยวกับการเสนอ
ราคา
รู ้ หรือควรจะรูว้ ่า
มีพฤติการณ์/หรือ
ปรากฏว่ามีการกระทา
ผิดตาม พ.ร.บ.นี้
ไม่เสนอยกเลิก
• โทษจาคุกตัง้ แต่ ๑ ปี ถึง ๑๐ ปี และ
ปรับตัง้ แต่ ๒๐,๐๐๐บาท – ๒๐๐,๐๐๐บาท
14
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อ
หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒(ต่อ)
• มาตรา ๑๑ กาหนดลงโทษเจ้าหน้าที่หรือผูไ้ ด้รบั มอบหมาย
จากหน่วยงาน:►ทุจริต ออกแบบ กาหนดราคา กาหนดเงื่อนไขอันเป็ นมาตรฐาน
ในการเสนอราคา
► มุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม
►ช่วยเหลือผูเ้ สนอราคารายใดให้เข้าทาสัญญา
►กีดกันมิให้เข้าเสนอราคาอย่างเป็ นธรรม
• โทษจาคุก 5 ปี -20ปี /ตลอดชีวิต+ปรับ 100,000-400,000บาท
15
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อ
หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒(ต่อ)
• มาตรา ๑๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาผิดตาม พ.ร.บ.นี้
• กระทาการโดยมุ่งหมายมิให้มีการแข่งขัน
เพื่อเอื้ออานวยผูเ้ สนอราคาให้เป็ นผูม้ ีสิทธิทาสัญญา
• โทษจาคุก ๕ ปี – ๒๐ ปี หรือตลอดชีวิตและ
ปรับ 100,000 - 400,000 บาท
16
พ.ร.บ. ที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘
• ที่ราชพัสดุ หมายถึง “ อสังหาริมทรัพย์ ”
• อันเป็ นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด ยกเว้น
สาธารณสมบัต.ิ ..
• กฎกระทรวง ฉบับที๑่ ๑(พ.ศ.๒๕๓๗)ลว.๑๙ ต.ค.๓๗
• การดาเนินการต่อไปนี้ให้บงั คับตามกฎกระทรวง เช่น
• การโอนกรรมสิทธิ์ การขาย/แลกเปลี่ยน /การให้ /การโอน
คืนให้แก่ผูย้ กให้ ให้แจ้งกรมธนารักษ์(ธนารักษ์จงั หวัดแล้วแต่
กรณีดาเนินการ หรือทาหนังสือมอบอานาจให้ดาเนินการ
แทน)
17
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๓๙
องค์ประกอบของการกระทาละเมิด
• ผูใ้ ดทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
• กระทาโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ
• ให้เขาเสียหาย แก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน
หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใด
• ผูท้ าละเมิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
18
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่
เจ้าหน้าที่ผทู ้ า
ละเมิดจะรับผิด
ชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน เมื่อ
โดยมิตอ้ งให้ใช้
เต็มจานวน
ของความ
เสียหายก็ได้
กระทาไปด้วย
ความจงใจ หรือ
ประมาทเลินเล่อ
อย่างร้ายแรง
ต้องคานึงถึงระดับ
ความร้ายแรงแห่งการ
กระทาและความ
เป็ นธรรมในแต่ละ
กรณีเป็ นเกณฑ์
19
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ (ต่อ)
ถ้าการกระทา
ละเมิดเกิดจาก
-ความผิดหรือความ
บกพร่องของหน่วยงาน
ของรัฐหรือระบบการ
ดาเนินงานส่วนรวม
ให้หกั ส่วนแห่งความ
รับผิดดังกล่าวออกด้วย
ไม่นาหลักเรื่อง
ลูกหนี้ร่วมมาใช้
บังคับ
เจ้าหน้าที่แต่ละคน
ต้องรับผิดใช้ค่า
สินไหมทดแทนเฉพาะ
ส่วนของตนเท่านั้น
20
กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็ นผูก้ ระทาละเมิด
อันเนื่องมาจากการปฏิบตั ิหน้าที่
หน่วยงานของรัฐ
ต้องรับผิด
ต่อผูเ้ สียหาย
ผูเ้ สียหายอาจฟ้อง
หน่วยงานของรัฐ
ดังกล่าวได้โดยตรง
-แต่จะฟ้ อง
เจ้าหน้าที่ไม่ได้
• แต่ถา้ การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซ่ึงไม่ได้สงั กัดหน่วยงานของ
รัฐแห่ งใด
• ให้ถอื ว่ากระทรวงการคลังเป็ นหน่วยงานของรัฐที่ตอ้ งรับผิด
21
การกระทาละเมิดที่ไม่ใช่เกิดจากการ
ปฏิบตั กิ ารตามหน้าที่
เจ้าหน้าที่ตอ้ ง
รับผิดในการ
นั้นเป็ นการ
เฉพาะตัว
ผูเ้ สียหายอาจ
ฟ้องเจ้าหน้าที่
ได้โดยตรง
จะฟ้อง
หน่วยงานของ
รัฐไม่ได้
22
ระยะเวลาเรียกค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่
อายุความ 2 ปี
นับแต่ วันที่
หน่ วยงานของรัฐ
รู้ถงึ การละเมิด
และรู้ ตวั เจ้ าหน้ าที่
ผู้จะพึงต้ องใช้ ค่า
สินไหมทดแทน
อายุความ 1 ปี นับแต่วนั ที่
หน่วยงานของรัฐมีคาสั ่งตาม
ความเห็นขอกระทรวงการคลัง
เฉพาะกรณีหน่วยงาน
เห็นว่าเจ้าหน้าที่ผนู ้ ้นั ไม่ตอ้ งรับ
ผิด
แต่กระทรวงการคลัง
ตรวจสอบเห็ นว่าต้องรับผิด
23
ระเบียบคณะกก.ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินยั ทาง
งบประมาณและการคลัง พ.ศ.๒๕๔๔
กาหนดความผิดเกี่ยวกับการ
ไม่ปิด/ส่งประกาศ/ไม่ซ้ ือ/
พัสดุ (ข้อ ๓๗-๔๙) อันเป็ นเหตุ
จ้างรายต ่าโดยไม่มีเหตุผล,
ให้ทางราชการเสียหาย ได้แก่
ทาสัญญามิชอบ,ผูค้ วบคุม
แบ่งซื้อ-แบ่งจ้าง,/จัดซื้อที่ดิน
งาน/ตรวจการจ้างปฏิบตั มิ ิ
และสิ่งก่อสร้าง/ การปฏิบตั ิ/
ชอบ,การตรวจรับพัสดุ
ละเว้นการปฏิบตั โิ ดยมิชอบ/
,ลงบัญชี/ทะเบียน,เบิกจ่าย
การกาหนดราคากลาง/การ
ตรวจสอบพัสดุ มิชอบ
กาหนด Specification ของสิ่งของ บทลงโทษ ปรับทางปกครองมี๔
ที่ซ้ ือหรือจ้าง ในการประกวด/
ชัน้ หักเงินเดือนชัน้ ๑/๑ เดือน
สอบราคา ที่มิชอบ
(๒/๒-๔)(๓/๕-๘)(๔/๙-๑๒)
24
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๕๐
• มาตรา 38 กาหนดอานาจในการสั ่ง /อนุญาต/ อนุมตั ิ/ การปฏิบตั ิ
ราชการหรือดาเนินการอื่นทีผ่ ดู ้ ารงตาแหน่งใดจะพึงปฏิบตั หิ รือ
ดาเนินการตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั ่งใดหรือมี
มติคณะรัฐมนตรีในเรือ่ งใดถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือ
คาสั ่งนั้น หรือ มติคณะรัฐมนตรีในเรือ่ งนั้น
• มิได้กาหนดเรือ่ งการมอบอานาจไว้เป็ นอย่างอื่น
• หรือมิได้หา้ มเรือ่ งการมอบอานาจไว้
• ผูด้ ารงตาแหน่งนั้น อาจมอบให้ผดู ้ ารงตาแหน่งอื่นในส่วนราชการ
เดียวกัน หรือส่วนราชการอื่น หรือผูว้ ่าฯ ได้ตามหลักเกณฑ์แล
เงื่อนไขที่กาหนดในพ.ร.ฎ.
การมอบอานาจให้ทาเป็ นหนังสือ
25
พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
• มาตรา ๓ วิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครองตาม กม.ต่างๆ
ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในพ.ร.บ.นี้ เว้นแต่มีกาหนดไว้เฉพาะ
คาสั ่งทางปกครอง
หมายความว่า
การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็ นการสร้าง
นิตสิ มั พันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคล เช่ น การสั่งการ การอนุญาต อนุมัติ
วินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง การรับจดทะเบียน เป็ นต้ น ซึ่งมีผลดังนี ้
-เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อ
สถานภาพ หรือสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็ นการ
ชั ่วคราวหรือถาวร /หรือ การอื่นที่กาหนดในกฎกระทรวง
26
กฎกระทรวงฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๔๓)
(ออกตามพ.ร.บ. วิฯปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙)
ให้การดาเนินการของเจ้าหน้าที่ดงั ต่อไปนี้ เป็ นคาสั ่งทางปกครอง
การสั ่งรับ /
ไม่รบั คาเสนอขาย
รับจ้าง /
แลกเปลี่ยน /เช่า
ขาย /ให้เช่า หรือ
ให้สิทธิประโยชน์
การอนุมตั สิ ั ่งซื้อ
จ้าง/ แลกเปลี่ยน
เช่า/ ขาย /ให้
เช่า หรือให้สิทธิ
ประโยชน์
การสั ่งให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
การสั ่งยกเลิก
กระบวนการ
พิจารณาคาเสนอ
หรือการดาเนินการ
อื่นในลักษณะ
เดียวกัน
การให้ /ไม่ให้ทุนการศึกษา
27
ลักษณะคาสั ่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วย กม.
•
•
•
•
•
•
•
ออกคาสั่งโดยไม่มีอานาจ (ออกโดยเจ้าหน้าที่อื่น ไม่ได้รบั มอบอานาจ)
ออกคาสั ่งนอกเหนืออานาจ (ทาเกินกว่าอานาจที่กม.ให้ไว้)
ไม่ถูกต้องตามกม. (เนื้อหาของคาสั ่งขัด/แย้งต่อกม.)
ไม่ถูกต้องตามรูปแบบขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็ นสาระสาคัญ
ไม่สุจริต(การใช้อานาจเพื่อประโยชน์ส่วนตัว)
เลือกปฏิบตั โิ ดยไม่เป็ นธรรม (ขัดต่อหลักความเสมอภาค)
สร้างขั้นตอนโดยไม่จาเป็ น (เกินขอบเขตแห่งความจาเป็ นที่กม.
กาหนด)
• สร้างภาระเกินสมควร (เป็ นการกระทาที่ขดั ต่อหลักความได้สดั ส่วน)
• ใช้ดลุ พินิจโดยไม่ชอบ (เกินกว่าที่วิญญูชนจะรับฟั งได้)
28
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน
และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ.๒๕๕๑
ข้อ ๒๔ การเบิกเงินสาหรับซื้อ/จ้าง/เช่า
ตามระเบียบฯพัสดุ ที่มีใบสั ่งซื้อ/ใบสั ่งจ้าง /สัญญา
หรือ ข้อตกลง ซึ่งมีวงเงินตั้งแต่ ๕,๐๐๐บาทขึ้นไป
-ให้ทาใบ POเพื่อกรมบัญชีกลางจะโอนจ่ายเงินเข้า
บัญชีเจ้าหนี้หรือผูม้ ีสิทธิโดยตรง
และให้ดาเนินการขอเบิกเงินจากคลังไปชาระหนี้
โดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน ๕ วันทาการนับจาก
วันตรวจรับทรัพย์สิน/งาน ถูกต้อง
หรือนับจากได้รบั แจ้งจากหน่วยงานย่อย
29
ระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยเงินทดรองราชการพ.ศ.๒๕๔๗
ข้อ ๖ ให้ส่วน
ข้อ.๗ ให้แบ่งสรรให้
ข้อ ๑๖.ระยะต้น
ราชการเจ้าของ
หน่วยงานในสังกัด
ปี งบประมาณ
งบประมาณ
ตามความเหมาะสม/
หากยังไม่ได้รบั
มีเงินไว้ทดรอง
ข้อ๙ให้ถือปฏิบตั ิ
อนุ มตั เิ งินประจา
ราชการตามที่
ตามระเบียบว่าด้วย
งวดให้จ่ายเงินทด
กระทรวง
การเบิกจ่ายเงินจาก
รองฯไปก่
อ
นได้
การคลังกาหนด
คลังโดยอนุโลม
ระเบียบฯ ข้อ )๑๔ เงินทดรองฯให้จ่ายได้เฉพาะ:(๑)ค่าจ้างลูกจ้างรายวัน/หรือเมื่อเสร็จงานที่จา้ ง(๒)งบดาเนินงาน
ยกเว้นค่าน้ า/ไฟ/(๓)งบกลาง เฉพาะค่าศึกษาบุตร,ค่ารักษาพยาบาล
(๔)งบอื่นที่จา่ ยในลักษณะเช่นเดียวกับ(๑) หรือ (๒)
30
มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือเวียน
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ค้ นหาได้ จากเว็บไซต์
www.cgd.go.th
www.gprocurementd.go.th
www.cabinet.thaigov.go.th
www.oag.go.th
31
ประเด็นปั ญหา
ปั จจัยเสี่ยง
ที่อาจเกิดขึ้น
จากการบริหารงานพัสดุ
32
ระเบียบฯพัสดุ
อ่าน/เข้าใจ
ยาก/ตีความได้
หลาย
ความหมาย
ทาให้เกิด
ปั ญหาในทาง
ปฏิบตั ิ
เจ้าหน้าที่
พัสดุ/
คณะกรรมการ
ที่ได้รบั แต่งตัง้
ไม่มีความรู/้
ชานาญ
โดยเฉพาะ
ในเรื่องการ
จัดซื้อ/จ้าง
มีการแบ่งซื้อ/
แบ่งจ้าง,
-กาหนดเวลา
เผยแพร่
ประกาศ หรือ
การทาหน้าที่
ของ
คณะกรรมการ
ต่างๆ
ไม่ถูกต้อง
33
มีการใช้อานาจของ
ไม่มีการจัดทา
เจ้าหน้าที่
แผนการจัดหา
นักการเมือง
พัสดุอย่างเป็ น
กลุ่มธุรกิจ หรือเข้า
รูปธรรม
ไปแทรกแซง/
ทาให้มีการซื้อ/จ้าง
ครอบงาการทางาน ไปเรื่อย ๆ/ใกล้ส้ นปี
ิ
ของเจ้าหน้าที่ เพือ่
เร่งรีบจัดหาให้แล้ว
แสวงหาผลประโยชน์ เสร็จ/ทาให้จดั หา
ทุจริตคอรัปชั ่นจาก
และกันเงิน ไม่ทนั /
โครงการ/งบประมาณ
เงินพับไป
การซื้อ/จ้างขนาดใหญ่
ขาดประสานงาน
ระหว่างขัน้ ตอนต่างๆ
ทาให้เกิดล่าช้า เช่น
-การจัดทา/ปรับปรุง
Specไม่สอดคล้องกับ
ความต้องการของ
ผูใ้ ช้งาน/ล่าช้า/ต้องรอ
Spec จากหน่วยงานอื่น
รอใบเงินประจางวด/
ไม่เร่งรัดการพิจารณา
ของกรรมการ /ส่งผล
ให้ข้นั ตอนอื่นเกิด
ขัดข้องตามไปด้วย
34
ข้อเสนอแนะ
-ทาคูม่ ือ/ฝึ กอบรมให้ความรูแ้ ก่เจ้าหน้าที่ให้มี
ความเข้าใจ กฎหมาย,ระเบียบ,มติครม.เพื่อให้ปฏิบตั ิ
หน้าที่ในฐานะคณะกรรมการได้อย่างถูกต้อง
-เสริมสร้างจรรยาบรรณข้าราชการประจา/
นักการเมือง/ นักธุรกิจ/สื่อมวลชน/
-ให้มีจติ สานึก/รับผิดชอบต่อสังคม/ละอายต่อ
การกระทาที่พยามแสวงหาผลประโยชน์แก่
ตนเอง หรือพวกพ้องจากเงินของแผ่นดิน
-ยกย่องคนดีมีคุณธรรม ฯลฯ
35
กระบวนการบริหารงานพัสดุ
ตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
36
การบริหารงานพัสดุประกอบด้วย
การบริหาร
ด้าน
การเงิน/
งบประมาณ
การบริหาร
ด้าน
บุคลากร
การบริหาร
ด้าน
การจัดซื้อ/
จัดจ้าง
37
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
๑
เจ้าหน้าที่
พัสดุ
๒
ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี
ซื้อ/จ้างทั ่วไป
-ให้จดั ทารายงาน ขอซื้อ/ (ต้องมีรายการตามข้อ๒๗)
ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง
จ้าง เพื่อขอความเห็นชอบ
(ข้อ๒๘)
หส.ราชการก่อนทุกครั้ง
หัวหน้าส่วนราชการ
พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงาน
ขอซื้อ/จ้าง (ข้อ ๒๙)
ลงนามประกาศสอบราคา/
ประกวดราคา
ลงนามคาสั ่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง(ข้อ ๓๔) 38
๓
เมื่อได้รบั ความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อ/ขอจ้างแล้ว
-ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการจัดหาตามวิธีตา่ งๆ
วิธีตกลงราคา
(ไม่เกิน๑แสน)
(ข้อ ๑๙,๓๙)
วิธีสอบราคา
(เกิน๑แสน-๒ล้าน)
(ข้อ ๒๐,๔๐-๔๓)
วิธีพิเศษ
(เกิน๑ แสนขึ้นไป)
(ซื้อข้อ ๒๓,๕๗-จ้างข้อ ๒๔,๕๘)
วิธีประกวดราคา
เกิน๒ล้านขึ้นไป
(ข้อ ๒๑,๔๔-๕๖)
วิธีกรณีพิเศษ
ไม่จากัดวงเงิน
(ข้อ ๒๖,๕๙)
39
๔ ได้ตวั ผูข้ าย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทาบันทึก
รายงานเสนอขออนุมตั สิ ั ่งซื้อ/จ้าง(ผ่านหน.จนท.พัสดุ)
๕
ผูม้ ีอานาจอนุมตั ใิ ห้สั ่งซื้อ/จ้างได้ตามที่
คณะกรรมการเสนอ (ข้อ๖๕,๖๖,๖๗)
๖
ทาสัญญา/บันทึกข้อตกลง
ข้อ ๑๓๒,๑๓๓
บริหารสัญญา/
ข้อตกลง
ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง
ข้อ ๗๑ , ๗๒
(แก้ไข/งด,ลดค่าปรับ
,ขยายเวลา (๑๓๙)
-บอกเลิกสัญญา
( ๑๓๗-๑๓๘-๑๔๐)
-สั ่งทิ้งงาน
(ข้อ ๑๔๕-๑๔๕ สั40ตต)
๗
๘
เบิกจ่ายเงิน
๙
ลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สนิ
ข้อ๑๕๑-๑๕๒
๑๐
ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยังหน่วยของผูใ้ ช้งาน
(เบิก-จ่ายพัสดุ) ข้อ ๑๕๓-๑๕๔
๑๑
การบารุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยูใ่ นสภาพที่ดี
สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน
41
๑๒ การตรวจสอบพัสดุ
ประจาปี
(ข้อ๑๕๕-๑๕๖)
ก่อนสิ้นเดิอนกันยายนทุกปี
-หส.ราชการ-แต่งตั้งคกก.
ที่มิไช่จนท.พัสดุตรวจ
-ให้เริ่มตรวจวันทาการแรก
ของเดือนตุลาคม/
ให้แล้วเสร็จภายใน
๓๐วันทาการ นับจากตรวจ
หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชารุด /สูญ
หายให้แต่งตั้งคกก.สอบข้อเท็จจริง
๑๓
การจาหน่ายพัสดุ
ข้อ ๑๕๗-๑๖๑
พัสดุใดหมดความ
จาเป็ นใช้งาน
สิ้นเปลือง
ค่าใช้จา่ ยมาก
เสนอหส.ราชการเพื่อสั ่งจาหน่าย
ขาย/ทอดตลาด
แลกเปลี่ยน
โอน
แปรสภาพ/
ทาลาย
42
การบริหารงานพัสดุ
ด้านการเงิน
43
การกาหนดความต้องการพัสดุ
เพื่อขอตัง้ งบประมาณ
มี ๒ ด้าน
44
๑.ความต้องการด้านนโยบาย
ขอตัง้ งบประมาณเพื่อให้
สอดคล้องกับนโยบายของ
หน่วยงานสารวจรายละเอียด
โครงการ/แผนกลยุทธ์
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
ขอตั้งงบประมาณให้สมั พันธ์กนั เช่น
ก่อสร้างอาคาร /ต้องตั้งงบประมาณในการ
จ้างออกแบบ,จ้างควบคุมงาน/ จ้างที่
ปรึกษา/มีค่าครุภณ
ั ฑ์ภายในตัวอาคาร?มี
ค่าตอบแทนคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง?
เป็ นต้น
๒.ความต้องการ
ด้านภารกิจปกติ
เช่น
ตัง้ งบประมาณ
ในการจัดซื้อวัสดุ
อุปกรณ์
เครือ่ งมือ
เครือ่ งใช้
ในสานักงาน
เป็ นต้น
เงินงบประมาณ
ที่จะนามาใช้กบั การจัดซื้อจัดจ้างได้แก่
เงิน
งบประมาณ
รายจ่าย
เงินที่รมต.ว่าการ
กระทรวงการคลัง
อนุญาตให้ไม่ตอ้ ง
นาส่งคลัง/ เช่นเงิน
รายได้ของสถานศึกษา
เงิน
ช่วยเหลือ
จาก
ต่างประเทศ
เงินกู ้
ที่ กค. กูจ้ าก
ต่างประเทศ
46
เงินนอกงบประมาณ
ไม่อยูใ่ นบังคับระเบียบนี้ เช่น
เงินรายได้ของ
มหาวิทยาลัย
เงินกองทุน
การบริหารงบประมาณที่ได้รบั ก่อนการจัดหาพัสดุ
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากจาเป็ นต้องโอน/เปลี่ยนแปลง
รายการเงินงบประมาณ หัวหน้าส่วนราชการมีอานาจดังนี้
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณของสานักงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘
• ข้อ๑๘ ข้อ ๒๓ วรรคสอง และ
ข้อ๒๔ สรุปว่า
• ในกรณีที่ส่วนราชการ...มีความ
จาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลง
รายละเอียดรายการในการจัดหา
ครุภณ
ั ฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง
ในงบลงทุน งบเงินอุดหนุน หรืองบ
รายจ่ายอื่น ที่ไม่เป็ นการก่อหนี้
ผูกพันข้ามปี งบประมาณ
• โดยไม่ทาให้เป้าหมาย ผลผลิต หรือ
โครงการตามแผนภายใต้แผน
งบประมาณเดียวกันโดยไม่เพิ่ม
วงเงินมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่
ลดลงในสาระสาคัญ ให้กระทาได้
โดยไม่ตอ้ งตกลงกับสานัก
งบประมาณภายในวงเงิน/ต่อหน่วย
๑.) ครุภณ
ั ฑ์ ไม่เกิน ๑ ล้านบาท
๒.ที่ดินและสิ่งก่อสร้างไม่เกิน ๑๐ล้าน48
การบริหารการจัดหาพัสดุกรณีเงินงบประมาณที่ได้รบั จัดสรร
ไม่เพียงพอ หัวหน้าส่วนราชการสามารถกระทาได้ ดังนี้
ระเบียบบริหารงบประมาณฯ ข้อ ๒๖ กาหนดว่า กรณีไม่อาจจัดหา
ครุภณ
ั ฑ์ หรือรายการสิ่งก่อสร้างนั้น ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม
 ให้หวั หน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ มีอานาจโอน
เปลี่ยนแปลงรายการรายจ่ายได้ โดยมีวิธีปฏิบตั ดิ งั นี้
๑.ให้โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ
รายจ่ายต่างๆ ภายใต้แผน
งบประมาณเดียวกัน หรือ
๒. นาเงินนอกงบประมาณ ไปเพิ่ม
วงเงินรายการนั้นได้ไม่เกิน๑๐%
ของวงเงินที่ได้รบั การจัดสรร
งบประมาณ
๓.กรณีที่มีเงินนอกงบประมาณสมทบ
อยูแ่ ล้ว ให้ใช้เงินนอกงบประมาณไป
เพิ่มได้อีกไม่เกิน ๑๐ %ของวงเงิน
รายการนั้น
๔. ถ้ามีเงินนอกงบประมาณไม่พอ
จะใช้เงินงบประมาณไปเพิ่มได้ไม่เกิน
๑๐% ของวงเงินในส่วนที่เป็ นเงินงปม.
49
การนาเงินงบประมาณที่เหลือจ่ายไปใช้
ในการจัดหาพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการกระทาได้ ดังนี้
(ระเบียบฯบริหารงบประมาณ ข้อ ๒๕)
ให้ หัวหน้าส่วนราชการ หรือ
รัฐวิสาหกิจ มีอานาจโอน/
เปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ
ที่เหลือจ่าย ในแผนงบประมาณ
เดียวกัน จากการดาเนินงานที่
บรรลุวตั ถุประสงค์แล้ว หรือ
จากการจัดซื้อจัดจ้างแล้ว ไปใช้
จ่ายเป็ นรายการใด ๆ ได้
ยกเว้น รายการที่ดิน/
และการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี
/และหากมีหนี้ค้างชาระ ค่า
สาธารณูปโภคหรือค้างหนี้
ตามสัญญา/ให้นาไปจ่าย
ก่อน
50
การบริหารงานพัสดุ
ด้านบุคลากร
51
ข้อควรรู ้
ผูม้ ีอานาจ
ดาเนินการจัดหาพัสดุ
มีได้ ๒ กรณี
52
๑
๒
อานาจดาเนินการ
ซื้อ/จ้าง
อานาจในการ
สั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง
แต่เนื่องจากการจะมอบอานาจให้ตอ่ อายุสญ
ั ญาเป็ นเรือ่ งก่อให้เกิด
ความผูกพันแก่สว่ นราชการผูซ้ ้ ือ/จ้าง นอกเหนือไปจากการปฏิบตั ติ าม
เงื่อนไขของสัญญา ดังนั้น หากประสงค์จะมอบให้ตอ่ อายุสญ
ั ญาได้
ด้วย ก็ให้กาหนดไว้ในหนังสือมอบอานาจให้ชดั เจน
หนังสือเวียนสานักนายกฯ ที่นร(กวพ)๑๐๐๒/ว ๓๕
ลว.๒๓ส.ค.๒๕๓๒
53
กรณีท่ี ๑ กรณีส่วนราชการ
ผูม้ ีอานาจดาเนินการจัดหาพัสดุ (ข้อ ๙)
ได้แก่
หัวหน้าส่วนราชการ
อธิการบดี
และจะมอบอานาจต่อไป
ให้แก่ผดู ้ ารงตาแหน่งใดอีก
ก็ได้
โดยให้คานึงถึง ระดับ
ตาแหน่ง /หน้าที่ และความ
รับผิดชอบ ของผูไ้ ด้รบั มอบ
อานาจเป็ นสาคัญ
•ผูไ้ ด้รบั มอบอานาจ
มีหน้าที่ตอ้ ง
รับมอบอานาจ
•จะมอบอานาจนั้น
ต่อไปอีกไม่ได้
54
กรณีที่ ๒ “ผูม้ ีอานาจอนุ มตั ิสงให้
ั ่ ซื้อ /สังจ้
่ าง”
เมือ่ หาตัวผูข้ ายหรือรับจ้างได้แล้ว
ให้พิจารณาจากวงเงินที่ได้จากผลชนะราคา ตามวงเงินดังนี้
วงเงินวิธีตกลงราคา/
สอบราคา/ประกวดราคา
(ข้อ ๖๕)ได้แก่
- หส.ราชการไม่เกิน ๕๐ล้าน
- ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐
ไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน
- รัฐมนตรี เกิน ๑๐๐ ล้าน
วิธีพิเศษ(ข้อ ๖๖)ได้แก่
-หส.ราชการไม่เกิน ๒๕ ล้าน
-ปลัดกระทรวง เกิน ๒๕ แต่
ไม่เกิน ๕๐ ล้าน
-รัฐมนตรี เกิน ๕๐ ล้าน
วิธีกรณีพิเศษ (ข้อ ๖๗)
-หส.ราชการ ไม่จากัดวงเงิน
55
การจัดหาพัสดุ จะต้องมีบุคลากร
ให้ทาหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ระเบียบกาหนด
ได้แก่
-เจ้าหน้าที่พสั ดุ
- หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ
-คณะกรรมการต่าง ๆ
-ผูค้ วบคุมงาน
56
ผูม้ ีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ(ต่อ)
โดยตาแหน่ง
โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/
พ.ราชการ/พ.มหาวิทยาลัย
ลูกจ้างประจา/ชั ่วคราว
๒.หน.เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
โดยตาแหน่ง
(ข้อ ๕)
โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ
โดยแต่งตัง้ ใช้กบั กรณีไม่มีเจ้าหน้าที่พสั ดุหรือหัวหน้า
เจ้าหน้าที่พสั ดุหรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอานาจ
ดาเนินการจัดหาพัสดุไปให้หน่วยงานในสังกัดดาเนินการเอง
๑.เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
(ข้อ๕)
57
คณะกรรมการต่าง ๆ
การซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง
หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้ง
คณะกรรมการให้ทาหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุ
กาหนดทุกครั้ง
58
(ข้อ ๓๔) การแต่งตัง้ คณะกรรมการในการจัดหาพัสดุแต่ละวิธี
เพื่อให้ทาหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด
๑. วิธีสอบราคา
๒. วิธีประกวดราคา
๓. วิธีพิเศษ
๔.
- คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
- คณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา
-คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
- คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
-หรือ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
ทุกวิธี – คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ใช้กบั งาน
ซื้อ/จ้างทาของ
- คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ใช้กบั งานจ้างก่อสร้าง
(มติครม.๖ก.พ.๕๐)-และคณะกก.กาหนดราคากลาง
๕. จ้างที่ปรึกษา-คณะกรรมการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง /คัดเลือก
(ข้อ๗๙)
59
คณะกรรมการแต่ละคณะ มีองค์ประกอบตามข้อ ๓๕ดังนี้
(แก้ไขโดยระเบียบฯพัสดุ(ฉบับที่ ๗)พ.ศ.๒๕๕๒ใช้ ๑๐ เม.ย.๕๒)
๑.)ประธานกรรมการ๑ คน
๒.) และ กรรมการอื่น
อย่างน้อย ๒ คน
 ให้แต่งตัง้ จาก
ข้าราชการ หรือ/พนักงาน
ราชการ /พ.มหาวิทยาลัย /
พนักงานของรัฐ ก็ได้
 โดยให้คานึงถึงตาแหน่งหน้าที่ และความรับผิดชอบเป็ นสาคัญ
๓.) เพื่อประโยชน์ราชการจะแต่งตัง้ กรรมการอื่นตามข้อ ๒.)เพิ่ม
ได้อีกไม่เกิน ๒ คน
ให้แต่งตั้งจากผูม้ ีความรู/้ ชานาญ ในงานซื้อ,งานจ้างนั้นเข้าร่วมเป็ นกก.
60
การแต่งตั้งคณะกรรมการจากพนักงาน
มหาวิทยาลัย ที่จา้ งจากเงินรายได้
มติกวพ.ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๓(๑๐มิ.ย.๕๓)
ม.เกษตรฯ ขออนุมตั แิ ต่งตัง้ คณะกรรมการจาก
พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้
-เมื่อสภามหาวิทยาลัยฯมีประกาศเรื่องข้อบังคับว่าด้วยการ
บริหารงานบุคคลสาหรับพนักงานว่า “ พนักงาน ”
หมายความรวมถึง พ.ราชการ พ.มหาวิทยาลัย และ
พ.มหาวิทยาลัยเงินรายได้ ดังนั้น การแต่งตัง้ คณะกรรมการ
ตามระเบียบฯย่อมเป็ นอานาจของสภามหาวิทยาลัยที่จะ
แต่งตัง้ ได้ โดยไม่ตอ้ งขออนุมตั ยิ กเว้นต่อกวพ.
61
ข้อควรรู ้
(คาวินิจฉัยของ กวพ. ด่วนที่สุด ที่ กค๐๔๒๑.๓/๐๕๑๘๒ ลว.๑๘ ก.พ.๕๓)
คณะกรรมการอื่น ตามที่ระเบียบข้อ ๓๕
กาหนดให้เพิ่มได้อีกไม่เกิน ๒ คน หมายถึง
ผูม้ ีความรู ้ /ความชานาญเฉพาะ ในงานซื้อ/งานจ้างที่จดั หานั้น
ที่มิใช่ขา้ ราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยหรือ
พนักงานของรัฐ
ซึ่งส่วนราชการประสงค์จะแต่งตัง้ มาร่วมเป็ นกรรมการด้วย
เช่น อาจารย์จากมหาวิทยาลัยเอกชน เป็ นต้น
62
ข้อยกเว้น ไม่ตอ้ งแต่งตั้งในรูปคณะกรรมการ
(ข้อ๓๕วรรคท้าย)
๑.การซื้อ/การจ้าง วงเงินไม่เกิน
๑๐,๐๐๐ บาท
จะแต่งตั้ง ข้าราชการ หรือ
ลูกจ้างประจา หรือ พ.ราชการ/
พ.มหาวิทยาลัย เพียงคนหนึ่งทีม่ ิใช่
ผูจ้ ดั ซื้อจัดจ้าง
 เป็ นผูต้ รวจรับพัสดุหรืองานจ้างก็ได้
(หนังสือเวียนกวพ.ว ๑๕๕ ลว. ๑ พ.ค.
๒๕๕๐ให้แต่งตัง้ ลูกจ้างประจา ได้)
๒. กรณีงานจัดทาเอง(ข้อ๑๕)
-ให้แต่งตั้งผูค้ วบคุม
รับผิดชอบในการจัดทาเอง
-และแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจการปฏิบตั งิ าน
(เว้นแต่
มีเจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบอยูแ่ ล้ว)
63
หลักเกณฑ์การแต่งตัง้
และการพ้นจากการเป็ นกรรมการ
ที่แต่งตัง้ โดย ระบุช่ือบุคคล และ
ตาแหน่ง หรือส่วนราชการ
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๔
แจ้งตามนัยหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ที่ นร ๐๒๐๔/ว ๑๗๐ ลงวันที่
๑๙ กันยายน ๒๕๔๔
๑.การแต่งตัง้ กรรมการที่ตอ้ งการ
ความรับผิดชอบตามตาแหน่งที่ระบุไว้
ให้แต่งตัง้ โดยระบุเพียงชื่อตาแหน่ง
ไม่ตอ้ งระบุชื่อตัวบุคคล
 ในกรณีน้ ี ผูด้ ารงตาแหน่งนัน้ ๆ อาจมอบหมาย
ให้ผอู ้ ่ืนมาทาหน้าที่แทนได้ ภายใต้บทบัญญัตวิ ่า
ด้วยการมอบอานาจให้รกั ษาราชการแทน ตาม
กฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน
๒. การแต่งตัง้ กรรมการที่ตอ้ งการความรู ้ ความ
เชี่ยวชาญ ประสบการณ์ หรือความ
เหมาะสม อันเป็ นคุณสมบัตเิ ฉพาะของ
บุคคล ให้แต่งตัง้ โดยระบุช่ื อตัวบุคคล
ไม่ตอ้ งระบุตาแหน่ง หรือส่วนราชการต้นสังกัด

ซึ่งในกรณีน้ ีจะมอบหมายให้
ผูใ้ ดมาทาหน้าที่แทนไม่ได้
๓.การแต่งตัง้ กรรมการที่ตอ้ งการคุณสมบัตเิ ฉพาะของ
บุคคลและอานาจหน้าที่ในตาแหน่งหน้าที่ ที่บุคคลดังกล่าว
ดารงตาแหน่งอยู่ หรืออานาจหน้าที่ของหน่วยงานที่บุคคล
ดังกล่าวปฏิบตั หิ น้าที่อยู่ ให้แต่งตัง้ โดยระบุช่ือตัวบุคคล
และระบุตาแหน่งของบุคคลนัน้ หรือระบุหน่วยงานที่บุคคล
นัน้ ปฏิบตั หิ น้าที่อยู่
 ซึ่งจะแต่งตัง้ บุคคลอื่นให้มาประชุ มแทนไม่ได้ และ
ในกรณีที่บุคคลนั้นพ้นจากตาแหน่งดังกล่าว ให้เป็ นที่เข้าใจ
ว่า ต้องพ้นจากความเป็ นกรรมการด้วย หรืออาจระบุการ
พ้นจากตาแหน่งไว้ดว้ ยก็ได้ ถ้าไม่ประสงค์เช่นนั้น ก็ไม่ควร
ออกคาสั ่งในลักษณะนี้มาแต่แรก
การลงมติของคณะกรรมการ (ข้อ ๓๖)
วันลงมติ
ประธาน/และกรรมการ ต้องมาประชุมลงมติ
ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด
การลงมติ
ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน
ให้ประธานออกเสียงเพิ่มขึ้น
อีกหนึ่งเสียงชี้ขาด
เว้นแต่
คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง
ให้ถือมติเอกฉันท์
กรรมการคนใด ที่ไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ
-ให้ทาบันทึกความเห็นแย้งไว้ดว้ ย
68
๕. ผูค้ วบคุมงาน
การจ้างก่อสร้างแต่ละครั้ง หัวหน้าส่วนราชการ
จะต้องแต่งตัง้ ที่มีความรู ้ /ความชานาญทางด้านช่าง
ในงานนั้น ๆ ไม่ต ่ากว่า ระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ(ปวช.)(ข้อ ๓๗)
จาก
ข้าราชการ
ลูกจ้างประจา
ในสังกัด หรือจากสังกัดอื่นโดยได้รบั ความยินยอมจาก
หัวหน้าส่วนราชการของผูน้ ้นั
กรณีจาเป็ นต้องจ้างที่ปรึกษาเป็ นผูค้ วบคุมงานแทน ให้ถือ
ปฏิบตั ติ ามหมวด ๒ ส่วนที่ ๓ หรือส่วนที่ ๔ แล้วแต่กรณี
69
การบริหาร
ด้านการจัดซื้อ/จัดจ้าง
70
ด้านการเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง
71
ดูแล งานเช่า หรืองานจ้างใดๆ ที่สญ
ั ญาจะสิ้นสุดในวันที่ ๓๐
กันยายนของปี งบประมาณ และงานนั้นจาเป็ นต้องกระทาต่อเนื่อง
ไปในปี งบประมาณใหม่ต้งั แต่ วันเริม่ ต้นปี งบประมาณ แต่ยงั ลงนาม
สัญญาไม่ได้ เนื่องจากงปม.ยังไม่มีผลใช้บงั คับ/และยังไม่ได้รบั เงินงวด
๑.ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุเตรียมจัดหาผูร้ บั จ้าง หรือผูใ้ ห้เช่าไว้ก่อน
สัญญาจะสิ้นสุด
๒.รีบเสนอให้ผมู ้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งให้เช่าหรือสั ่งจ้าง ทาการอนุมตั ิ
ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนสัญญาจะสิ้นสุด
๓.หลังจากนั้นแจ้งให้ผรู ้ บั จ้างเข้าทางาน หรือใช้พสั ดุที่เช่าได้ทนั ที
ในวันเริ่มต้นปี งบประมาณ
เมื่องบประมาณมาถึง ให้การลงนามสัญญามีผลย้อนหลังตั้งแต่วนั
เริ่มต้นปี งปม.หรือวันที่เช่าหรือวันที่ทางานจริง
(ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๓๕๑ ลว.๙ ก.ย.๔๘)
72
การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง(ระเบียบฯ ข้อ ๑๓)
ในช่วงต้นปี งบประมาณ. ให้เริม่ ดาเนินการได้
ตัง้ แต่ได้ทราบยอดเงินที่จะนามาใช้แล้ว
๒.ให้เตรียมการจัดหาพัสดุ
• มติกวพ.(ส.ค. ๕๐)วิธีปฏิบตั ิ
้
โดยสามารถเตรี
ย
มการในขั
นตอน
๑.ให้เริม่ ดาเนินการได้เมื่อ
ใดก็ได้ เช่น:งบประมาณ ผ่านการอนุมตั จิ าก (ออกแบบ/สอบราคา/ประกวด
รัฐสภา หรือได้รบั อนุมตั เิ งิน
ราคาหาผูข้ าย/ผูร้ บั จ้างไว้แล้ว)
พร้อมที่จะลงนามสัญญาได้ทนั ที
ประจางวดจากสานัก
เมื่อได้รบั อนุ มตั ทิ างการเงิน
งบประมาณ แล้ว
แต่การดาเนินการนั้น ต้องยังไม่มีลกั ษณะเป็ นการผูกนิติ
สัมพันธ์กบั บุคคลภายนอก
(เพื่อให้สอดคล้องพรบ.วิธีการงบประมาณ มาตรา ๒๓)
73
ความหมายของงานซื้อ และงานจ้าง
(ระเบียบ ข้อ ๕)
การซื้อ หมายความว่า
ซื้อพัสดุ ทั้งที่มีการติดตัง้
ทดลอง และบริการที่
เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ
การจ้าง หมายความว่า
การจ้างทาของ/การรับขน/
การจ้างเหมาบริการ
การจ้างก่อสร้าง
74
งานก่อสร้าง คืออะไร (มติกวพ.ปี ๕๒)
• งานก่อสร้าง หมายถึง งานก่อสร้างตามหลัก
ทั ่วไป ที่มีกม. ระเบียบ /มติครม./
หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ เช่น กวพ.
แจ้งเวียน /ว ๑๙๓๙ ลว.๒๔ก.พ.๓๗ว่า-งาน
ก่อสร้างหมายรวมถึงงานเคลื่อนย้ายอาคาร,
งานดัดแปลง/ปรับปรุง ต่อเติม/ซ่อมแซม
อาคาร ที่หัวหน้าส่วนราชการเห็ นว่าจาเป็ น
จะต้องมีผคู ้ วบคุมดูแลการปฏิบตั งิ านของผู ้
รับจ้างตลอดเวลา/มติครม.ว ๙ลว. ๖กพ๕๐งานก่อสร้างอาคาร/ชลประทาน/ทาง/ มติ
ครม.ว๑ ลว.๓ ม.ค.๓๗ งานดินที่ไม่มีการดาด
คอนกรีต ได้แก่ งานขุดลอกคู คลอง สระ
หนอง บึง เป็ นงานก่อสร้าง
หลักพิจารณาว่าอะไรเป็ น
งานจ้างก่อสร้าง ได้แก่
 สัญญาซื้อขายที่มีงาน
ก่อสร้าง หรือพร้อมติดตั้ง
โครงสร้างพื้นฐานรวมอยูด่ ว้ ย
 ให้พิจารณาว่า หากมี
งานก่อสร้างเป็ นสาระสาคัญ
ซึ่งราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่
ติดตั้ง ถือว่า เป็ นงานก่อสร้าง
เช่น งานติดตั้งสะพานลอย
ทางเดินข้ามถนน ก่อสร้างรั้ว
75
การซื้อหรือจ้างในต่างประเทศ (ข้อ ๒๕)
ส่วนราชการที่มีกิจกรรม
ที่ตอ้ งปฏิบตั ใิ นต่างประเทศ
จะซื้อหรือจ้าง โดยวิธีพิเศษ ก็ได้
โดยให้ตดิ ต่อซื้อ หรือจ้างกับผูม้ ีอาชีพขาย หรือรับจ้างทางานนั้นโดยตรง
การซื้อ/จ้าง กรณีมีกิจกรรมที่ตอ้ งปฏิบตั ิ
ในต่างประเทศ
(ตอบหารือ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๑๑๓๖ ลว.๗ พ.ค.๒๕๕๑)
กรณีท่ี ๑ การซื้อของที่ระลึกมอบให้ชาวต่างประเทศ
ระเบียบฯค่าใช้จา่ ยในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ.
๒๕๔๙ ข้อ ๑๑(๙) ให้อยูใ่ นดุลพินิจของหน.ส่วนราชการ
ที่จะจัดซื้อได้และให้เบิกได้เท่าที่จา่ ยจริง
วิธีการซื้อ/จ้างทา
 เนื่องจากค่าใช้จา่ ยดังกล่าวเป็ นค่าใช้จา่ ยของส่วนราชการ
จึงต้องจัดซื้อ/จัดจ้างตามระเบียบฯพัสดุ และมีหลักฐาน
การจ่ายเป็ นใบเสร็จรับเงิน(หรือหลักฐานอื่นใด) ด้วย
การซื้อ/จ้าง กรณีมีกิจกรรมที่ตอ้ งปฏิบตั ิ
ในต่างประเทศ สาหรับการเดินทางไปราชการ
กรณีท่ี ๒. ค่าพาหนะ ของผูเ้ ดินทาง
ค่าพาหนะ (ถือเป็ นสิทธิเฉพาะตัวของผูเ้ ดินทางเอง เช่นกัน)
ข้าราชการผูเ้ ดินทางมีสิทธิเบิกค่าพาหนะ (ค่าโดยสารประจา
ทาง, ค่าเช่าพาหนะ(TAXI) ค่าเชื้อเพลิง(กรณีมีรถเอง),
ค่าระวางรถบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหาม และอื่นๆทานอง
เดียวกัน)เบิกจ่ายได้ตามพรฎ.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางฯพ.ศ.๒๕๒๖
กรณีน้ ีไม่ตอ้ งจัดจ้าง/เช่า ตามระเบียบฯพัสดุ
แต่ผเู ้ ดินทางจะเช่าเหมารถ(ค่าจ้างเหมายานพาหนะ)เพื่อรับ-ส่ง
ตลอดเวลาไม่ได้ เนื่องจากในพรฎ.ค่าใช้จา่ ยเดินทางฯ มิได้ให้สิทธิเบิก
ค่าใช้จา่ ยในลักษณะดังกล่าวได้
การเดินทางไปประชุม /อบรม/ดูงาน/ปฏิบตั งิ าน
ในต่างประเทศ เป็ นหมู่คณะ
(ข้อหารือ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๑๕๐๗๕ลว.๑๑มิ.ย.๒๕๕๑)
ข้าราชการผูเ้ ดินทางมีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายตามพรฎ.ค่าใช้จ่ายเดินทางฯ
พ.ศ.๒๕๔๖ และ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการ
ฝึ กอบรม การจัดงาน และการประชุ มระหว่างประเทศ พ.ศ.๒๕๔๙
กรณีท๑ี่ .
หากจ้างเหมาบริษทั ทัวร์ซ้ ือบัตรโดยสารเครือ่ งบิน /ค่าที่พกั /ค่า
พาหนะ/ค่าอาหาร/ค่าใช้จา่ ยจาเป็ นเนื่องจากการเดินทางให้ผเู ้ ดินทาง
 ถือว่าเป็ นสิทธิเฉพาะตัวของผูเ้ ดินทางเอง สามารถเบิกจ่ายได้
แต่ตอ้ งไม่เกินสิทธิของผูเ้ ดินทางจะพึงได้รบั
ใช้ใบเสร็จบริษทั ทัวร์เบิกจ่ายได้ ตาม ว ๒๕ลว.๒๒ม.ค ๔๗
การเดินทางไปประชุม /อบรม/ดูงาน/ปฏิบตั งิ านใน
ต่างประเทศ เป็ นหมู่คณะ(ต่อ)
กรณีท่ี ๒.
หากส่วนราชการมีความจาเป็ นต้องเช่า หรือจ้างเหมา
ยานพาหนะ
เพื่อรับ-ส่งคณะเดินทางไป-กลับพร้อมกัน จากที่พกั -ไปยังสถานที่
จัดประชุม /จัดงาน เพื่อให้การปฏิบตั ริ าชการสะดวก รวดเร็วและ
ทันเวลา หรือ จ้างขนสิ่งของของทางราชการโดยเฉพาะ
ถือว่า เป็ นค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงานตามปกติของส่วน
ราชการ พ.ศ.๒๕๔๙
กรณีน้ ีต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ ข้อ ๒๕
การเดินทางไปประชุม /อบรม/ดูงาน/ปฏิบตั งิ านใน
ต่างประเทศ เป็ นหมู่คณะ(ต่อ)
ดังนั้น หากการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั ่วคราว และ
ส่วนราชการจะต้องไปดาเนินการจัดหาพัสดุตามระเบียบฯ ด้วย
ซึ่งผูเ้ ดินทางมิใช่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ หรือ เจ้าหน้าที่พสั ดุ
และไม่มีอานาจในการสั่งซื้อ/สั่งจ้าง ร่วมเดินทางไปด้วย
ส่วนราชการ จะต้อง
มอบหมายให้ขา้ ราชการ
ที่เดินทางไปในครั้งนั้น
ทาหน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่
พัสดุ หรือเจ้าหน้าที่พสั ดุ
รวมทั้งแต่งตั้ง
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
แล้วแต่กรณี
เพื่อให้ดาเนินการในเรื่อง
ของการจัดซื้อ/จัดจ้างเป็ นไป
ตามระเบียบด้วย
ข้อปฎิบตั ทิ ่ีควรรู ้
เกี่ยวกับการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ
ของสิ่งของที่จะซื้อ/งานที่จะจ้าง
Specification(Spec)
82
การกาหนดขอบเขตของสิ่งของที่ซ้ ือ/จ้าง(Spec)
หลักการ
** การกาหนดคุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา หรือ ผูเ้ สนองาน และ
รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ซ้ ือหรืองานจ้าง ตลอดจน
การวินิจฉัยตีความคุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา หรือ ผูเ้ สนองาน
แต่ละรายว่าเป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้หรือไม่
** เป็ นอานาจของหน่วยงานที่จด
ั หาพัสดุ สามารถใช้
ดุลยพินิจกาหนดได้ตามความต้องการของหน่วยงาน
แต่ ต้ องอย่ ภู ายใต้ หลักเกณฑ์ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ คาสั่ง
หรื อมติคณะรั ฐมนตรี ที่เกีย่ วข้ องกาหนดไว้
83
การกานดSpecถ้ามีสินค้าที่ผลิตในประเทศ
** มติ ครม. 29 พ.ค. 50 - ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50 **
1. การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ
-ให้หน่วยงานของรัฐใช้พสั ดุท่ีผลิตในประเทศ และถือปฏิบตั ติ าม
ระเบียบหรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของหน่วยงานผูด้ าเนินการ
ในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด
พัสดุท่ีผลิตในประเทศ หมายความว่า .......
** ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสาเร็จรูปแล้ว โดยสถานที่ผลิตตั้งอยูใ่ น
ประเทศไทย (ระเบียบฯ ข้อ 5)
** หมายความรวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการประกอบหรือขึ้นรูป
ในประเทศไทยด้วย (ตรวจสอบจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรม)
84
พัสดุที่ได้มาตรฐานมอก. / ISO /ผลิตภัณฑ์จดทะเบียน
หาดูได้ใน websiteของสมอ.
ISO
9001:2000
มาตรฐาน
มอก.
ผลิตภัณฑ์
จดทะเบียน
หาดูได้จาก บัญชีค่ม
ู ือผูซ้ ้ ือ หรือใบแทรกคู่มือผูซ้ ้ ือ
ที่กระทรวงอุตสาหกรรม(สมอ.)จัดทาขึ้น
ถึงเดือนก่อนหน้าที่จะประกาศซื้อหรือจ้าง
85
86
กรณีไม่มีผไู ้ ด้รบั มอก./ ISO/
หรือไม่มีการจดทะเบียน เลย
ให้ระบุSpec ได้ตาม
ความต้องการ ของหน่วยงาน
แต่ตอ้ งแจ้งให้ผเู ้ สนอราคา
ระบุแหล่งกาเนิด /ประเทศ
ผูผ้ ลิตสิ่งของที่เข้ามาเสนอ
ราคาด้วย เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์
พิจารณา ตามข้อ ๑๖ (๑๑)
ข้อห้าม
ห้ามระบุว่าสินค้าที่
เสนอราคาต้องผลิต
ในทวีปยุโรปหรือ
อเมริกา เป็ นต้น
87
กรณีการซื้อพัสดุจากต่างประเทศ
กรณีตอ่ ไปนี้ ให้เสนอรัฐมนตรีพิจารณา*
๑.ถ้ามีพสั ดุที่ผลิตในประเทศ แต่ไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการในประเทศ หรือมีนอ้ ยราย
๒. จาเป็ นต้องใช้พสั ดุที่ผลิตจากต่างประเทศ
หรือจะต้องนาเข้าจากต่างประเทศในกรณี
เป็ นประโยชน์ยงิ่ กว่า
88
๒.การซื้อพัสดุจากต่างประเทศ (ต่อ)
มติครม. ยกเว้น
1 การจัดหาที่มีวงเงินไม่สูง ให้เป็ นอานาจของ
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ที่จะพิจารณาอนุ มตั ไิ ด้ 2 กรณี ดังนี้
1) เป็ นการจัดหาอะไหล่ ที่จาเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ คุณลักษณะ
เฉพาะและ จาเป็ นต้องนาเข้าจากต่างประเทศ
2) เป็ นการจัดหาที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท หรือ ราคาพัสดุท่ี
นาเข้าจากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 2 ล้านบาท
2. การใช้พสั ดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือนาเข้าจากต่างประเทศ
หมายถึง การใช้ หรือ การนาเข้าพัสดุท่ีผลิตสาเร็จรูปแล้ว จาก
ต่างประเทศไม่ว่าจะนาเข้าโดยคู่สญ
ั ญาหรือบุคคลอื่นใด
89
การกาหนด(Spec) ของสิ่งของหรือยีห่ อ้ สิ่งของในงานซื้อ
มติ ครม. ตามหนังสือ
ที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12
และ
ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19
คุณลักษณะเฉพาะของสิ่ งของ
*** ห้ าม ***
1. กาหนดให้ใกล้เคียงกับยี่หอ้ ใดยี่หอ้ หนึ่ง
2. ระบุย่ีหอ้ สิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มีขอ้ ยกเว้นไว้ เช่น
ยารักษาโรค เครือ่ งอะไหล่ เป็ นต้น
90
การกาหนด(Spec)
ของสิ่งของหรือยีห่ อ้ สิ่งของในงานก่อสร้าง
มติ ครม. 23 มี.ค. 20
(ที่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20)
การกาหนดรายการในการก่ อสร้ าง
1. ถ้ามี มอก. หรื อ กระทรวง
2. กรณียงั ไม่ มีมาตรฐาน ถ้าส่ วนราชการ อตุ สาหกรรมรั บรองแล้ ว หรื อ
มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น
จาเป็ นต้ องใช้ สิ่งของทีเ่ ห็นว่ ามีคณ
ุ ภาพดี
กาหนดไว้ กใ็ ห้ ระบุตาม
เป็ นที่นิยมใช้ ในขณะนั้น ต้ องระบุให้ มาก
มาตรฐานนั้นได้ ตามความ
เปิ ดกว้ าง มากยีห่ ้ อทีส่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะสามารถ
ระบุได้ และสิ่งของทีม่ ีคณ
ุ ภาพเทียบเท่ ากัน จาเป็ น
ก็ให้ ใช้ ได้ ด้วย
91
(ตัวอย่าง)การกาหนด Spec สิ่งของที่จะซื้อ/จ้าง
• หลักแนวปฏิบัติของส่วน
วิธีทา
ราชการทีก่ วพ. มีมติไว้
๑)ผู
จ
้
ด
ั
หาพั
ส
ดุ
ต
อ
้
งตรวจสอบว่
า
เมือ่ ๓ธ.ค.ปี ๔๘
้
สิ
น
ค้
า
รายการนั
น
สามารถมี
การกาหนด Spec ของ
สิ่งของที่จะซื้อ/จ้างแต่ละ ผูเ้ สนอราคาเข้าแข่งขันกันได้
หลายรายและ หลายยี่หอ้
รายการ
ย่อมขึ้นอยูท่ ี่ความต้องการ หรือไม่
ของผูใ้ ช้ครุภณ
ั ฑ์ ของ
- เพื่อไม่เป็ นการกีดกันผูเ้ สนอ
หน่วยงาน
ราคารายใด รายหนึ่ง
หรือยี่หอ้ ใด ยีห่ อ้ หนึ่ง
92
(ตัวอย่าง)กาหนด specสิ่งของที่จะซื้อ/จ้าง(ต่อ)
ซึ่งหากใช้วิธีประกวดราคา
๒)หากหน่วยงานจาเป็ นต้อง
กาหนดคุณลักษณะ
อาจทาให้ได้ ครุภณ
ั ฑ์ที่ไม่ตรง
ตามวัตถุประสงค์หรือความ
(Spec)เป็ นการ
จาเป็ นในการใช้งานหรือ หาก
เฉพาะเจาะจง เนื่องจาก
กาหนดคุณลักษณะของครุภณ
ั ฑ์
ความจาเป็ นในการใช้งาน
เป็ นการเฉพาะเจาะจง
แล้ว
-อาจทาให้มีผเู ้ สนอราคาได้
-หน่วยงานที่จดั หา ก็ควร
เพียงรายเดียว หรือ แม้จะมีผู ้
จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
เสนอราคาหลายราย แต่อาจ
เสนอครุภณ
ั ฑ์ได้เพียงยีห่ อ้ เดียว
93
การกาหนดSpec เรือ่ งงานก่อสร้าง
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๖ มิ.ย.๒๕๒๑
หนังสือสานักเลขาครม. ด่วนมาก ที่ สร ๐๒๐๓
/ ว ๘๐ ลว. ๘ มิ.ย. ๒๕๒๑ กาหนดมาตรการป้องกัน
หรือลดโอกาสการสมยอมกันในการเสนอราคาที่
เกี่ยวข้องกับงานจ้างก่อสร้างไว้ดงั นี้
๑. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เป็ นผูก้ าหนด
แบบบัญชีรายการก่อสร้าง เพื่อให้ผเู ้ สนอราคากรอกปริมาณวัสดุ
และราคา และเพื่อตรวจสอบเปรียบเทียบกับราคากลาง
94
๒.ให้กาหนดระยะเวลาการก่อสร้างไว้ในเอกสารประกวดราคา
๓.งานก่อสร้างวงเงิน ๑ ล้านบาทขึ้นไป
ต้องกาหนดให้ผเู ้ สนอราคาต้องเป็ นนิตบิ ุคคล
๔.ผูเ้ สนอราคาต้องมีวัตถุประสงค์ในการรับจ้างก่อสร้าง
๕.ให้กาหนดระยะเวลาการก่อสร้างไว้ในเอกสารประกวดราคา
๖.ให้แบ่งงวดงาน การจ่ายเงินให้สมั พันธ์กนั และต้องกาหนด
ไว้ในเอกสารประกวดราคาด้วย
๗.ไม่กาหนดราคาขายแบบรูปรายการในอัตราร้อยละของ
ราคากลาง หรือวงเงินงบประมาณ และให้ขาย ณ หน่วยงาน
ต้นสังกัด/หรือหน่วยงานย่อยที่มีการก่อสร้าง ก็ให้กระทาได้
95
๘.สถานที่ขายแบบต้องสามารถติดต่อได้สะดวก
ไม่เป็ นเขตหวงห้าม
๙.เตรียมแบบรูปรายการไว้ให้มากเพียงพอกับผูซ้ ้ ือแบบ
๑๐.เปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีคุณสมบัตซิ ้ ือแบบได้เท่าเทียมกัน
๑๑.ถ้าผูเ้ สนอราคาผิดเงื่อนไขที่มิใช่สาระสาคัญ ให้พิจารณา
ผ่อนปรน ไม่ตดั รายนัน้ ออก
๑๒.การพิจารณาราคารวม ให้พิจารณาราคาต่อหน่วยของ
แต่ละรายการ ว่าเหมาะสมหรือไม่ดว้ ย
๑๓.ถ้ามีการสมยอมกันในการเสนอราคา ให้ยกเลิกการ
ประกวดราคา
96
มติคณะรัฐมนตรี (๒๘ ธ.ค.๒๕๓๖)
หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ด่วนมาก ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๑ ลว. ๓ ม.ค.๒๕๓๗
๑.กรณีการประกวดราคามิได้กาหนดงวดงานไว้ ให้กาหนด
เงื่อนไขในสัญญาจ้างให้ผรู ้ บั จ้างจะต้องเสนอแผนการทางานด้วย
๒.กาหนดให้มีการประกันความชารุดบกพร่องของงานก่อสร้าง
ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ปี ยกเว้น ถนนลูกรัง ถนนดิน งานขุดลอกคู
คลอง สระ หนอง ซึ่งเป็ นงานดินไม่มีดาดคอนกรีต
๓.กรณีจาเป็ นต้องกาหนดผลงาน ให้กาหนดได้ไม่เกิน
ร้อยละ ๕๐ของวงเงินที่จะจ้างในครัง้ นัน้
97
การกาหนด Spec เกี่ยวกับคุณสมบัตขิ อง
ผูเ้ ข้าเสนอราคาในเรือ่ งผลงานงานก่อสร้าง ตามมติ
คณะรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๑ ลว.๓ ม.ค.๒๕๓๗
และมีส.เวียน นร (กวพ)1204/ว11441 ลว.28 พ.ย.39
ซ้อมความเข้าใจว่า
กรณีกาหนดผลงาน งานก่อสร้ าง
๑.ต้องเป็ นผลงานในสัญญาเดียวเท่านัน้
๒.เป็ นผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้างคือ
เป็ นผลงานที่ใช้เทคนิคในการดาเนินการเหมือนกัน
๓.เป็ นผลงานที่ผรู ้ บั จ้างได้ทางานแล้วเสร็จตามสัญญที่ได้มีการส่งมอบงาน
และตรวจรับเรียบร้อยแล้ว
๔. ต้องเป็ นผลงานที่กระทาสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิ สาหกิจหรื อเอกชน
ซึ่งเป็ นผูว้ ่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจากการรับจ้างช่วง
98
ข้อห้ามกาหนดคุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคาในลักษณะต่างๆ
เช่น (หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่นร(กวพ)๑๓๐๕/ว ๗๙๑๔
ลว.๒๒ กันยายน ๒๕๔๓)
๑. จะต้องเป็ นนิตบิ ุคคลที่มีทุนจดทะเบียนจานวนหนึ่ง
๒.จะต้องมีผลประกอบการเป็ นกาไร
๓.จะต้องมีบุคลากร หรือมีเครื่องมือเครือ่ งจักรอยูก่ ่อน หรือขณะ
เข้าเสนอราคา
๔.จะต้องมีหนังสือรับรองทางการเงินจากสถาบันการเงินมาแสดง
ตั้งแต่ขณะเสนอราคา
เป็ นต้น เนื่องจากเป็ นการกาหนดเงื่อนไขที่ไม่เป็ นธรรม กีดกัน
หรือช่วยเหลือผูเ้ ข้าเสนอราคาบางราย
99
กรณีที่เป็ นงานซื้อ / จ้าง ทั่วไป
ไม่มีเรือ่ งการให้ตอ้ งกาหนดผลงานผูเ้ สนอราคา
หากจาเป็ นต้องกาหนด ก็เป็ นดุลยพินิจของส่วนราชการที่จะ
อนุ โลมนาหลักเกณฑ์ของงานก่อสร้างมาใช้ได้
กล่าวคือ
กาหนดผลงานได้ไม่เกิน ๕๐% ของวงเงินงบประมาณ
(แนววินิจฉัยของ กวพ.)
100
การกาหนด Spec ของผูเ้ สนอราคา
ที่เป็ น “กรณีกิจการร่วมค้า”
 จดทะเบียน
o คุณสมบัตคิ รบถ้วนตามเงื่อนไข
o คุณสมบัตดิ า้ นผลงานก่อสร้าง ..... ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่วมค้าได้
 ไม่จดทะเบียน
ส.เวียนสานักนายกฯ
o คุณสมบัตทิ ุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข
นร(กวพ)1305/ว
o ข้อยกเว้น
2457 ลว.
• ตกลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
16 มี.ค.43
• ให้ใครเป็ นผูร้ บั ชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐาน
พร้อมซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค
•ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่วมค้าหลักได้
101
(ตัวอย่ าง)กาหนดคุณสมบัตผิ ลงานจ้ างก่ อสร้ างเกินอัตรา
ที่ครม.กาหนดไว้ (๕๐%ของวงเงินงบประมาณ)
• (มติกวพ.ครัง้ ที่ ๑๔/๒๕๕๐ จังหวัดราชบุร)ี
• ปั ญหา โรงพยาบาล ก. กาหนดผลงานว่า ผูเ้ สนอราคาขณะนี้ต้องเป็ น
คู่สญ
ั ญาโดยตรงกับส่วนราชการ มีผลงานก่อสร้างอาคารสูงไม่นอ้ ย
กว่า ๗ ชั้น วงเงินไม่นอ้ ยกว่า ๑๙๙ ล้านบาท และคู่สญ
ั ญาได้ลงนาม
แล้ว ไม่นอ้ ยกว่า ๑๘๐ วันนับถึงวันยืน่ ซองประกวดราคา
• วินิจฉัยว่า
• เป็ นการกาหนดคุณสมบัตทิ ี่ไม่สอดคล้องกับระเบียบฯ๓๕และมติครม.
ว ๑ และหนังสือเวียนของกวพ. ว ๗๙๑๔ ลว.๒๒ ก.ย.๔๓ กล่าวคือ
-กาหนดผลงานเกิน ๕๐%ของวงเงินงบประมาณ
และ ผลงานที่กาหนดจะต้องเสร็จสิ้นตามสัญญาแล้ว
102
การกาหนดSpecเกี่ยวกับรายละเอียดงานดินถม งาน
ดินตัก และฐานรากในการจ้างก่อสร้าง
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี
ที่ นร(กวพ) ๑๒๐๔/ว๑๑๕๔๒ ลว ๒ ธ.ค.๒๕๓๙
ก่อนเริ่มดาเนินการจัดจ้างตามระเบียบ
๑.ให้ส่วนราชการสารวจสภาพดินในสถานที่ก่อสร้าง เพื่อ
กาหนดแบบรูป/รายการละเอียดในงานฐานรากให้แน่นอน
ชัดเจนเสียก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัน้ -ยาวของเสาเข็ม
๒.ให้ส่วนราชการสารวจ ตรวจสอบกาหนดปริมาณดินถม
งานดินตัก ในแบบรูปรายละเอียด ให้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง
103
การกาหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก และ
ฐานรากในการจ้างก่อสร้าง (ต่อ)
๓. กรณีไม่อาจการกาหนดแบบรูปและรายละเอียดของงาน
ฐานรากได้แน่นอน จาเป็ นต้องให้มีทางเลือกในการ
เปลี่ยนแปลงฐานราก
-ให้กาหนดเงื่อนไขไว้ในชัน้ เสนอราคาในส่วนต่างๆให้ชัดเจน
ตัง้ แต่ตน้ และระบุไว้ในสัญญาด้วย เช่น ต้องตอกเสาเข็ม
หรือใช้ฐานแผ่ ขนาดความสัน้ -ยาวของเสาเข็ม
๔. หากระหว่างดาเนินการตามสัญญา มีความจาเป็ นต้อง
เปลี่ยนแปลงฐานราก ให้แก้ไขสัญญา ตามระเบียบฯพัสดุ
โดยตกลงในเรือ่ งเนื้องาน ที่เปลี่ยนแปลง และราคาค่าจ้าง
รวมทัง้ ระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลงพร้อมกันไปด้วย
104
การออกแบบและควบคุมงานจ้างก่อสร้าง
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ ๑๖ มี.ค.๒๕๓๖
หนังสือสลค.ที่นร๐๒๐๕/ว ๔๔ลว.๒๒มี.ค.๒๕๓๖
•กาหนดวิธีปฏิบตั เิ รื่องหลักเกณฑ์ การออกแบบอาคารไว้ดงั นี้
•๑.หน่วยงานที่ไม่มีหน่วยออกแบบ หรือมีแต่ไม่สามารถ
ออกแบบก่อสร้างได้
๒.ให้แจ้งขอความร่วมมือกรมโยธาธิการ กรมศิลปากร และ
ส่วนราชการอื่นที่มีหน่วยงานออกแบบก่อสร้างอย่างน้อย
อีกหนึ่งแห่งอย่างช้า ภายใน ๓๐ วันนับแต่พรบ.
งบประมาณรายจ่ายประจาปี มีผลใช้บงั คับ
๓.ให้กรมโยธาธิการ กรมศิลปากร หรือส่วนราชการอื่นที่มี
หน่วยงานออกแบบก่อสร้างที่ได้การติดต่อ แจ้งตอบกลับมา
ภายใน ๑๕ วันว่าออกแบบให้ได้ ให้สว่ นราชการเจ้าของ
งบประมาณ แจ้งตอบรับภายใน ๗ วัน นับแต่ได้รบั แจ้ง
๔.ถ้าหน่วยงานออกแบบแจ้งว่าไม่สามารถออกแบบได้ หรือไม่
แจ้งกลับภายใน ๑๕ วัน ให้ทวงถาม เมื่อพ้นกาหนด๑๕ วันแต่
ทวงถาม ยังไม่ได้รบั คาตอบ ให้จา้ งเอกชนออกแบบได้ โดยขอ
ตกลงกับสานักงบประมาณจัดสรรค่าออกแบบให้ตอ่ ไป
๕.ให้แจ้งขอความร่วมมือกรมโยธาธิการ เป็ นผูว้ ่าจ้างออกแบบก่อสร้าง
อาคารให้ก็ได้
106
ข้อผิดพลาดที่ตรวจพบเกี่ยวกับงานจ้างที่ปรึกษา
ให้ออกแบบงานก่อสร้าง
ข้อ
สังเกต
งานจ้างที่ปรึกษาให้ออกแบบ
ก่อสร้าง สามารถกาหนดเงื่อนไข
ขอบเขตงานจ้างไว้ในspec ให้ที่
ปรึกษาเป็ นผูค้ วบคุมงานด้วยก็ได้
ข้อ
ห้าม
ห้ามมิให้ท่ีปรึกษา ที่รบั จ้างออกแบบงานก่อสร้าง มาเข้าร่วมเสนอราคางานก่อสร้าง
ที่ได้ออกแบบงานนัน้ เนื่องจาก ถือได้ว่า
เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผูเ้ ข้า
เสนอราคาด้วยกัน เกิดความไม่เป็ นธรรม
107
ข้อสังเกต
เกี่ยวกับวิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง
108
การซื้อ / การจ้าง มี ๖ วิธี
ขึ้นอยูก่ บั วงเงิน และเงื่อนไขของแต่ละวิธี
ข้อ ๑๙ วิธีตกลงราคา
วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท
ข้อ ๒๐ วิธีสอบราคา
วงเงินเกิน ๑ แสน-๒ ล้านบาท
ข้อ ๒๑ วิธีประกวดราคา วงเงินเกิน ๒ล้านบาทขึ้นไป
ข้อ ๒๓ ชื้อโดยวิธีพิเศษ
วงเงินเกิน๑ แสนบาทขึ้นไป
ข้อ ๒๔ จ้างโดยวิธีพิเศษ
- แต่มีเงื่อนไข
ข้อ ๒๖ วิธีกรณีพิเศษ
ไม่กาหนดวงเงิน
ข้อ ๑๘(๖) วิธีประมูลทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ตามประกาศกระทรวงการคลัง วงเงินเกิน ๒ล้านขึ้นไป
(ระเบียบฯ 49วิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ วงเงินตัง้ แต่ ๒ ล้านขึ้นไป )
109
ข้อควรระวัง
ข้อห้ามแบ่งซื้อ หรือ แบ่งจ้าง (ข้อ ๒๒ วรรคสอง)
หลักการของระเบียบ
(ข้อ ๒๒ วรรคแรก)การซื้อ
ผูส้ ั ่งซื้อ-สั ่งจ้าง จะสั ่งให้ทา
หรือจ้าง โดยวิธีตกลงราคา
โดยวิธีที่สูงกว่าก็ได้
หรือ สอบราคาตามข้อ ๑๙,๒๐
ข้อห้ามแบ่งซื้อ หรือ แบ่งจ้าง/ให้พิจารณาขณะดาเนินการ
-หากมีเจตนา ที่จะลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจะจ้าง
ในครั้งเดียวกันให้ต ่าลงเพื่อเปลี่ยนแปลง
๑) วิธีจดั หา ตามข้อ ๑๙ และ ๒๐ ให้ลดลง
๒) หรือให้ผมู ้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง เปลี่ยนแปลงไป
110
เหตุที่หา้ มแบ่งซื้อ /แบ่งจ้าง
เนื่องจากการจัดหาพัสดุคราวละจานวนมาก ทาให้มีการ
แข่งขันราคาอย่างเสรี /ราชการได้ประโยชน์สูงสุด
• (มตืกวพ.มื.ย.๓๑)
การแบ่งซื้อ หรือแบ่งจ้าง หมายความถึง
การซื้อ/การจ้าง ที่มีลักษณะพัสดุประเภทเดียวกัน
มีความต้องการในการใช้พสั ดุในระยะเวลาเดียวกัน
“ก็ควรดาเนินการจัดหาในคราวเดียวกัน”
111
ข้อควรรูเ้ งินงบประมาณที่แยกออกเป็ น แต่ละรายการ
ไม่ถือว่าแบ่งซื้อ /แบ่งจ้าง.
• ส่วนราชการได้รบั การจัดสรรเงินงบประมาณ โครงการก่อสร้าง
อาคาร ซึ่งมีหลายอาคาร โดยเงินระบุจาแนกเป็ นรายอาคาร
• ถือว่า เงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารของแต่ละอาคารแยกออก
จากกัน การดาเนินการจัดจ้างก่อสร้างอาคาร สามารถดาเนินการ
ได้ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดดังนี้
1. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละอาคาร
2. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละกลุม่ อาคาร
3. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละหลายกลุม่ อาคาร
4. ประกวดราคาครั้งเดียวกันทุกอาคาร
112
การแบ่งวงเงินและกระจายอานาจ
ในการจัดซื้อ/จัดจ้างไปให้หน่วยงานย่อยแต่ละแห่ง
ในสังกัดไปจัดหาเอง ไม่ถือว่าแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง
• แต่เมื่อหน่วยงานย่อยที่ได้รบั มอบอานาจมาแล้ว หรือได้รบั
อนุมตั เิ งินประจางวดมาในคราวเดียวกัน
• ก็สมควรจัดซื้อจัดจ้างรวมเป็ นครั้งเดียวกันด้วย
•
แต่เพื่อสะดวกในการพิจารณาราคา
• อาจกาหนดเงื่อนไขในการตัดสินราคาว่า จะพิจารณาราคา
รวม หรือราคาต่อหน่วย หรือต่อรายการ แล้วแต่กรณี ตาม
ความจาเป็ นได้ดว้ ย (มติกวพ.๓๐ก.ย.๔๕)
113
ในกรณีการรวมจัดซื้อพัสดุประเภทเดียวกัน
• วิธีปฏิบตั ิ (๑) กรณีพสั ดุที่จดั ซื้อ เป็ นประเภทชนิดเดียวกันแม้ตา่ ง
ขนาด ต่างราคากัน ควรรวมการจัดซื้อในคราวเดียวกัน
• หากความต้องการใช้งานรวมทั้งปี มีวงเงินเกินกว่า ๑๐๐.๐๐๐
บาทแล้ว หน่วยงานก็จะต้องดาเนินการสอบราคาหรือประกวดราคา
วิธีปฏิบตั ิ(๒) เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ทั้งใน
การเก็บรักษา หรือควบคุมคุณภาพและปริมาณของพัสดุที่จดั ซื้อ
• หน่วยงานสามารถกาหนดเงื่อนไขการจัดซื้อ โดยใช้สญ
ั ญาจะซื้อจะ
ขายแบบราคาคงที่ไม่จากัดปริมาณ เพื่อออกใบสั ่งซื้อเป็ นคราว ๆ
ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานจริง ของแต่ละช่วงเวลาได้
114
ลักษณะของ สัญญาจะซื้อจะขายแบบ
ราคาคงที่ไม่จากัดปริมาณ
เป็ นสัญญาที่กวพ.กาหนดขึ้นมา เพื่อใช้กบั การซื้อขาย
ที่มีราคาพัสดุตอ่ หน่วยที่คงที่ แน่นอนตลอดอายุสญ
ั ญา
แต่การจัดซื้อตามสัญญา ผูซ้ ้ ือจะทะยอยการสั ่งซื้อตาม
ความต้องการของผูซ้ ้ ือ/ผูข้ ายสัญญาว่าจะเตรียมพัสดุ
ไว้ให้เพียงพอตามจานวนที่ได้ประมาณการไว้ในสัญญา
โดยมีวงเงินตามสัญญา ประมาณไว้ไม่เกินกว่าวงเงิน
ที่ดาเนินการจัดหาในครั้งนั้น
115
116
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา
(เป็ นการจัดหาพัสดุ วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท
(ข้อ๓๙ วรรคแรก))มีวิธีปฏิบตั ดิ งั นี้
๑.เมือ่ หัวหน้าส่วนราชการได้รบั ความเห็นชอบรายงาน
ขอซื้ อ/ขอจ้าง ตามทีเ่ จ้าหน้าทีพ่ สั ดุเสนอแล้ว
๒.ให้เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุไปติดต่อตกลงราคากับผูข้ าย/ผูร้ บั
จ้างโดยตรง(ระเบียบมิได้มีขอ้ กาหนดว่าต้องมีใบเสนอราคา)
๓.หลังจากนั้น ให้หวั หน้าจนท.พัสดุ เขียนใบสังซื้
่ อ/สังจ้
่ าง
ได้ภายในวงเงินทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการตามทีไ่ ด้มีการรายงานขอซื้ อ/จ้างไว้แล้วนั้น
117
การซื้อ/จ้าง วิธีตกลงราคา กรณีมีความจาเป็ นเร่งด่วน
ทีไ่ ม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้าได้ (ข้อ๓๙วรรค ๒)
ใช้กบั กรณีจาเป็ น/เร่งด่วน/ที่ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้า
โดยให้ทารายงานขอซื้อ/จ้างภายหลังได้
วิธีปฏิบตั ิ ขั้นตอนที่ (๑)
-ให้จนท.พัสดุ/จนท.ผูร้ บั ผิดชอบ ในการปฏิบตั งิ าน
นั้น จัดซื้อ/จ้างไปก่อนได้
ขั้นตอนที่(๒)
-ให้จดั ทารายงานขอซื้อ/จ้าง ขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วน
ราชการในภายหลัง โดยมีสาระสาคัญเท่าที่จาเป็ น
ขั้นตอนที่(๓)
-ให้ใช้รายงานที่หวั หน้าส่วนราชการเห็นชอบนั้นเป็ น
หลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม
118
การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีสอบราคา
(วงเงินเกิน๑แสน-๒ ล้าน)
เป็ นวิธีแข่งขันราคา
ระเบียบฯข้อ ๔๐ กาหนดว่า
ให้จนท.พัสดุจดั ทาร่างประกาศและเอกสารสอบราคา
ในการจัดทาเอกสารสอบราคาตามข้อ ๔๐ มีหนังสือเวียน
สานักนายกรัฐมนตรี
ที่ นร(กวพ)๑๒๐๔/ว ๘๕๘ ลงวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๓๕
กาหนดให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ เป็ นผูล้ งชื่ อกากับตรา
ชื่อส่วนราชการ เช่นเดียวกับวิธีประกวดราคา
119
เอกสารสอบราคาอย่างน้อยให้แสดงรายการดังต่อไปนี้
(ข้อ ๔๐)
120
--
ข้อสังเกต วิธีสอบราคา
-ไม่มีการขายเอกสารสอบราคา-และไม่มีการวางหลักประกันซอง
-ให้แจกจ่าย/หรือให้เอกสารได้ ตัง้ แต่วนั ที่ลงประกาศสอบราคา
-กาหนดวันยืน่ ซอง ถึงวันปิ ดรับซองต้องไม่นอ้ ยกว่า ๑๐วัน
-จะกาหนดให้ยนื่ ซองสอบราคาทางไปรษณียก์ ็ได้
-ผูร้ บั ซองได้แก่จนท.งานสารบรรณ/หรือผูท้ ี่ได้รบั แต่งตัง้ ให้รบั ซอง
โดยเฉพาะ
-เมื่อรับซองแล้วให้สง่ ให้หวั หน้าจนท.พัสดุ เก็บรักษาไว้
-เมื่อปิ ดรับซองให้หน.จนทพัสดุทาบันทึกส่งคกก.เปิ ดซองสอบ
ราคา
-หากมีผเู ้ สนอราคามีคณ
ุ สมบัตถิ ูกต้องรายเดียว
-ให้ตรวจสอบคุณภาพของสิ่งของ/ว่า มีคณ
ุ ภาพ/คุณสมบัตแิ ละเป็ น
ประโยชน์ตอ่ ราชการหรือไม่
-หากเห็นว่าสมควรซื้อ/จ้างจากรายเดียวนั้นก็ให้ดาเนินการต่อไปได้
โดยไม่ตอ้ งยกเลิกการสอบราคา
121
ข้อควรรู ้
การกาหนดวัน เวลา เปิ ดซอง ใบ
เสนอราคา ให้กาหนดวันใด วัน
หนึ่งหลังจากวันปิ ดการรับซอง
แล้ว ทั้งนี้ ให้คานึงถึงระยะเวลาที่
คณะกรรมการเปิ ดซองฯ
ต้องใช้ในการตรวจสอบ
ผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน ด้วย
เช่น ปิ ดการรับซอง
วันที่ 1
ควรกาหนดวันเปิ ด
ซองใบเสนอราคา
เฉพาะผูม้ ีชื่อผ่านการ
ตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์รว่ มกัน
วันที่ 4 เป็ นต้น
หนังสือเวียน สานักนายกฯ ด่วนมาก ที่นร(กวพ)
๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ลว.๒๐ส.ค.๒๕๔๒ เรือ่ งการตรวจสอบ
ผูเ้ สนอราคาหรือผูเ้ สนองานที่มีผลประโยชน์รว่ มกัน
122
การเผยแพร่ประกาศสอบราคา(ข้อ ๔๑)
(ต้องปิ ดประกาศ/ลงเว็ปไซต์ วันเดียวกันกับในประกาศ)
วิธีปฏิบตั ิ
(
ระเบียบฯ ข้อ ๔๑ กาหนดให้
ประกอบกับมติครม.เมื่อ
เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการดังนี้
๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๗
๑.ก่อนวันเปิ ดซองสอบราคา
ให้หน่วยงานลงเว็ปไซต์
ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐ วัน สาหรับการ
ประกาศสอบ/ประกวด
สอบราคาในประเทศ ...ให้ส่ง
ราคาทุกวงเงิน
ประกาศและเอกสารสอบราคา
ของหน่วยงานและของ
ไปไปยังผูม้ ีอาชีพขาย /รับจ้าง
กรมบัญชีกลาง
โดยตรง/หรือทางไปรษณีย ์
อีกทางหนึ่ง
ลงทะเบียนให้มากที่สุดเท่าที่จะทา
ได้-ปิ ด ณ ที่ทาการของหน่วยงาน มติกวพ.ครั้งที่๔๔/๒๕๕๒)
โดยเปิ ดเผย
123
การคัดเลือกผูเ้ สนอราคาของคณะกรรมการ
เปิ ดซองสอบราคาในวันเปิ ดซองใบเสนอราคา
เปิ ดซองราคา/อ่านแจ้ง
ราคา อ่านเอกสาร /บัญชี
รายการเฉพาะผูม้ ชี อื่ ผ่านการ
ตรวจสอบผูม้ ผี ลประโยชน์
ร่วมกันเท่านัน้
เอกสารโดยเปิ ดเผย
-แล้วให้ลงชื่อกากับทุกแผ่น
ตรวจสอบคุณสมบัติ
ผูเ้ สนอราคา/พัสดุ /งานจ้าง
รายทีถ่ ูกต้องตามเงือ่ นไข
ในประกาศ และทีม่ ีคุณภาพ
คุณสมบัติ /เป็ นประโยชน์ต่อ
ทางราชการ/เสนอซื้ อ/จ้าง
รายทีค่ ดั เลือกแล้ว ทีเ่ สนอ
ราคาตา่ สุด
ถ้ารายตา่ สุดไม่ทาสัญญา ให้เรียกรายตา่ ถัดไป ถ้ามีรายตา่ ถัดไปเท่ากัน
หลายราย ให้เรียกรายตา่ ทีเ่ ท่ากันนั้น มายืน่ ซองเสนอราคาใหม่พร้อมกัน
ข้อควรรู้ เรื่องการต่อรองราคาตามข้อ ๔๓
ในหลักการ/คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคาจะดาเนินการ
ต่อรองราคากับผูเ้ สนอราคารายตา่ สุด แต่ราคาทีเ่ สนอสูงกว่า
วงเงินงบประมาณ เกินร้อยละ ๑๐ ตามลาดับในข้อ ๔๓(๑)-(๓)
แต่ถา้ ถึงกรณีใน(๓) ต่อรองแล้วไม่ได้ผล การเสนอความเห็นต่อหัวหน้า
ส่วนราชการว่าสมควรจะ ลดรายการ ลดจานวน หรือลดเนื้ องานหรือ
ขอเงินเพิม่ /หรือยกเลิกเพือ่ สอบราคา/ประกวดราคาใหม่/
หากเสนอลดรายการ-จานวน-เนื้ องานลง เป็ นผลให้ราคารวม
ของผูเ้ สนอราคาตา่ สุดเปลีย่ นแปลงไปจากบริษทั ก เป็ น ข. ย่อม
เสนอลดรายการไม่ได้ เพราะเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกัน
125
การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีประกวดราคา
(วงเงินเกิน๒ ล้านขึ้ นไป)
ให้จนท.พัสดุจดั ทาร่างประกาศและเอกสารประกวดราคา
ตามแบบทีก่ วพ.กาหนด
การเผยแพร่เอกสารประกวดราคา (ข้อ ๔๕, ๔๖)
-ให้หัวหน้าจนท.พัสดุ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ควบคุม ดูแล และจัดทา
หลักฐานการเผยแพร่ดงั นี้
ปิ ดประกาศ ณ สานักงาน -ส่งให้กรมประชาสัมพันธ์
วิทยุ/หนังสือพิมพ์/อ.ส.ม.ท. -ศูนย์รวมข่าว/ส.ตง
ข้อควรระวัง
มติครม. ๒๘ ธ.ค ๒๕๔๗ ให้ลงเว็ปไซต์ประกาศของหน่วยงาน
และของกรมบัญชีกลาง อีกทางหนึ่งด้วย
126
แนวทางการพิจารณาการจัดหาพัสดุดว้ ยวิธีประกวดราคา
ของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา (ข้อ๕๐)
๑)ตรวจสอบผูเ้ สนอราคาที่มีผลประโยชน์ ร่วมกันก่อนเปิดซองราคา
๒)คัดเลือกสิ่ งของ/งานจ้ างทีถ่ ูกต้ องตามประกาศ
๓)ปกติยกเลิก/เมื่อมี
ผูเ้ สนอ
-สอบถามข้ อเท็จจริงได้ /ห้ ามมิให้ เปลีย่ นสาระสาคัญ
-ผูถ้ กู ต้องรายเดียว (๕๑)
ที่เคยเสนอไว้ /ผ่ อนปรนได้ ที่มิไช่ สาระสาคัญ
๓) ถ้าถูกต้องพิจารณาราคา
-ไม่มีผเู้ สนอราคาหรือมีแต่
เกณฑ์ปกติ
ไม่ถกู ต้องตามspec (๕๒)
๔)เสนอเท่ากันหลายราย เลือกรายตา่ สุด
๔)ประกวดราคาใหม่
๕)เสนอสู งกว่ าวงเงิน ให้ยื่นซองใหม่
-ถ้าเห็นว่าไม่ได้ผลดี
๗)รายงานผล หส.ราชการ
ใช้วิธีพิเศษได้
ผ่
า
นหน.จนทพั
ส
ดุ
๖)ต่อรอง ข้อ๔๓
127
การซื้ อ/จ้างโดยวิธีพเิ ศษ
วงเงินเกิน ๑ แสนบาท ขึ้ นไป
มีขอ้ สังเกต - ไม่ใช่วิธีแข่งขันราคา
จึงไม่ตอ้ งตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน
ให้แต่งตัง้ คกก.จัดซื้ อ/จัดจ้างโดยวิธีพเิ ศษขึ้ นมาคณะหนึง่
เพือ่ ทาหน้าทีเ่ จรจาต่อรองราคากับผูข้ าย/รับจ้าง ตามข้อ ๕๗
►เมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วต้องรายงานผล
ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั ่งการ
(ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ)
128
การซื้ อโดยวิธีพเิ ศษ(วงเงินเกิน๑ แสนขึ้ นไป)
และหน้าที่ของคณะกรรมการฯ(ข้อ ๒๓/ข้อ ๕๗)
ให้ ดาเนินการเจรจาตกลงราคา
๑)ซื้อพัสดุทจี่ ะขายทอดตลาด
๒)พัสดุทจี่ าเป็ นต้ องซื้อ
เร่ งด่ วน/ล่ าช้ าจะเสี ยหาย
๓) พัสดุทตี่ ้ องใช้ ใน
ราชการลับ
ให้ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคา
/ถ้ าราคาสู งกว่ าท้ องตลาดให้ ต่อรอง
ให้ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาต่ อรอง
๔)พัสดุทซี่ ื้อไว้ แล้ ว-จาเป็ นต้ อง
-ซื้อเพิม่ ในสถานการณ์ จาเป็ น
- หรือเร่ งด่ วน(Repeat Order)
ให้ เจรจากับผู้ขายรายเดิมตาม
สั ญญาเดิมทีย่ งั ไม่ สิ้นสุ ด
ระยะเวลาส่ งมอบ ใช้ เงื่อนไข,
ราคาเดิม, หรือดีกว่ า
129
การซื้อโดยวิธีพิเศษ/ หน้าที่คณะกรรมการ (ต่อ)
๕)ต้องซื้อจากต่างประเทศ
ให้เสนอหน.ส่วนราชการติดต่อสั ่งตรง
โดยให้หน่วยงานต่างประเทศสืบราคาให้
๖)พัสดุมีขอ้ จากัดทาง
เทคนิค/จาเป็ นต้องระบุยี่หอ้
ให้เชิญผูผ้ ลิต/ผูแ้ ทนจาหน่ายมา
เสนอราคาและต่อรอง
๗) ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ให้เชิญเจ้าของมาตกลงราคา
๘)ดาเนินการซื้อโดยวิธี
อื่นแล้วไม่ได้ผลดี
สืบราคาจากผูม้ ีอาชีพขายและผูเ้ สนอ
ราคาที่ถูกยกเลิก (ถ้ามี) ต่อรองราคา
130
การจ้างโดยวิธีพิเศษ (วงเงินเกิน๑ แสนขึ้ นไป)
และหน้าที่ของคณะกรรมการฯ (ข้อ๒๔, ๕๘)
๑) การจ้างตามข้อ ๒๔(๑)-(๔)
(จ้างช่างฝี มือ,ซ่อมที่ไม่ทราบ
ความเสียหาย ,กรณีเร่งด่วน,
เป็ นงานจ้างเพื่อใช้ในราชการลับ
๒) การจ้ างตามข้ อ๒๔(๕)
จ้ างเพิม่ (Repeat Order)
-ให้เชิญผูม้ ีอาชีพโดยตรงมา
เสนอราคา-ต่อรองเท่าที่จะทาได้
-ให้เจรจากับผูร้ บั จ้างรายเดิม
ตามสัญญาที่ยงั ไม่ส้ นสุ
ิ ดเวลาส่ง
มอบราคา/เงื่อนไขเดิม/ดีกว่า
๓) การจ้ างตามข้ อ๒๔(๖) ให้เชิญผูม้ ีอาชีพโดยตรง/และรายที่ถูก
ใช้ วธิ ีอนื่ แล้ วไม่ ได้ ผลดี
ยกเลิกไป/มาเสนอราคา/ต่อรองราคา
131
ข้ อควรระวัง
การซือ้ หรือการจ้ างเพิ่ม(Repeat Orderตามข้ อ ๒๓ (๔)
หรือ ข้ อ๒๔(๕) มีเงื่อนไขดังนี ้
๑. ต้ องเป็ นเรื่องซือ้ ของอย่ างเดิม หรือเป็ นงานเดิม ที่ต้องทา
เพิ่มขึน้ ถ้ าเป็ นคนละเนือ้ งานมิใช่ Repeat Order
๒. ต้ องเจรจาต่ อรองกับรายเดิม เงื่อนไขเดิมหรือดีกว่ า และ
สัญญาเดิมต้ องยังไม่ สนิ ้ สุดเวลาส่ งมอบ
๓. ต้ องทาสัญญากันใหม่ จะทาสัญญาแก้ ไขเพิ่มเติมไม่ ได้
เนื่องจาก เป็ นเพียงการผ่ อนปรนให้ หน่ วยงานไม่ ต้อง
จัดซือ้ จัดจ้ างใหม่ เท่ านัน้
132
(ตัวอย่าง)การจ้างเพิ่มด้วยวิธี Repeat Order
• ปั ญหามหาวิทยาลัย จ. จ้างปรับปรุงสนามกีฬาและพื้นทางลู่ว่ ิงไว้
แล้ว ต่อมาจะจ้างปรับปรุงลู่ว่ ิงยางสังเคราะห์ดว้ ยงบประมาณปี ๕๒
•มติกวพ.ก.พ.๕๒ การจ้างเพิ่มตามข้อ ๒๔(๕) เป็ นกรณี
จาเป็ นต้องจ้างเพิ่ม อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่จาเป็ น หรือเร่งด่วน
เพื่อประโยชน์ราชการ และต้องเป็ นงานเดียวกันกับงานที่ได้จา้ งไว้
แล้วตามสัญญา/ข้อตกลงเดิมด้วย
•หากเป็ นงานนอกเหนือจากงานจ้างเดิม ย่อมไม่สามารถพิจารณา
รายละเอียด/ราคา ตามข้อ ๕๘ ได้
• กรณีของมหาวิทยาลัย จ. ย่อมไม่อาจดาเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ
ตามข้อ ๒๔(๕) ได้
การซื้อ/จ้าง โดยวิธีกรณี พิเศษ
(ไม่จากัดวงเงิน) (ข้อ ๒๖)
เป็ นการซื้อ/จ้าง/จาก..ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/
ท้องถิ่น/หน่วยอื่น(ทีไ่ ด้รบั
สิทธิพิเศษดูรายชื่อได้จาก
ที่เป็ นผูท้ า/ผลิตเอง/จาหน่ าย/ให้บริการ
และนายกรัฐมนตรี/มีกฎหมาย/มติ
คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิ ให้ซื้อ/จ้างได้โดย
ไม่ต้องสอบ/ประกวดราคา
www.gprocurement.go.th หน.ส่วนราชการ อนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง
ลำดับขัน้ ตอนวิธีปฏิบตั ิ
๑.ทำรำยงำนขอซื้อ/จ้ำง
๒.ให้ติดต่อตกลงราคา
กับผูข้ าย หรือผูร้ บั จ้าง
ได้โดยตรง
ได้ไม่จากัดวงเงิน
-วงเงินไม่เกิน๑ แสนบาท ให้จนท.พัสดุ
สั ่งซื้อ/จ้างได้ภายในวงเงินที่ได้รบั
ความเห็นชอบจากหน.ส่วนราชการ
134
การซื้อ/จ้างโดยใช้วิธีกรณีพิเศษ ปั จจุบนั มีหน่วยงานที่ได้รบั
สิทธิพิเศษอยู่ ๒ ประเภทคือประเภทบังคับ/กับไม่บงั คับ
ประเภทบังคับ หมายความว่ า
ประเภทไม่ บังคับ หมายความว่ า
ส่ วนราชการต้ องซือ้ /จ้ างจากหน่ วยงาน
ส่ วนราชการจะซือ้ หรื อจ้ างจาก
ที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษนัน้ ก่ อน ขณะนี ้
หน่ วยงานที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษ
มี ๓ หน่ วยงาน ได้ แก่
หรื อไม่ กไ็ ด้
ข้ าราชการเดินทางไปตปท. ต้ องซือ้
หากประสงค์ จะซือ้ หรื อจ้ างจาก
หน่ วยงานที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษ ก็ไม่
ตั๋วจากบมจ.การบินไทยก่ อนเว้ นแต่
ให้ บริการไม่ ได้ หรื อราคาสูงเกิน 25%
ต้ องสอบราคา หรื อประกวดราคา
แต่ อย่ างใด
ส่ วนราชการต้ องซือ้ น้ามันเชื้อเพลิงฯ
ตั้งแต่ ๑ หมื่นลิตรขึน้ ไปต้ องซือ้
ต้ องดูเงื่อนไขการได้ สิทธิ
จาก.ปตท,สถานีบริการของปตท
พิเศษของแต่ ละเรื่องด้ วย
ส่ วนราชการต้ องซือ้ นมโรงเรี ยน
สาหรั บเด็กอนุบาล-ป ๖ จากอสค.
135
การจัดหาพัสดุโดยวิธีอื่น
136
การจัดหาพัสดุโดยวิธีแลกเปลีย
่ น (ข้อ๑๒๓-๑๒๗)
หลัก แลกเปลีย่ นได้เฉพาะจาเป็ น - ครุภณ
ั ฑ์ กับ ครุภณ
ั ฑ์
- วัสดุ กับ วัสดุ
วิธีการ ให้หัวหน้าจนท.พัสดุแสดงเหตุผล/ความจาเป็ นทีข่ อแลก
 กรณีแลกเปลีย่ นกับส่วนราชการด้วยกัน/ รัฐวิสาหกิจ/ท้องถิน่
-ให้เป็ นดุลพินิจของหัวหน้าหน่วยงานนั้น ทีจ่ ะตกลงกัน
 กรณีแลกกับเอกชน ให้นาวิธีซื้อมาใช้โดยอนุโลม
 ข้อยกเว้น – หากพัสดุทีจ่ ะแลก มีราคาซื้ อ /ได้มารวมกัน
ไม่เกิน ๑ แสน ให้ใช้วิธีตกลงได้
ให้หวั หน้าส่วนราชการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้ นมาคณะหนึง่ หรือหลายคณะ
ตามความจาเป็ น ให้ทาหน้าทีแ่ ลกเปลีย่ น(ข้อ ๑๒๕ )
137
หน้าที่ของคณะกรรมการแลกเปลี่ยนพัสดุกบั เอกชน
(๑)ตรวจสอบ
และประเมิน
ราคาพัสดุ
ทีต่ อ้ งการ
แลกเปลีย่ น
กับสภาพ
ปั จจุบนั
(๒)
ตรวจพัสดุที่จะได้รบั
จากการแลกเปลี่ยนว่า
เป็ นของใหม่ ที่ยงั ไม่เคย
ใช้มาก่อน
เว้นแต่ พัสดุที่จะรับแลก
นั้น เป็ นพัสดุเก่า ซึ่งมี
ความจาเป็ นที่จะรับ
แลกเปลี่ยนโดยมิได้ทา
ให้ทางราชการเสีย
ประโยชน์ หรือเพื่อ
ประโยชน์แก่ทางราชการ
(๓) เปรียบเทียบ
ราคาพัสดุที่จะ
แลกเปลี่ยน
โดยให้พิจารณาจาก
ราคาประเมินตาม
(๑) และราคาพัสดุ
ที่จะรับแลกเปลี่ยน
ซึ่งถือตามราคา
กลาง หรือราคา
มาตรฐาน หรือ
ราคาในท้องตลาด
โดยทั ่วไป
138
หน้าที่คณะกรรมการแลกเปลี่ยนพัสดุกบั เอกชน(ต่อ)
(๔)
ต่อรองราคากับ
ผูเ้ สนอราคา
รายที่
คณะกรรมการ
เห็นสมควร
แลกเปลี่ยน
(๕)
เสนอความเห็น
ต่อหัวหน้าส่วน
ราชการเพื่อ
พิจารณาสั ่งการ
(๖)
ตรวจรับพัสดุโดย
ปฏิบตั ติ ามข้อ
๗๑ โดยอนุโลม
139
(ตัวอย่าง) แนวปฏิบตั ิเรื่องการแลกเปลี่ยน
• ในประกาศประกวดราคาซื้อเครือ่ งปรับอากาศ มีเงื่อนไขระบุว่า
ผูข้ ายจะต้องรับซื้อเครือ่ งปรับอากาศเก่าไปด้วย ตามราคาที่
คณะกรรมการได้ประเมินไว้
• มติกวพ.ปี ๕๐ หลักเมื่อเครือ่ งปรับอากาศเก่าหมดความจาเป็ น
แล้วต้องใช้วิธีจาหน่ายพัสดุ เมื่อไม่ดาเนินการดังกล่าวจึงมิไช่
เรือ่ งการขายทอดตลาด แต่เป็ นการปฏิบตั นิ อกเหนือที่ระเบียบฯ
กาหนด ซึ่งไม่อาจกระทาได้
แต่อย่างไรกีดี อาจทาได้ดว้ ยวิธีการแลกเปลี่ยน โดยถือปฏิบตั ิ
ตามที่ระเบียบกาหนด ในเรือ่ งแลกเปลี่ยน
140
การจัดหาพัสดุโดย วิธีการเช่า (ข้อ๑๒๘-๑๓๐)
หลัก ๑. เช่าสังหาริมทรัพย์ ให้นาวิธีซ้ ือมาใช้โดยอนุโลม
๒.เช่าอสังหาริมทรัพย์ ให้ใช้วิธีตกลงราคา ทาได้กรณีดงั นี้
เช่าที่ดิน เพื่อใช้ประโยชน์ของส่วนราชการ
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็ นที่ทาการ
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็ นที่พกั สาหรับผูม้ ีสิทธิเบิกค่าเช่าที่พกั
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็ นที่เก็บพัสดุ
๓. อัตราจ่ายค่าเช่าล่วงหน้า จ่ายเฉพาะสัญญาเช่าไม่เกิน ๓ ปี
- เช่าจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ จ่ายล่วงหน้าได้ไม่เกิน ๕๐%
- เช่าเอกชน จ่ายล่วงหน้าได้ไม่เกิน ๒๐%
141
การจัดหาพัสดุ โดยวิธีการยืม
(ข้อ๑๔๖-๑๕๐)
การให้ยืม/นาพัสดุไปใช้ ทีม่ ิใช่ประโยชน์ทางราชการ ทาไม่ได้
หลักเกณฑ์การยืม-ผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ
►ยืมใช้ระหว่างส่วนราชการ-หัวหน้าส่วนราชการ เป็ นผูอ้ นุมตั ิ
►ยืมใช้ในหน่วยงานเดียวกัน-หน.หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบพัสดุอนุมตั ิ
►หน่วยงานเดียวกันยืมไปใช้นอกหน่วยงาน-หน.ส่วนราชการอนุมตั ิ
ทาหลักฐานการยืมไว้ดว้ ย - ผูใ้ ห้ยมื มีหน้าทีท่ วงคืน
การส่งคืน - ส่งคืนในสภาพทีใ่ ช้การได้เรียบร้อย
- หาก ชารุดต้องซ่ อมให้อยู่ในสภาพเดิม หรือ
ชดใช้เงิน ตามสภาพทีเ่ ป็ นอยู่ในขณะยืม
142
การทาสัญญา
การบริหารสัญญา
และ หลักประกันสัญญา
143
หลักการทาสัญญาตามระเบียบฯ มี ๓ แบบ
ทาตามตัวอย่าง
(แบบ)ที่ กวพ.
กาหนด
(ข้อ๑๓๒)
ทาข้อตกลง
เป็ นหนังสือ
ไว้ต่อกัน
(ข้อ ๑๓๓)
ไม่ทาเป็ นหนังสือ
ไว้ต่อกัน ก็ได้
(ข้อ ๑๓๓ วรรค
ท้าย)
สัญญาทีม่ ขี อ้ ความแตกต่างไปจากแบบทีก่ วพ.กาหนด
ให้ส่งให้สานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน
 ผูม้ อี านาจลงนามสัญญา/ข้อตกลง ได้แก่
หัวหน้าส่วนราชการ หรือผูท้ ไี่ ด้รับมอบอานาจให้ลงนามแทน
144
กรณีทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน (ข้อ ๑๓๓)
หลัก -เป็ นดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ




5.
จะทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน โดยไม่ตอ้ งทา
สัญญาตามแบบในข้อ ๑๓๒ ก็ได้ ในกรณีดงั นี้
ซื้ อ/จ้าง/แลกเปลีย่ นโดยวิธีตกลงราคา /การจ้างปรึกษา
วงเงินไม่เกิน๑แสน
คู่สญ
ั ญา ส่งของได้ครบถ้วนภายใน ๕ วันทาการ
นับจากทาข้อตกลง
การซื้ อ/จ้างโดยวิธีกรณีพเิ ศษและการจัดหาจากส่วนราชการ
การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ ๒๓หรือ ๒๔ (๑)-(๕)
การเช่า ทีไ่ ม่ตอ้ งเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า
145
กรณีที่ไม่ตอ้ งทาข้อตกลงเป็ นหนังสือ ไว้ตอ่ กันก็ได้
(ระเบียบข้อ ๑๓๓ วรรคท้าย)
ได้แก่
(๑)การจัดหาซึ่งมีราคาไม่เกิน ๑ หมื่นบาท หรือ
(๒) การซื้อ/จ้าง ซึ่งใช้วิธีดาเนินการตาม
ระเบียบข้อ ๓๙ วรรคสอง
(ได้แก่ วิธีตกลงราคา กรณีจาเป็ นเร่งด่วน
ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และ
ไม่อาจดาเนินการตามปกติได้ทนั )
146
การทาสัญญาจ้างก่อสร้างทุกประเภท
ต้องมีเงื่อนไขให้มีการปรับราคาได้(ค่าK)
มติคณะรัฐมนตรี หนังสือของสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ที่นร ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒กาหนดให้ความ
ช่วยเหลือผูป้ ระกอบอาชีพก่อสร้าง
โดยให้ทุกส่วนราชการมีขอ้ กาหนดในประกาศสอบ
ราคา ประกวดราคา ไว้ดว้ ยว่าจะทาสัญญาแบบปรับ
ราคาได้ และในขั้นตอนทาสัญญาต้องการทาสัญญา
แบบปรับราคาได้ (ค่าK)
กรณีมีปัญหา ให้หารือสานักงบประมาณ
147
ผลของสัญญา
หลักการ
 สัญญามีผลนับตัง้ แต่วนั ที่ค่สู ญ
ั ญาได้ลงนาม
ในสัญญา
ยกเว้น
 คู่สญ
ั ญามีขอ้ ตกลงกาหนดเงื่อนไขกันไว้ใน สัญญา
เป็ นอย่างอื่น
148
ระเบียบฯ พัสดุ อนุมตั เิ ป็ นหลักการ
ให้สญ
ั ญาเช่า หรือสัญญาจ้าง มีผลย้อนหลัง ?
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๓๕๑
ลงวันที่ ๙ กันยายน๒๕๔๘
อนุมตั ยิ กเว้นเฉพาะสัญญาเช่า หรือสัญญาจ้างที่จาเป็ นต้องเช่า/จ้าง
ต่อเนื่องไปในปี งปม.ใหม่ ภายหลังจากสัญญาเดิมสิ้นสุดลง
แต่ส่วนราชการไม่สามารถลงนามสัญญาได้ทนั ภายในวันที่ ๑
ตุลาคม เนื่องจาก
๑. พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี ยังไม่มีผลใช้บงั คับ หรือ
๒. ยังไม่ได้รบั อนุมตั เิ งินประจางวดจากสานักงบประมาณ
149
ระเบียบฯ พัสดุ อนุมตั เิ ป็ นหลักการ
ให้สญ
ั ญาเช่าหรือสัญญาจ้าง มีผลย้อนหลัง ได้ (ต่อ)
ผล ให้สญ
ั ญามีผลย้อนหลังได้ตง้ั แต่วนั ที่ ๑ ตุลาคม
อันเป็ นวันเริ่มต้นปี งบประมาณ หรือวันที่มีการเช่าหรือจ้างจริง
โดยมีเงื่อนไขว่า:– ๑.) ส่วนราชการได้ดาเนินการจัดหาไว้แล้วก่อนสิ้นปี งบประมาณ
และรูต้ วั ผูใ้ ห้เช่า หรือผูร้ บั จ้างที่จะลงนามเป็ นคู่สญ
ั ญา แล้ว
ไม่ว่าจะเป็ นรายเดิม หรือรายใหม่ ก็ตาม
– ๒.)ผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ ได้อนุมตั ใิ ห้เช่า หรือจ้างจากรายที่ได้จดั หา
ไว้แล้วก่อนสิ้นปี งบประมาณ เพียงแต่อยูใ่ นขั้นตอนไม่อาจ
ลงนามในสัญญาได้ทนั ในวันที่ ๑ ตุลาคม เท่านั้น
150
ระเบียบข้อ๑๓๕
สัญญา/ข้อตกลง มูลค่า ๑ ล้านขึ้นไป
ส่งสาเนาให้สตง.และกรมสรรพากรด้วย
• สัญญา หรือข้อตกลงเป็ นหนังสือที่มีมูลค่าตั้งแต่ ๑
ล้านบาทขึ้นไป
• ให้ส่งสาเนา ให้สตง. หรือสตง.ภูมิภาค และ
กรมสรรพากรภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ทาสัญญา
หรือ ข้อตกลง
151
การบริ ห ารสั ญ ญา
152
ใคร ? เป็ นผูม้ ีหน้าที่บริหารสัญญา
คาวินิจฉัยกวพ.ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๒๘๕๑๔ลว.๑๒ ต.ค.๔๘
เจ้าหน้าที่พสั ดุ/ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
โดยปกติ ต้องมีหน้าที่บริหารสัญญา กล่าวคือ เมื่อสัญญา
ครบกาหนด จะต้องแจ้งให้ผขู ้ ายหรือรับจ้างส่งมอบงาน
ตามสัญญา เจ้าหน้าที่ดงั กล่าว จะต้องเสนอหัวหน้าส่วน
ราชการให้มี หนังสือแจ้งเตือน แจ้งปรับ แล้วแต่กรณี
หากมิได้ดาเนินการ จะถือว่าละเลยไม่ดาเนินการตามหน้าที่
153
กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา
(ข้อ ๑๓๖)
หลัก *สัญญาทีล่ งนามแล้ว ห้ามแก้ไขเปลีย่ นแปลง
ข้อยกเว้น -กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข
เป็ นอานาจหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา
การแก้ไขจะต้องเป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ราชการ
หรือไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
ระยะเวลาทีจ่ ะแก้ไข :-
“จะแก้ไขเมือ่ ไดก็ได้
แต่ตอ้ งก่อนการตรวจรับงวดสุดท้าย”
154
การแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา (ต่อ)
การแก้ไขสัญญา ถ้าจาเป็ นต้อง:-เพิม่ /ลดวงเงิน /ขยายเวลาการส่งมอบ/
ก็ให้ตกลงไปพร้อมกัน
กรณีงานเกีย่ วกับความมันคงแข็
่
งแรง/งาน
เทคนิคเฉพาะอย่าง
-ต้องได้รบั การรับรองจากสถาปนิก/วิศวกรฯ ที่
รับผิดชอบ ก่อนการแก้ไข
155
(ตัวอย่าง)
คู่สญ
ั ญาขอแก้ไขสัญญา เพื่อเปลี่ยนพัสดุใหม่
เนื่องจากบริษัทเลิกผลิตแล้ว
ปั ญหา บริษทั แจ้งขอแก้ไขสัญญาโดยเปลี่ยนพัสดุใหม่
จากรุน่ ที่ทาสัญญาไว้ เป็ น รุน่ ใหม่ที่มีคุณภาพเท่าเดิม
หรือดีกว่าเดิม ราคา และเงื่อนไขเดิม หรือดีกว่าเดิม
แนวทางแก้ไข
หากส่วนราชการเห็นควรแก้ไขสัญญา
เพื่อประโยชน์ราชการ และมิได้ทาให้ทาง
ราชการเสียประโยชน์ ก็สามารถกระทาได้
156
(ต่อ) คู่สญ
ั ญาส่งของไม่ได้ตามสัญญา
จะขอเปลี่ยนพัสดุ เนื่องจากบริษัทเลิกผลิตแล้ว
แต่การแก้ไขสัญญา
(๑) จะต้องระบุการสงวนสิทธิ์เรียกค่าปรับจากผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง
(๒) ต้องกาหนดระยะเวลาการส่งมอบใหม่ให้ชดั เจนใน
สัญญาที่แก้ไขใหม่ดว้ ย
(หากไม่เขียน จะเรียกค่าปรับไม่ได้ เพราะไม่มีวนั ส่งมอบที่จะ
นามาคานวณค่าปรับได้ เนื่องจากเป็ นการเปลี่ยนแปลงสิ่งซึ่งเป็ น
สาระสาคัญแห่งหนี้ ถือว่าเป็ นการยกเลิกสัญญาเดิมหรือแปลงหนี้ใหม่
สัญญาเดิมย่อมระงับไป แม้จะสงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับไว้ก็ตาม
แต่ขณะที่บริษทั ขอแก้ไขสัญญานั้น ค่าปรับยังไม่เกิดขึ้น)
157
การแก้ไขสัญญาหลังจากผิดสัญญาแล้ว เมื่อไม่กาหนด
วันส่งมอบไว้ในสัญญาที่แก้ไขใหม่ จึงไม่อาจคิดค่าปรับได้
กรมฯ แก้ไข /เปลีย่ นแปลงสัญญาในส่วนขั้นตอนทีผ่ ูร้ บั จ้างต้อง
ดาเนินการกับแบบแสดงรายการภาษีบางประการ
-ภายหลังจากครบกาหนด ส่งมอบงานตามสัญญาแล้ว
-โดยไม่ได้กาหนดเวลาส่งมอบกันใหม่
ถือได้ว่า
สัญญาจ้างดังกล่าวไม่มกี าหนดวันส่งมอบเมือ่ ใดไว้ดว้ ย
อันมีผลทาให้ ยังถือไม่ได้ว่าผูร้ ับจ้างผิดนัดชาระหนี้ ในการส่งมอบงาน
ประกอบกับตามสัญญาทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม กรมฯ ก็มิได้มีการตกลงใน
การสงวนสิทธิ์เรียกค่าปรับจากผูร้ บั จ้างไว้ในสัญญาทีแ่ ก้ไขใหม่ดว้ ย
กรณีนกรมฯ
ี้
จึ งไม่อาจเรียกค่าปรับในส่วนของการทีส่ ่งมอบงานล่าช้า
จากผูร้ บั จ้างได้
158
การแก้ไขสัญญา เพือ่ เปลีย่ นหลักประกันสัญญา
 คู่สัญญาขอเปลีย่ นหลักประกันสัญญา เป็ นอย่างใดตามข้อ ๑๔๑
(๑)-(๔) ย่อมแก้ไขสัญญาได้ ถือว่าทางราชการมิได้เสียประโยชน์
 เนือ่ งจากระเบียบข้อ ๑๔๑ กาหนดว่า “หลักประกันซองหรือ
หลักประกันสัญญา ให้ใช้หลักประกันอย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี้
 เงินสด /เช็คทีธ่ นาคารเซ็นสังจ่
่ ายซึ่งเป็ นเช็คลงวันที่ใช้เช็คนั้น
ชาระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทาการ/ หนังสือ
ค้ าประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอย่างที่ กวพ.กาหนด/
หนังสือค้ าประกันของบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ตามรายชื่อที่ธปท.แจ้ง
เวียน/ พันธบัตรรัฐบาล
159
กรณีงานก่อสร้างที่คู่สญ
ั ญาทาสัญญาหรือข้อตกลง
โดยถือราคาแบบเหมารวมเป็ นเกณฑ์
สัญญาจ้างแบบถือราคาเหมารวม หมายถึง สัญญาที่คูส่ ัญญา
ตกลงกันแบบราคาเหมารวมทัง้ หมดของงานตามสัญญา โดยคิด
ค่าจ้างในการดาเนินการตามสัญญาแบบเหมารวมทัง้ สัญญา
คู่สญ
ั ญาต่างไม่อาจใช้สิทธิเรียกร้องค่าใช้จา่ ยใน
ส่วนที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงได้
เว้นแต่ คู่สญ
ั ญามีขอ้ ตกลงกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น
160
ใคร ?
เป็ นผูเ้ สนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ
แก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา หรือข้อตกลง การงด
ลดค่าปรับ/ขยายเวลาสัญญา/ข้อตกลง
• หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร
(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลว.๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓
ข้อ ๓ กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของ : คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
• แล้วแต่กรณีเป็ นผูเ้ สนอความเห็นในแต่ละครัง้ ด้วย
161
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสัญญา (ข้อ๑๓๙)
ให้พิจารณาได้เฉพาะเหตุดงั ต่อไปนี้
(๑) เหตุเกิดจากความผิด/ความบกพร่องของส่วนราชการ
(๒) เหตุสุดวิสยั
(๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ตอ้ งรับผิด
เงื่อนไข
• คู่สญ
ั ญาของทางราชการจะต้องมีหนังสือแจ้งเหตุ
ที่เกิดขึ้นตาม ข้อ ๑๓๙ (๒)หรือ(๓) ให้ทราบ
ภายใน ๑๕ วัน นับแต่เหตุน้นั สิ้นสุดลง
นับแต่
อานาจอนุ
มตั เิ หตุส้ ินสุด
•ให้
ารณาให้
ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึน้ จริง
• หัพวิ จหน้
าส่วนราชการ
162
ข้อควรรู ้
การพิจารณาอนุมตั ใิ ห้งด/ ลดค่าปรับ
หรือการขยายระยะเวลาสัญญา
ไม่ตอ้ งทาสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม
• วิธีปฏิบตั ิ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาให้งด หรือลด
ค่าปรับ หรืออนุมตั ใิ ห้ค่สู ญ
ั ญาขยายระยะเวลาการส่งมอบ
พัสดุหรืองานจ้างตามสัญญาแล้ว
ส่วนราชการไม่จาต้องแก้ไขสัญญาเพิ่มเติมแต่อย่างใด
เนื่องจากเป็ นสัญญาฝ่ ายเดียว ไม่จาต้องให้คูส่ ญ
ั ญายินยอม
เพียงแต่เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการแจ้งให้ค่สู ญ
ั ญาทราบการงด /ลด
ค่าปรับ /หรืออายุสญ
ั ญาขยายเวลาสิ้นสุดเมื่อใด
เพื่อให้คูส่ ญ
ั ญาทราบเท่านัน้
163
ผูร้ บั จ้างของดค่าปรับ อ้างว่า
ส่วนราชการใช้เวลาพิจารณาอนุมตั ขิ ยายเวลา
ทาการตามสัญญา ล่าช้า
• ปั ญหา
• กรมฯ ใช้เวลาพิจารณาอนุ มตั ใิ ห้ขยายเวลาสัญญาล่าช้า
แต่ในระหว่างที่ กรม ฯ.ใช้เวลาพิจารณาคาขอขยายเวลา กรม ฯ
มิได้ส่งั ให้บริษทั หยุดงานแต่อย่างใด บริษทั ยังคงสามารถทางาน
ตามสัญญาได้ตามปกติ
 การใช้เวลาพิจารณาขยายเวลา มิได้มีส่วนสัมพันธ์ หรือส่งผล
กระทบต่อการดาเนินการตามสัญญาแต่อย่างใด
ดังนั้น กรณีน้ ีจึงมิไช่เหตุที่จะนามาอ้างให้งด ลดค่าปรับ
ตามระเบียบฯข้อ ๑๓๙ (๑) แต่อย่างใด
164
ส่วนราชการจ่ายเงินล่าช้า
ทาให้บริษทั ขาดสภาพคล่องทางการเงิน จะอ้างเป็ นเหตุ
ที่จะงด ลดค่าปรับ ขยายเวลาสัญญาไม่ได้
เหตุที่กรม ส. จ่ายเงินล่าช้า มิไช่ผลกระทบโดยตรงต่อการ
ปฏิบตั งิ านตามสัญญาที่ทาให้ผรู ้ บั จ้างต้องหยุดการทางาน
 เนื่องจาก ในระหว่างการปฏิบตั งิ านตามสัญญา ผูร้ บั จ้างมีหน้าที่
จะต้องเตรียมความพร้อมในการจัดหาเงินทุนหมุนเวียนมาใช้ในการ
ทางานให้เพียงพอ
ดังนั้น ปั ญหาที่ผรู ้ บั จ้างขาดสภาพคล่องทางการเงิน ในกรณีน้ ี จึงไม่
อาจนามาอ้างเป็ นเหตุที่จะงด หรือลดค่าปรับ ตามระเบียบฯ ข้อ
๑๓๙(๑)
165
คู่สญ
ั ญาส่งมอบไม่ตรงงวดงาน ในสัญญา
ยังไม่ถือว่าผิดสัญญา จึงปรับระหว่างงวดงานไม่ได้
สัญญากาหนดเงื่อนไขการปรับว่า
หากผูร้ บั จ้างไม่สามารถทางานให้แล้วเสร็จตามที่กาหนดไว้ใน
สัญญา ผูร้ บั จ้างจะต้องชาระค่าปรับให้แก่ผรู ้ บั จ้างนับถัดจากวันที่
กาหนดแล้วเสร็จตามสัญญา
คาวินิจฉัย
การแบ่งงวดงานแต่ละงวดในสัญญา
เป็ นเงื่อนไขที่ค่สู ญ
ั ญาตกลงแบ่งงวดงาน เพื่อประโยชน์ในการ
จ่ายเงินค่าจ้างเป็ นงวด ตามผลงานที่ดาเนินการไปแล้ว
 มิใช่เป็ นการกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงานตามสัญญา
►เมื่อผูร้ บั จ้างส่งงานไม่เป็ นไปตามงวด จึงไม่อาจนามาคิด
ค่าปรับตามสัญญาได้
166
คู่สญ
ั ญาส่งมอบหลังจากผิดสัญญาแล้ว
ต้องแจ้งสงวนสิทธิ์การปรับ
การปรับต้องเป็ นไป
ตามเงื่อนไขที่กาหนด
ไว้ในสัญญา เช่น
-สัญญาซื้อขายเป็ นชุด
ให้ปรับทั้งชุด
้
้
-สิ
่
ง
ของที
่
ซ
ื
อรวมติ
ด
ตั
ง
/
 ให้คิดค่าปรับนับถัดจากวัน
ทดลอง/ให้ปรับตาม
ครบกาหนดสัญญา/ข้อตกลง
ราคาของทั้งหมด

เมื่อคู่สญ
ั ญาส่งมอบพัสดุตาม
สัญญา ภายหลังผิดสัญญาแล้ว
 โดยส่วนราชการมิได้บอกเลิก
สัญญา
 ต้องแจ้งสงวนสิทธิ์ การปรับไว้
ด้วย
167
ความรูเ้ กี่ยวกับหลักประกัน
-ซองเสนอราคา
-หลักประกันสัญญา
168
ความหมายของ
หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา
• หลักประกันซอง
• ได้แก่ หลักประกันที่ผเู ้ ข้าเสนอราคายอมผูกพันตนที่จะปฏิบตั ติ าม
เงื่อนไขในประกาศประกวดราคา และจะไม่ถอนการเสนอราคา
จนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น
• หลักประกันซอง จึงต้องมีระยะเวลาตั้งแต่วนั ยืน่ ซองเสนอราคา
จนถึงวันสิ้นสุดการยืนราคา หรือ จนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น
• หลักประกันสัญญา
• ได้แก่ หลักประกันที่ผผู ้ ่านการคัดเลือกให้เข้าทาสัญญากับทาง
ราชการ นามาเพื่อเป็ นประกันการปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขของสัญญา
ส่วนราชการจะคืนให้เมื่อพ้นข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว
169
หลักประกันซอง และ หลักประกันสัญญา
กาหนดให้ผเู ้ สนอราคาในวิธีประกวดราคา หรือคู่สญ
ั ญา
ต้อง นาหลักประกันมาวาง(ระเบียบฯข้อ ๑๔๑มี๕อย่าง)
ให้ใช้หลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้
๓.
๒.
๑.
เช็ค
เงินสด
ที่ธนาคาร
เซ็นสั ่งจ่าย
๔.
หนังสือ หนังสือค้า
ประกันของ
ค้าประกัน บริษทั เงินทุน
ธนาคาร หลักทรัพย์ตาม
ภายใน รายชื่อที่ธปท.
ประเทศ แจ้งเวียนชื่อ
๕.
พันธ
บัตร
รัฐบาล
170
มูลค่าหลักประกันสัญญา (ข้อ ๑๔๒/๑๔๓)

อัตราจานวนเต็ม ๕% ของวงเงินที่ทาสัญญา
 เว้นแต่ การจัดหาที่สาคัญพิเศษ กาหนดสูงกว่าได้
ไม่เกิน ๑๐%
 ข้อ๑๔๓ กรณี ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็ น
คู่สญ
ั ญาได้รบั การยกเว้น ไม่ต้องวางหลักประกัน
คู่สญ
ั ญาจะวางหลักประกันสูงกว่าที่กาหนด
ให้อนุโลมรับได้
171
แนวปฏิบตั ใิ นการออกหนังสือค้าประกันธนาคาร
(เพื่อใช้เป็ นหลักประกันสัญญา)
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว
๓๖๕๙ ลว. ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๑ กาหนดวิธีปฏิบตั ไิ ว้ดงั นี้
(๑.)
ส่วน
ราชการ
ต้อง
จัดพิมพ์
ร่างสัญญา
ให้
สมบูรณ์
(๓.)
(๒.)
นัดหมาย
กาหนดวัน ผูข้ าย/
ทาสัญญา ผูร้ บั จ้าง
ล่วงหน้า
ซื้อขาย
ว่าจะทา
หรือ
สัญญาจ้าง สัญญาใน
วันใด
(๔.) กาหนดเลขที่สญ
ั ญา
เพื่อให้ผขู ้ าย/ผูร้ บั จ้างนา
ร่างสัญญาไปออกหนังสือ
ค้าประกันของธนาคาร
-เพื่อให้ธนาคารผูอ้ อกหนังสือ
ค้าประกัน กรอกข้อความ
ในหนังสือค้าประกันได้อย่าง
สมบูรณ์ ครบถ้วน
172
ข้อควรระวังในการ
รับหลักประกันที่เป็ นพันธบัตรรัฐบาล
หนังสือกระทรวงการคลัง ที่กค๐๕๐๗/๔๘๔๐๕ลว. ๒๗ กันยายน
๒๕๒๖
๑. ให้ผรู ้ บั พันธบัตรรัฐบาลไว้เป็ นหลักประกัน มีหนังสือแจ้ง ธนาคาร
แห่ งประเทศไทย(ธปท.)ทราบ
-เพื่อธปท.จะได้ลงทะเบียนบันทึกการรับหลักประกันไว้ แล้วมี
หนังสือตอบรับการแจ้งให้ทราบ
๒. การถอนหลักประกัน ให้ผรู ้ บั หลักประกันมีหนังสือแจ้งธปท.
ทราบ เพื่อจะได้ลงทะเบียนบันทึกการถอนหลักประกัน
เมื่อคูส่ ญ
ั ญาผิดสัญญา กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรยังไม่ตกเป็ นของผูร้ บั
หลักประกัน จะต้องฟ้องบังคับตามสัญญาค้าประกันก่อน
173
วิธีปฏิบตั ใิ นการรับหลักประกันที่เป็ นพันธบัตรรัฐบาล
(กรณีเป็ นพันธบัตรของบุคคลธรรมดา)
• มติกวพ.ครั้ งที่ ๒๖/๒๕๕๒ พ.ย.
๕๒
• กรณีพันธบัตรที่เป็ นชื่อของ
บุคคลธรรมดา ซึ่งมิใช่ ช่ อื ของ
นิตบิ ุคคลผู้เสนอราคา หรือ
คู่สัญญา
• ที่ผ้ ูเสนอราคา หรือคู่สัญญา
นามาวางเป็ นประกัน ระเบียบ
ยังไม่ เคยวางหลักเกณฑ์ ไว้
• อย่างไรก็ดี
• เพื่อป้องกันปั ญหาโต้แย้งกัน
ในภายหลัง
• เห็นควรกาหนดให้มีหนังสือ
ยินยอมจากผูท้ รงพันธบัตร
ให้นามาวางเป็ นหลักประกัน
ได้โดยปราศจากเงื่อนไขใด ๆ
174
วิธีปฏิบตั ใิ นการนาหลักประกันซอง
มาใช้เป็ นหลักประกันสัญญา
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่กค(กวพ)
๐๔๐๘.๔/ว ๑๓๐ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๔๙ กาหนดวิธีการไว้ดงั นี้:ในชั้นเสนอราคา กรณีผเู ้ สนอราคานาเงินสด หรือเช็คที่ธนาคาร
เซ็นสั ่งจ่าย ตามระเบียบฯข้อ ๑๔๑(๑)และ(๒) มาเป็ นหลักประกันซอง
ในชั้นทาสัญญา ต่อมาได้รบั การคัดเลือกเข้าทาสัญญา และประสงค์จะขอ
นาหลักประกันซองดังกล่าวมาเป็ นหลักประกันสัญญา ก็ได้
ในวันทาสัญญา ให้ส่วนราชการทาหลักฐานการคืนหลักประกันซอง
พร้อมทั้งจัดทาหลักฐานการรับหลักประกันสัญญาให้แก่ค่สู ญ
ั ญา ให้เสร็จ
สิ้นในวันเดียวกันโดยต้องมีเงินเพิ่ม-ลด ให้เท่ากับหลักประกันสัญญาด้วย
175
หนังสือค้าประกันสัญญาต้องมีระยะเวลา
ครอบคลุมถึงวันสิ้นสุดสัญญา
แบบสัญญาซื้อขายตามตัวอย่างที่กวพ. กาหนดข้อ ๓ มีว่า
*********
+ หนังสือค้าประกันนี้ ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ทาสัญญา
ซื้อขายจนถึงวันที่ภาระหน้าที่ท้งั หลายของผูข้ าย จะได้ปฏิบตั ิ
ลุลว่ งไป และ ข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้าประกันไม่ว่า
กรณีใด ๆ ตราบเท่าที่ผขู ้ ายยังต้องรับผิดชอบต่อผูซ้ ้ ือตาม
สัญญาซื้อขายอยู+่
176
วิ ธี ป ฏิ บั ติ ก่ อ นการคื น หลั ก ประกั น สั ญ ญา
หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ทีน่ ร (กวพ)
๑๐๐๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๒
๑.ให้หน.หน่วยงานผู ้
ครอบครองพัสดุ
หรือผูไ้ ด้รบั มอบหมายให้
ดูแล บารุงรักษา มีหน้าที่
ตรวจสอบความชารุด
บกพร่อง
๒.กรณีไม่มีผรู ้ บ
ั ผิดชอบตาม
ข้อ ๑
-ให้หน.เจ้าหน้าที่พสั ดุ
เป็ นผูด้ แู ล บารุงรักษา
และตรวจสอบความ
ชารุดบกพร่อง
177
๓. กรณีพบความชารุดบกพร่อง
ในระหว่างเวลาประกันตามสัญญา
ให้เจ้าหน้าที่
ผูร้ บั ผิดชอบตามข้อ ๑
-รีบรายงานหัวหน้า
ส่วนราชการ
-เพื่อแจ้งให้ผขู ้ าย หรือ
ผูร้ บั จ้างแก้ไข/
ซ่อมแซมทันที
และแจ้ง
ผูค้ ้าประกัน(ถ้ามี)
ทราบด้วย
178
๔.ก่อนสิ้นสุดเวลาประกันความชารุดบกพร่อง
ภายใน ๑๕ วัน กรณีประกันไม่เกิน ๖ เดือน
ภายใน ๓๐ วัน กรณีประกันเกิน ๖ เดือนขึ้นไป
ให้ผมู ้ ีหน้าที่รบั ผิดชอบ
• ทัง้ นี้ ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ
ตรวจสอบความชารุด
แจ้งกาหนดเวลาประกัน
บกพร่องของพัสดุ และให้
ความช
ารุ
ด
บกพร่องตาม
รายงานหส.ราชการทราบอีก
สัญญาให้หัวหน้า
ครั้งหนึ่ง
หน่
ว
ยงาน
หรื
อ
หั
ว
หน้
า
หากตรวจพบให้หวั หน้าส่วน
เจ้าหน้าที่พสั ดุทราบ
ราชการรีบแจ้งให้แก้ไขก่อน
พร้อมกับการส่งมอบพัสดุ
สิ้นสุดเวลาประกันและแจ้งผูค้ ้า
ทุกครัง้
ประกัน(ถ้ามี)
179
หลักเกณฑ์/วิธีปฏิบตั ิ
ในการคืนหลักประกันสัญญา
หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ที่นร (กวพ)
๑๓๐๕/ว ๘๖๐๘ ลว. ๕ ต.ค.๒๕๔๔
กรณีเมื่อคู่สญ
ั ญาพ้นข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว
๑.)ให้ส่วนราชการคืนหลักประกัน ๒.)กรณีเป็ นหนังสือค้ าประกัน
สัญญา ตามระเบียบฯข้อ
ธนาคาร/บ.เงินทุนหลักทรัพย์
๑๔๔ (๒) โดยเร็ว
หากคู่สญ
ั ญาไม่มารับคืนภายใน
กาหนดเวลา ให้รีบส่งต้นฉบับ
-อย่างช้าไม่เกิน ๑๕วันนับแต่วนั พ้น
คืนให้คู่สญ
ั ญาทางไปรษณีย ์
ข้อผูกพัน โดยไม่ตอ้ งรอให้มีการ
ลงทะเบียนโดยเร็วตามระเบียบ
ร้องขอคืน
ข้อ ๑๔๔ วรรคท้ายต่อไป
180
หลักเกณฑ์/วิธีปฏิบตั ิในการคืนหลักประกันสัญญา
(ต่อ)
๓.) กรณีตาม ข้อ ๒.)
๔.) กรณีหาต้นฉบับหนังสือ
ให้รบั รองว่าหลักประกัน
คา้ ประกันไม่พบ
ดังกล่าวหมดระยะเวลาค้า
ให้ส่วนราชการรีบแจ้งให้
ประกันเมื่อวัน เดือน ปี ใด
คู่สญ
ั ญาและธนาคาร หรือ
บริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ผูค้ ้ า
 เพือ่ มิให้คู่สญ
ั ญาต้องเสีย
ประกั
น
ทราบว่
า
:ค่าธรรมเนียมการต่ออายุ
หนังสือค้ าประกัน หมดหนังสือค้ าประกันระยะเวลาค้ าประกันสัญญาแล้ว
โดยไม่จาเป็ น
เมือ่ วัน เดือน ปี ใด/ส่งสาเนา
หนังสือค้ าประกันไปด้วย(ถ้ามี)
181
ส่วนราชการแจ้งผูค้ ้าประกัน ให้จา่ ยค่าซ่อมแซมความ
ชารุดบกพร่อง ก่อนที่จะแจ้งให้ผรู ้ บั จ้างจ่าย ได้
ปั ญหาสัญญาค้าประกันที่ธนาคารทาไว้สรุปว่า ข้าพเจ้ายอมผูกพันตน
โดยไม่มีเงื่อนไขเช่นเดียวกับลูกหนี้ชั้นต้นในการชาระเงินให้
ตามสิทธิเรียกร้องของผูร้ บั จ้างจานวนเงินไม่เกิน.... บาท...ใน
กรณีผรู ้ บั จ้างไม่ปฏิบตั หิ น้าที่ใดๆโดยไม่จาเป็ นต้องเรียกให้
ผูร้ บั จ้างชาระหนี้ก่อน
เมื่อผูร้ บั จ้างไม่ซ่อมแซมความชารุดบกพร่องของอาคาร ตามสัญญา
-ส่วนราชการ หารายอื่นมาซ่อมแทน ค่าใช้จ่ายในการซ่อมเป็ น
ค่าเสียหายอันเกิดจากการไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา
แนวปฏิบตั ิ ส่วนราชการ สามารถเรียกให้ธนาคารผูค้ ้าประกัน
ชาระหนี้ได้ โดยไม่จาต้องเรียกให้ผรู ้ บั จ้างชาระหนี้ก่อน
182
การบอกเลิก
และ การตกลงกันเลิก
สัญญา/ข้อตกลง
183
เหตุแห่งการ
บอกเลิก/ตกลงกันเลิกสัญญา หรือข้อตกลง
หลักการ (ข้อ ๑๓๗)
ให้เป็ นดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเป็ นผูพ้ ิจารณา ดังนี้
๑.)การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาจ้าง
เมื่ อ ผิ ด สั ญ ญา
มี เ หตุ เ ชื่ อ ได้ว่ า ผู ้ รั บ จ้า งไม่ ส ามารถทา งานได้แ ล้ ว
เสร็ จ ภายในระยะเวลาที่ กาหนด
๒.) การตกลงบอกเลิกสัญญา/ ข้อตกลง ให้ทาได้แต่เฉพาะ
ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ก่ ท างราชการโดยตรง หรื อ
เพื่ อ แก้ ไ ขข้ อ เสี ย เปรี ย บของทางราชการ
(หากจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา /ข้ อ ตกลงต่ อ ไป )
184
(ตัวอย่ าง)การบอกเลิกสัญญาและเรียกค่ าปรับ
บริษัทส่ งมอบปุ๋ยไม่ ถูกต้ องตามสัญญา/ส่ วนราชการได้ มีหนังสือแจ้ ง
ให้ บริษัททราบความไม่ ถูกต้ องหลายครัง้ แต่ บริษัทฯ ไม่ สามารถ
ดาเนินการได้
ต่ อมาส่ วนราชการได้ มีหนังสือบอกเลิกสัญญา พร้ อมทัง้ สงวนสิทธิ
เรียกค่ าปรับ และเรียกค่ าเสียหาย จึงเป็ นกรณีท่ สี ่ วนราชการได้ ใช้
สิทธิตามเงื่อนไขสัญญาที่ค่ สู ัญญาทาไว้ ในข้ อ ๑๐
ดังนัน้ ส่ วนราชการจึงมีสิทธิปรับผู้ขายเป็ นรายวันในอัตราร้ อยละ
๐.๒๐ ของราคาสิ่งของที่ไม่ ได้ ส่งมอบ จนถึงวันบอกเลิกสัญญาได้
สาหรับกรณีจะต้ องเรียกค่ าเสียหายหรือไม่ นัน้ เป็ นดุลพินิจของส่ วน
ราชการที่จะต้ องพิจารณาจากข้ อเท็จจริงที่เกิดขึน้
-หากเกิดความเสียหายเป็ นจานวนเท่ าใด ก็สามารถเรียกให้ บริ ษัทฯ
รับผิดชดใช้ ค่าเสียหายได้ โดยสิน้ เชิง ตามเงื่อนไขสัญญาข้ อ ๑๑
185
(ตัวอย่าง)สัญญาไม่มีเงื่อนไขให้ปรับระหว่างงวด
การส่งงานไม่ตรงงวด ไม่ถือว่าผิดสัญญา
• สัญญาซื้ อ/จ้างก่อสร้าง เมือ่ มิได้กาหนดเงือ่ นไขให้ปรับระหว่างงวดไว้
• กรณีผูร้ บั จ้างผิดสัญญางวดใด /งวดหนึง่ เป็ นเพียงเงือ่ นไขทีจ่ ะไม่
จ่ ายเงินตามงวดให้เท่านั้น
-ส่วนราชการจะปรับระหว่างงวดไม่ได้ เพราะยังไม่ถอื ว่าผิดสัญญา
-การแบ่งงวดงานแต่ละงวดในสัญญา
เป็ นเงื่อนไขที่ค่สู ญ
ั ญาตกลงแบ่งงวดงาน เพื่อประโยชน์ ในการ
จ่ายเงินค่าจ้างเป็ นงวดตามผลงานที่ดาเนินการไปแล้ว
-มิใช่เป็ นการกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงานตามสัญญา
หากอายุสญ
ั ญายังไม่ครบกาหนดเวลาแล้วเสร็จ
186
ข้อควรระวัง
เรื่องการบอกเลิกสัญญา
ปั ญหา ถ้าส่วนราชการคู่สญ
ั ญา มีหนังสือแสดงเจตนาใช้
สิทธิบอกสัญญาไปยังผูข้ าย หรือผูร้ บั จ้างแล้ว
 ย่อมมีผลให้สญ
ั ญาสิ้นสุดลงทันที และไม่อาจถอน
การบอกเลิกสัญญาได้(ประมวลกฎหมายแพ่งฯม.๓๘๖)
แนวทางปฏิบตั ิ คาวินิจฉัยกวพ.
คู่สญ
ั ญาที่เป็ นผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง จะขอผ่อนปรนการปฏิบตั ติ าม
สัญญาอีกไม่ได้
หากส่วนราชการประสงค์จะซื้อ/จ้าง รายเดิม ต้องดาเนินการ
จัดหาใหม่ จะแก้ไขสัญญาก็มิได้
187
ข้อ ๑๓๘ การผ่อนปรนการบอกเลิก
สัญญา/ข้อตกลง
หลักการ
กรณีค่สู ญ
ั ญาปฏิบตั ผิ ิดสัญญา/ข้อตกลง หากจานวนเงินค่าปรับ
จะเกินร้อยละ ๑๐ ของวงเงินค่าพัสดุหรือค่าจ้าง
ให้สว่ นราชการบอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง นั้น
ข้อยกเว้น
เว้นแต่ คู่สัญญายินยอมเสียค่าปรับให้โดยไม่มี
เงื่อนไขใด ๆทัง้ สิ้น ให้หัวหน้าส่วนราชการผ่อน
ปรนการบอกเลิกสัญญาได้เท่าที่จาเป็ น
188
เมื่อเลิกสัญญาแล้วจะริบหลักประกันสัญญาทั้งหมด/
หรือริบแต่เพียงบางส่วน ได้หรือไม่?
• แนวทางปฏิบตั ิ (มติกวพ.)
เมื่อบอกเลิกสัญญาแล้ว ส่วนราชการผูซ้ ้ ือจะใช้สิทธิริบ
หลักประกันสัญญาตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ข้อ ๘
เต็มจานวนหลักประกันทัง้ หมด หรือเพียงบางส่วน ก็ได้
แต่การจะริบทัง้ หมด หรือ บางส่วน นัน้ ขึ้นอยู่กบั ว่า จานวน
ค่าปรับ และค่าเสียหายอื่น (ถ้ามี) รวมกันแล้วไม่เกินกว่า
จานวนเงิน ตามหลักประกัน
ส่วนราชการผูซ้ ้ ือ อาจใช้ดลุ พินิจริบหลักประกัน
เพื่อชดใช้ได้ตามจานวนค่าเสียหายที่แท้จริง
189
การใช้สิทธิตามสัญญา ภายหลังบอกเลิกสัญญาแล้ว
มติกวพ. ๔๗/พ.ย.๕๒ กรม ว. ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามเงื่อนไขของ
สัญญาซื้อเครือ่ งตรวจวิเคราะห์ทางอิมมูโนเอสเสย์ แบบอัตโนมัตไิ ป
แล้ว ย่อมมีสิทธิดงั นี้
๑. ริบหลักประกันสัญญา หรือเรียกร้องจากธนาคารผูค้ ้าประกัน
๒.กรณีมีค่าปรับ ให้เรียกร้องจากคู่สญ
ั ญาให้ชาระค่าปรับโดยคิดตั้งแต่
วันถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญา จนถึงวันบอกเลิกสัญญา
หักด้วยจานวนวันที่สว่ นราชการใช้ไปในการตรวจรับ
๓. หากต้องซื้อใหม่ และมีราคาเพิ่มขึ้นจากวงเงินตามสัญญาเดิม
ย่อมเรียกให้ชดใช้ราคาส่วนที่เพิ่มขึ้นได้ดว้ ย
๔. ค่าเสียหายอื่น ๆ (ถ้ามี) ได้แก่ ค่าขาดรายได้ หรือขาดประโยชน์
จากการรับจ้างวิเคราะห์
190
การใช้สิทธิตามสัญญาภายหลังบอกเลิกสัญญา
(ต่อ)
ทั้งนี้ ให้นาค่าเสียหายข้างต้นทั้งหมดมาหักจากเงิน
ประกันสัญญา ถ้าเหลือให้คืนบริษทั ฯคู่สญ
ั ญา
หากมีค่าเสียหายท่วมจานวนหลักประกันให้ยดึ ไว้
ทั้งหมดโดยไม่ตอ้ งคืนหลักประกันสัญญา และใช้
สิทธิเรียกร้องเพิ่มจนครบจานวนด้วย
191
การใช้ เครื่องมือเครื่องใช้ ของผู้รับจ้ างรายเดิม
ปั ญหา (ส่วนราชการต้องกาหนดเงื่อนไขการใช้เครื่องมือเครื่องใช้ของผู ้
รับจ้างรายเดิมทีย่ กเลิกสัญญาไว้ในประกาศฯใหม่ดว้ ย)
-จังหวัดประกาศประกวดราคาก่อสร้างใหม่ อันเนือ่ งมาจากผูร้ บั จ้างเดิม
ทิ้ งงานหรือบอกเลิกสัญญาไป โดยมิได้กาหนดเงือ่ นไข ผูเ้ สนอราคาราย
ใหม่เสนอราคาภายใต้เงือ่ นไขการใช้เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้วสั ดุของ ผูร้ บั
จ้างรายเดิมทิ้ งงานไป
สัญญาจ้างข้อ ๑๖ กาหนดให้ผูร้ บั จ้างรายใหม่ ใช้วสั ดุก่อสร้างของ
ผูร้ บั จ้างรายเดิมได้โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ให้ผูร้ บั จ้างรายใหม่ สามารถ
ทางานในเนื้ องานใหม่ต่อเนือ่ งกับงานของผูร้ ายจ้างรายเดิมได้ทาค้างไว้
โดยไม่ตอ้ งมีผลกระทบโครงสร้างเดิม
192
การใช้เครื่องมือเครื่องใช้ของผูร้ บั จ้างรายเดิม(ต่อ)
แนวทางปฏิบตั ิ
๑. ในขั้นตอนประกวดราคาจ้างใหม่ /ต้องแจ้งในประกาศว่าให้เสนอราคา
ภายใต้เงือ่ นไขทีผ่ ูร้ บั จ้างรายใหม่ได้ใช้เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ และวัสดุ ของ
ผูร้ บั จ้างรายเดิม ทีส่ งวนสิทธิไว้เท่าทีท่ ีจ่ าเป็ น
๒. ถ้าไม่เขียนไว้ในประกาศ จะต้องตกลงราคาค่าจ้างกันใหม่ ภายใต้เงือ่ นไข
ข้างต้น มิฉะนั้นจะทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
๓. แจ้งให้ผูร้ บั จ้างเดิมมารับคืนเครือ่ งมือเครือ่ งใช้และวัสดุ ทีม่ ิได้สงวนไว้
เพือ่ ปฏิบตั ิตามสัญญาหรือจาเป็ นต้องใช้
๔. ให้มีหนังสือแจ้งกาหนดระยะเวลาพอสมควร ให้ผูร้ บั จ้างเดิมขนย้าย
เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ วัสดุ ออกไป
193
การใช้ เครื่ องมือเครื่ องใช้ ของผู้รับจ้ างรายเดิม (ต่ อ)
แนวทางปฏิบัติ
๕. หากไม่ขนย้ายในเวลากาหนด ให้ยา้ ยออกไปไว้ในทีป่ ลอดภัย
หากต้องเสียค่าขนย้ายให้เรียกคืนได้ตาม ปพพ. ม. ๑๑๖๓,
๑๑๖๗
๖. วัสดุใช้สิ้นเปลือง ให้ชดใช้ค่าวัสดุน้นั คืนแก่ผูร้ บั จ้างเดิมตาม
ควรค่าแห่งการใช้ทรัพย์น้นั
๗. ถ้ามีค่ารื้ อถอน มีสิทธิหกั ค่ารื้ อถอน ค่าปรับ หรือค่าเสียหาย
(ถ้ามี) จากจานวนเงินทีต่ อ้ งคืนให้ผูร้ บั จ้างเดิมออกก่อนด้วย
194
ความรูเ้ กี่ยวกับการตรวจรับพัสดุ
ตามระเบียบฯ ข้อ ๗๑ ข้อ ๗๒ข้อ ๗๓
195
ระยะเวลาการตรวจรับพัสดุ
ส.เวียน สานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร.๑๓๐๕/ว.๕๘๕๕ ลว. ๑๑ กค.๔๔
ให้ตรวจรับวันที่มีหนังสือนาพัสดุมาส่งตามเงื่อนไขสัญญา
งานก่อสร้าง/ระยะเวลาตรวจ(นับวันทาการ)
ผูค้ วบคุมงาน งวดละ๓ วันทาการ /คกก.ตรวจการจ้าง งวดละ ๓ วัน
งวดสุดท้าย ๕ วันทาการนับจากรับรายงานตรวจรับจากผูค้ วบคุมงาน
งานซื้อ/จ้างทาของ–
ตรวจรับทันทีในวันที่นาพัสดุมาส่งอย่างช้าไม่เกิน๕วันทาการ(ไม่รวม
เวลาที่ใช้ทดลอง)
ต้องมีหลักฐานการส่งมอบเป็ นหนังสือด้วย เพื่อ:-เป็ นหลักฐานยืนยัน
วันที่สง่ มอบตามสัญญา และเป็ นประโยชน์ในการคิดคานวณค่าปรับ
196
การตรวจรับพัสดุ (ข้อ ๗๑)
กาหนดหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
 ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน ตามสัญญา /ข้อตกลง
กรณีจาเป็ นไม่อาจตรวจนับเป็ นจานวนหน่วยได้ท้งั หมด
• ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ
> รับพัสดุไว้/ ถือว่าผูข้ าย,ผูร้ บั จ้าง ส่งมอบครบวันที่นาพัสดุมาส่ง
> มอบของให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ
> ทาใบตรวจรับอย่างน้อย 2 ฉบับ (ให้ผขู ้ าย 1 เจ้าหน้าที่พสั ดุ 1 เพื่อ
ประกอบการเบิกจ่ายเงิน )
 > รายงานผลให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีส่งมอบไม่ ถูกต้ องตามสัญญา
> ไม่ถูกต้องในรายละเอียด
* ให้รายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบเพื่อสั ่งการ
ทักรณี
นทีถูกต้ องแต่ ไม่ ครบจานวน/ หรื อครบแต่ ไม่ ถูกต้ องทัง้ หมด
*แจ้งผูข้ าย/ ผูร้ บั จ้าง ทราบภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั
ตรวจพบ
หากจะให้รบั เฉพาะที่ถูกต้อง รีบรายงาน หส.ราชการพิจารณา
แก้ไขสัญญาก่อน แล้วจึงตรวจรับส่วนที่ถูกต้อง
> >สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่สง่ ไม่ถูกต้อง)
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ (ต่ อ)
กรณีพสั ดเุ ป็ นชุด / หน่ วย
ให้ดวู ่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งจะใช้การ
ไม่ได้ อย่างสมบูรณ์
* ถือว่ายังไม่ได้สง่ มอบ

รีบรายงาน หส.ราชการภายใน 3 วันทาการนับแต่ตรวจพบ
กรรมการตรวจรั บบางคนไม่ ยอมรั บพัสดุ
ให้ทาความเห็นแย้งไว้
> ถ้ า หัวหน้ าส่ วนราชการ สั่งการให้ รับพัสดุไว้
* ให้ ออกใบตรวจรับให้ ผ้ ูขาย/ผู้รับจ้ างและจนท.พัสดุ เป็ นหลักฐาน
การตรวจรั บงานจ้ างก่อสร้ าง
 ระเบียบฯ พัสดุ ข้ อ ๗๒
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ตรวจรายงานของผ้ คู วบคมุ งาน
 ดูการปฏิบต
ั งิ านของผูร้ บั จ้าง

ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์

รับทราบการสั่งการของผูค้ วบคุมงาน กรณีสั ่งผูร้ บั จ้างหยุด/
พักงาน
แต่ตอ้ งรายงาน หส.ราชการทราบ/สั ่งการ
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจการจ้ าง (ต่ อ)
กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่ าไม่ น่าจะเป็ นตามหลักวิชาการ



ให้ออกตรวจสถานที่ที่จา้ ง
ให้มีอานาจ
สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้
เพื่อให้เป็ นไปตามรูปแบบ /รายการ / ข้อตกลง
ตรวจผลงานที่สง่ มอบ
ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วน
ั ประธานกรรรมการ
รับทราบการส่งมอบงาน
ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
กรณีตรวจถูกต้ อง
 ทาใบรับรองผลงาน
 ทั้งหมด / เฉพาะงวด
 มอบให้ผรู ้ บ
ั จ้าง , จนท.พัสดุ
 รายงาน หส.ราชการ ผูว้ ่าจ้างทราบ
กรณีตรวจพบว่ าไม่ ถูกต้ อง
 ทั้งหมด / เฉพาะงวดใด
 ให้รายงาน หส.ราชการทราบ ผ่าน จนท.พัสดุเพื่อสั ่งการ
 ถ้า หส.ราชการสั ่งให้รบ
ั ไว้ ให้ทาใบรับรองผลงานได้
 หากมติกรรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน
ให้ทาความเห็นแย้งไว้
 ระเบียบฯ พัสดุ ข้ อ ๗๒ กาหนดหน้าที่
ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ตรวจรายงานของผ้ คู วบคมุ งาน
 ดูการปฏิบต
ั งิ านของผูร้ บั จ้าง


ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์
รับทราบการสั่งการของผูค้ วบคุมงาน กรณีสั ่งผูร้ บั จ้างหยุด/
พักงาน แต่ตอ้ งรายงาน หส.ราชการสั ่งการ
ตรวจผลงานที่สง่ มอบ
ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วน
ั ประธานกรรรมการ
รับทราบการส่งมอบงาน ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด
หน้าที่ของผูค้ วบคุมงาน
 ระเบียบฯ พัสดุ ข้อ ๗๓



ตรวจตามรูปแบบ รายการละเอียด ข้อตกลงในสัญญาทุกวัน
มีอานาจ
 สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม ตัดทอน เฉพาะกรณี
เพื่อให้เป็ นไปตามสัญญาและหลักวิชาการช่าง
ถ้าผูร้ บั จ้างขัดขืนไม่ทา
 ให้สั ่งหยุดงานเฉพาะส่วน /ทั้งหมดไว้ก่อน
จนกว่าจะยอมปฏิบตั ติ าม
 รีบรายงานคณะกรรมการตรวจงานจ้างทันที
ตัวอย่างปั ญหา
การตรวจรับพัสดุ
และแนวทางแก้ไข
205
การตรวจรั บเครื่ องปรับอากาศ
ส. เวียน กวพ. ว. ๒๖๒๑ ล.๒๙ มี.ค. ๔๕
- การซือ้ /จ้ าง ที่ระบุ พร้ อมติดตัง้ เครื่องปรับอากาศ
- ถ้ าเครื่องปรับอากาศไม่ เสียภาษีสรรพสามิตให้
ถูกต้ อง จะทาให้ มีปัญหาครอบครอง และใช้ งานตามปกติ
วิธีปฏิบัติ จึงควรขอความร่ วมมือ จนท. สรรพสามิ ต มา
ช่ วยตรวจสอบ หรือ มาร่ วมเป็ นกรรมการตรวจรับ ก็ได้
- ถ้ าเสียภาษีไม่ ถูกต้ อง ถือว่ าผิดสัญญา เพราะ
๑. ราคาสิ่งของ/ค่ าจ้ างจ้ าง รวมภาษีทงั ้ ปวงไว้ แล้ ว
๒. อาจถูกสั่งเป็ นผู้ทงิ ้ งาน ต่ อไป
๓. อาจถูกปรับ
206
ผู้ขายส่ งมอบของพัสดุขาด / เกิน
 กรม ร.ซือ้ /กระสุนปื น ๙ มม.และ .๓๘ สเปเชียล
ตามสัญญา ซือ้ กระสุนขนาด ๙ มม. ๑๘,๗๘๕ นัด
แต่ ส่งของ - ๙ มม. ๑๐,๐๐๐ นัด ขาดไป ๘,๙๘๕ นัด
- .๓๘ สเปเชียล ๑๘,๗๘๕ นัด
ส่ งเกินไป ๘,๗๘๕ นัด
207
ผู้ขายส่งของพัสดุขาด / เกิน(ต่อ)
มติกวพ. แนวปฏิบตั ิทีถ่ ูกต้อง----โดยหลักการ--- มีสิทธิรบั มอบกระสุนปื นพกทีถ่ ูกต้อง
 กรณี บ ริ ษั ท ส่ งมอบกระสุ น ปื นขนาด ๙ มม.ขาดจ านวนไป
ต้องเรียกให้บริษทั ส่งให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามสัญญาได้
 หากบริษทั ฯ ไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาข้อหนึง่ ข้อใด
 กรมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา และเรียกชดใช้ค่าเสียหายที่เพิ่มขึ้ นได้ ตาม
จานวนค่ าเสียหายที่ตอ้ งซื้ อกระสุนปื น จานวนดังกล่าว กับผูข้ ายราย
ใหม่และค่าเสียหายอื่น ๆ (ถ้ามี)
 ทั้งนี้ กรมฯ จะต้องแก้ไขสัญญาก่อนตรวจรับตามจานวนทีแ่ ท้จริง ก่อน
 กรณี กระสุนลูกโม่ .๓๘ บริษทั ฯ ที่ส่งมาเกินกรมฯ ต้องรับให้ครบตาม
จานวนทีก่ าหนดในสัญญาซื้ อขาย จานวน ๑๐,๐๐๐ นัด เท่านั้น
208
ซื้ อของ กาหนด SPEC ไว้ ๖ รายการ
ส่ง CATALOG มา ๓๑ รายการ
หลัก การตรวจรับพัสดุ ตามสัญญา ต้องพิจารณาเจตนารมณ์
อันแท้จริงของคู่สญ
ั ญาในการทาสัญญาด้วย
- จ.อุ ต รดิ ต ถ์ ซื้ อเครื่ อ งถ่ า ยเอกสาร ก าหนดคุ ณ สมบัติ เ ฉพาะ
ไว้ ๖ รายการ วงเงิน ๙๕,๐๐๐ บาท
- บริษทั ฯ เสนอขายยี่หอ้ RICOH รุ่น ๒๐๒๒ วงเงิน ๙๕,๐๐๐
บาท มีรายละเอียด CATALOG ๓๑ รายการ
209
ซื้ อของ กาหนด SPEC ไว้ ๖ รายการ
ส่ง CATALOG มา ๓๑ รายการ(ต่อ)
แม้สญ
ั ญาจะกาหนดให้ CATALOG เป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาก็ตาม
แต่ คู่ ส ัญ ญามี เ จตนาซื้ อที่ มี คุ ณ ลัก ษณะ ๖ รายการ ตามเงื่ อ นไข
ทีป่ ระกาศกาหนด
คณะกรรมการตรวจรับ จึงต้องพิจารณาเจตนาที่แท้จริงของคู่สั ญญา
ด้วย
เมื่อบริษทั ฯ ส่งมอบครบ ๖ รายการ ไม่ครบ ๓๑ รายการ
ก็ถือว่า – บริษัทฯ ส่งมอบถูกต้องตามเจตนารมณ์ของคู่สญ
ั ญาทั้ง ๒
ฝ่ ายแล้ว
(ส.ตอบข้อหารือ ที่ กค. (กวพ.๐๔๐๘/๒๐๐๕๔ ลว. ๑๓ กค. ๔๘)
210
ตัวอย่าง
การส่งมอบและตรวจรับข้ามงวดงาน ทาได้หรือไม่ ?
•สัญญาจ้างแบ่งงวดงาน ๑๐ งวด
มิได้มีขอ้ กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น
• “สัญญามีการแบ่งงวดงานและ
จึงตรวจรับงานและจ่ายเงินข้าม
จ่ายเงินเป็ นงวดๆก็เพื่อให้การ
งวดงานนอกเหนือไปจากที่
ก่อสร้างเป็ นไปตามลาดับขั้นตอน
สัญญากาหนดไม่ได้
ตามหลักวิชาการก่อสร้าง
• การแบ่งจ่ายเงินเป็ นงวด ๆ ก็เพื่อให้ •เว้นแต่ เห็นว่า งานงวดใด เป็ น
ใช้เป็ นทุนหมุนเวียนในระหว่างการ อิสระไม่เกี่ยวข้องกันและ
ประสงค์จะรับไว้ก่อน ก็ตอ้ งแก้ไข
ทางานให้ผรู ้ บั จ้างเกิดสภาพคล่อง
สัญญาเพื่อให้คกก.ตรวจการจ้าง
ทางการเงิน.”
ตรวจรับงานตามเงื่อนไขสัญญา
• มติกวพ.( ธ.ค.๔๘) ในหลักการ
211
ความเสียหายเกิดขึ้นก่อนตรวจรับงวดสุดท้าย
ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบ แม้เกิดเหตุสุดวิสยั
หนั ง สื อ เวี ย น ก วพ .สร .๑ ๐ ๐ ๑ /ว.๒ ๘ ลว .๑ ๘ พ ย . ๒ ๕
และในแบบสัญญา
การตรวจรับงานจ้างแต่ละงวด มิใช่ การตรวจรับมอบงาน
จ้างไว้ใช้ในราชการ แต่เป็ นเพียง
เพื่ อ จะออกใบตรวจรั บ งานจ้า ง ให้ผู ้รั บ จ้า งไว้เ ป็ นหลั ก ฐ าน
เพื่อใช้ประกอบการเบิกจ่ายเงินค่างวดงานต่อไปเท่านั้น
ดังนั้น หากความเสียหายใด ๆ เกิดขึ้นแก่งานจ้าง ระหว่างงวดงาน
แม้จ ะเกิ ด ขึ้ นเพราะเหตุ สุ ด วิ สัย ผู ร้ ับ จ้า งก็ ต อ้ งรับ ผิ ด ในความ
เสียหายนั้น โดยจัดหาใหม่/หรือแก้ไขซ่อมแซมให้คืนดี
212
ผูข้ าย/รับจ้างมีหนังสือส่งมอบงานย้อนหลัง
จะตรวจรับอย่างไร
ตัวอย่าง - มีหนังสือส่งมอบงาน ๖ กค. ๔๘
- แต่แจ้งว่าส่งมอบงานจริงตัง้ แต่ ๑๖ กพ. ๔๘ แล้ว
กรณีเป็ นการทาหนังสือส่งมอบย้อนหลังในวันที่งานเสร็จ
ถ้า พิ สู จ น์ ไ ม่ ไ ด้ว่ า งานเสร็ จ จริ ง ในวั น ที่ ๑๖ กพ.หรื อ ไม่
ต้องถือวันส่งมอบเป็ นหนังสือเป็ นสาคัญ
กรณี น้ ี ปรากฏว่ า คกก. ตรวจการจ้า งยอมรับ ว่ า งานเสร็ จ
วันที่ ๑๖ กพ.๔๘ ต้องถือว่า คกก. ยอมรับว่าส่งงานจริ งวันที่
๑๖ กพ. แล้ว จึงให้ถือวันส่งมอบงานจริง คือ ๑๖ กพ. ๔๘
213
การนาพัสดุไปใช้ก่อนการตรวจรับ
ถือว่าเป็ นการรับมอบพัสดุแล้วโดยปริยาย
เทศบาลจ้างบริษทั ฯ ก่อสร้างถนน จ่ายค่าจ้าง ๑๓ งวด
ผูร้ บั จ้างส่งงานงวดที่ ๑๓ สุดท้าย ปรากฏว่ามีเนื้องานงวดก่อนๆ
ทั้ง ๑๒ งวด ซึ่งจ่ายเงินค่างวดไปแล้ว กลับมีความชารุดบกพร่องอีก
กรรมการสั ่งให้แก้ไขซ่อมแซม
ระหว่างการแก้ไข เทศบาลเปิ ดถนนให้ประชาชนใช้สญ
ั จร
ไป-มา ถือได้ว่า เป็ นการยอมรับมอบงานงวดที่ ๑๓ ไปแล้ว
โดยปริยาย เทศบาลต้องจ่ายเงินค่าจ้างตามสัญญา
ส่วนปั ญหาความชารุดบกพร่องในงวดงานใด บริษทั ผูร้ บั จ้าง
ต้องซ่อมแซมแก้ไขตามเงื่อนไขสัญญา ข้อ ๖ เรื่องประกันความ
ชารุดบกพร่อง
214
การส่งมอบงานก่อสร้างครั้งละหลายๆ งวด
บริษทั ฯ ก ผูร้ บั จ้างก่อสร้างอาคารเรียน ๙ ชั้น พร้อมลิฟท์
ตามสัญญาแบ่งงวดงานออกเป็ น ๑๘ งวด งานล่าช้ากว่าสัญญา
บริษทั ฯ รีบก่อสร้าง และส่งงานงวดที่ ๑๒ – งวดสุดท้าย
(งวดที่ ๑๘)ในคราวเดียว ก็ชอบที่จะกระทาได้ /คณะกรรมการ
ตรวจการจ้างย่อมต้องตรวจรับงานดังกล่าวให้ถูกต้องตามสัญญา
ข้อสังเกต การแบ่งงวดงาน เป็ นไปเพื่อประโยชน์ในการแบ่งจ่ายเงิน
ให้ผรู ้ บั จ้างใช้เป็ นทุนหมุนเวียนในการทางาน เมื่อผูร้ บั จ้างทาตาม
ขั้นตอนของงานแต่ละงวดถูกต้องตามสัญญา
-การส่งมอบงานเป็ นงวด-หลาย ๆ งวดจึงเป็ นสิทธิ์ของผูร้ บั จ้าง
215
ผิดสัญญารับจ้างช่วง ตรวจรับไว้ใช้งานแล้ว
โดยไม่ทกั ท้วงถือว่ายอมรับ
• การนางานไปให้ผูร้ บั จ้างช่วงทาโดยไม่ได้รบั ความยินยอม
-กรมฯ กาหนดเงื่อนไขห้ามผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผู ร้ บั จ้าง
ช่วงดาเนินงาน โดยมิได้รบั ความยินยอมจากผูว้ ่าจ้างก่อน
ปรากฏว่า บริษทั ฯ ผูร้ บั จ้าง นางานไปให้ผอู้ ื่นรับจ้างต่อโดย
มิได้รบั ความยินยอม จึ งเป็ นการผิดเงือ่ นไขสัญญาข้อ ๗
แต่ เมือ่ ส่งมอบของให้กรมฯ/ และกรมฯ ตรวจรับไว้ใช้งาน
เรียบร้อยแล้ว โดยมิได้ทักท้วงถือว่ายอมรับแล้ ว
216
คกก. ตรวจการจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน-สังหยุ
่ ดงาน
จังหวัดสุพรรณบุรี (มติกวพ.ครั้งที๓
่ /๒๕๕๐)
-จ้ า งปรั บ ปรุ ง ระบบบ าบัด น้ าเสี ย เทศบาลเมื อ ง วงเงิ น
๗,๙๕๐,๐๐๐ บาท
- ระหว่างสัญญา บริษทั ผูร้ บั จ้างฯ ขอหยุดงาน เนือ่ งจากมีฝนตก
เป็ นระยะ ๆ ก่อสร้างไม่ได้
- เมื่ อ ขุ ด ดิ น แล้ว พบว่ า มี น้ าใต้ดิ น จ านวนมากต้อ งสู บ น้ า
ตลอดเวลา ดิ น อ่ อ นตัว ไม่ ส ามารถน าเครื่ อ งจัก ร เครื่ อ งมื อ
เข้าไปดาเนินงานได้
217
คกก. ตรวจการจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน-สังหยุ
่ ดงาน(ต่ อ)
ม ติ ก ว พ . ค ก ก . ต ร ว จ ง า น จ้ า ง ไ ป ดู ที่ ก่ อ ส ร้ า ง เ ห็ น ว่ า
ผูร้ บั จ้างยังสามารถทางานส่วนอื่นได้ไม่ควรหยุดงาน
►แม้อานาจในการสังหยุ
่ ดงาน,งด, ลดค่าปรับ,ขยายสัญญา
-จะเป็ นดุ ลพินิจของ หัวหน้าส่ วนราชการก็ ตาม แต่ จะต้องพิจารณาด้วย
ความรอบคอบให้ได้ค วามชัดเจนว่ า มีเ หตุ อุปสรรคอันเกิ ดขึ้ นที่ ทาง
ราชการจะต้องแก้ไข หรือ ไม่สามารถให้ผูร้ บั จ้างทางานต่ อไปได้อย่าง
แท้จริง
จังหวัดจึ งต้องพิจารณาว่ า เหตุอุปสรรคที่เกิดขึ้ น เป็ นเรื่องที่ผู ้
รับ จ้า งไม่ ส ามารถป้ องกัน ได้ อัน จะถื อ เป็ นเหตุ สุ ด วิ ส ั ย ตาม
ปพพ. ม.๘ หรือไม่
218
ใบ BOQ แตกต่างจากแบบรูปรายการ
คณะกรรมการต้องตรวจรับตามแบบรูปรายการตามสัญญา
 มหาวิทยาลัย ส. จ้างก่อสร้างระบบระบายน้ า/และที่พกั บุคลากร
ตามประกาศประกวดราคา ข้อ ๑๒.๒ กับสัญญาจ้างข้อ ๑๓ กาหนด
ตรงกันว่า เรื่องแบบรูป และรายละเอียดคลาดเคลื่อนไว้สรุปว่า
เอกสารประมาณราคางาน รายละเอี ยดปริมาณราคาวัสดุ และ
ค่าแรงงานแต่ละรายการของมหาวิ ทยาลัย ไม่ ถือเป็ นข้อผูกพั นที่
ต้องพิจารณาหรือปฏิบตั ไิ ปตามนัน้
→ ผูเ้ สนอราคาต้องรับผิ ดชอบตรวจสอบรู ปแบบ ถอดแบบ คานวณ
ราคาแต่ล ะรายการของงานเอง จะไม่ ก ล่ า วอ้า งปฏิ เ สธความรับ
ผิดพลาด คลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรม จะปฏิบตั ิต าม
คาวิ นิจฉัยของ คกก. ตรวจการจ้างหรือผูค้ วบคุมงานของผู ้ว่าจ้าง
(มหาวิทยาลัย) โดยไม่คิดค่าใช้จา่ ยเพิ่ม
219
ใบ BOQ แตกต่างจากแบบรูปรายการ
คกก.ต้องตรวจรับตามแบบรูปรายการตามสัญญา(ต่อ)
มติ กวพ.
เมือ่ ปรากฏว่า รายละเอียดงานที่กาหนดไว้ในใบแจ้งปริม าณงาน
และราคา (BOQ) BILL OF QUANTITY ของผูร้ บั จ้าง
แตกต่ างไปจากรู ปแบบรายการตามสัญญา ผู ร้ บั จ้างฯจะ
ปฏิเสธความรับผิดชอบไม่ได้
- คณะกรรมการตรวจงานจ้า ง (มหาวิ ท ยาลัย ) ต้อ งยึ ดถือ
ตามรูปแบบรายการตามทีป่ รากฏในเงือ่ นไขสัญญา
220
กรณีผรู ้ บั จ้างเข้าทางานก่อสร้างก่อนทาสัญญา
ที่ กค. กวพ. ๐๔๐๘/๓๔๘๘๐ ล.๒๑ ธค.๔๘
ระเบี ยบข้อ ๗๒ ,๗๓ ให้ค กก. ตรวจงานจ้า ง ตรวจรับให้เป็ นไปตาม
รูปแบบรูปรายการ และข้อกาหนดในสัญญา
๑. บริษัทฯ เข้าทางานก่อนทาสัญญาเสร็จงวด ๑. โดยยังไม่ได้ส่งมอบ
พื้นที่ แต่อย่างใด - คกก.จึงสั ่งให้หยุดงาน
๒. พฤ ติ ก า ร ณ์ ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ถื อ ว่ า เ ป็ น ก า ร จั ด ก า รง า น น อ ก สั ง่
เข้าทางานโดยยังไม่มีสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาหรือข้อ ตกลงตาม
ปพพ. มาตรา ๓๙๕
๓. - ผูค้ วบคุมงาน / คกก.ตรวจงานจ้าง ยังไม่สามารถเข้าทาหน้าที่
ตามระเบียบได้
221
ผูร้ บั จ้างเข้าทางานก่อสร้างก่อนทาสัญญา(ต่อ)
มติกวพ.-หากกรมฯ เห็นว่า หากดาเนินการต่อไปจะเป็ นประโยชน์
มากกว่า
 อาจพิ จ ารณาแต่ง ตั้ง คกก. กลาง ขึ้ นมาคณะหนึ่ ง ที่ ไ ด้รับ
ความเชื่อถือทั้ง ๒ ฝ่ าย โดยการ
- เข้า ท าหน้า ที่ ต รวจสอบความแข็ ง แรง และพิ จ ารณาว่ า
สามารถรับงาน ได้หรือไม่
- ค่าใช้จา่ ยในการตรวจสอบ ตกเป็ นภาระของผูร้ บั จ้างที่ตอ้ ง
เป็ นผูพ้ ิสูจน์ว่า สมประโยชน์ของทางราชการแล้ว
222
ผู้รับจ้ างเข้ าทางานก่ อสร้ างก่ อนทาสัญญา(ต่ อ)
 หากทางราชการเห็นว่าสามารถรับงานได้
- ให้กรมฯ จ่ ายเฉพาะค่างานทีบ่ ริษทั ฯ จ่ ายไปแล้ว
ตาม ปพพ. ม. ๔๐๑
-งานงวดทีเ่ หลือให้แก้ไขสัญญา เพือ่ ปรับงวดงาน
และงวดเงินกันใหม่
-กาหนดการประกันความชารุดบกพร่อง ให้ครอบคลุมถึง
เนื้ องานในส่วนแรกก่อนการทาสัญญานั้นด้วย
223
เหตุสุดวิสยั เกิดขึ้นระหว่างผิดนัด
ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบ
ปั ญหา-ตามสัญญาข้อ ๑๐ กาหนดว่า “ความเสียหายใด ๆ เกิดแก่งาน
ทีผ่ ูร้ บั จ้างทาขึ้ น แม้จะเกิดขึ้ นเพราะเหตุสุดวิสยั นอกจากกรณีอนั เกิดจาก
ความผิ ด ของผู ร้ บั จ้า งเอง ความรับ ผิ ด ของผู ร้ บั จ้า งดัง กล่ า วในข้อ นี้ จะ
สิ้ นสุดลง เมือ่ ผูว้ ่าจ้างได้รบั มอบงานงวดสุดท้ายไปแล้ว .......
มติกวพ.เมื่อความเสียหาย เกิดขึ้นกับงานก่อสร้างตามสัญญามี
สาเหตุเกิ ดมรสุ ม และคลื่นยักษ์ในอ่าวไทย ซึ่ งมิ ใช่ ความผิ ด
ของจังหวัดนครฯ ผูว้ ่าจ้างและได้เกิดขึ้นก่อนที่จะรับมอบงาน
ครั้งสุดท้าย กรณีจงึ ต้องเป็ นไปตามเงื่อนไขของสัญญา ข้อ ๑๐
-ผู ้รับ จ้า ง ต้อ งรับ ผิ ด ชอบซ่ อ มแซมงานนั้ น ให้คื น ดี หรื อ
ก่อสร้างใหม่โดยค่าใช้จา่ ยของผูร้ บั จ้างเอง
224
ผิดสัญญารับจ้างช่วง ตรวจรับไว้ใช้งานแล้ว
โดยไม่ทกั ท้วงถือว่ายอมรับ
• นางานไปให้ผูร้ บั จ้างช่วงทา
กรมฯ กาหนดเงือ่ นไขห้ามผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูร้ บั จ้างช่วง
ดาเนินงาน โดยมิได้รบั ความยินยอมจากผูว้ ่าจ้างก่อน
ปรากฏว่า  บริษทั ฯ ผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูอ้ ื่นรับจ้างต่อ
โดยมิได้รบั ความยินยอม จึ งเป็ นการผิดสัญญาข้อ ๗
แต่ เมื่อส่งมอบของให้กรมฯ และกรมฯ ตรวจรับไว้ใช้งาน
เรียบร้อยแล้ว โดยมิได้ทกั ท้วงถือว่ายอมรับแล้ ว
225
คกก. ตรวจการจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน-สังหยุ
่ ดงาน
จังหวัดสุพรรณบุรี (มติกวพ.ครั้งที๓
่ /๒๕๕๐)
-จ้ า งปรั บ ปรุ ง ระบบบ าบัด น้ าเสี ย เทศบาลเมื อ ง วงเงิ น
๗,๙๕๐,๐๐๐ บาท
- ระหว่างสัญญา บริษทั ผูร้ บั จ้างฯ ขอหยุดงาน เนือ่ งจากมีฝนตก
เป็ นระยะ ๆ ก่อสร้างไม่ได้
- เมื่ อ ขุ ด ดิ น แล้ว พบว่ า มี น้ าใต้ดิ น จ านวนมากต้อ งสู บ น้ า
ตลอดเวลา ดิ น อ่ อ นตัว ไม่ ส ามารถน าเครื่ อ งจัก ร เครื่ อ งมื อ
เข้าไปดาเนินงานได้
226
คกก. ตรวจการจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน-สังหยุ
่ ดงาน(ต่ อ)
ม ติ ก ว พ . ค ก ก . ต ร ว จ ง า น จ้ า ง ไ ป ดู ที่ ก่ อ ส ร้ า ง เ ห็ น ว่ า
ผูร้ บั จ้างยังสามารถทางานส่วนอื่นได้ไม่ควรหยุดงาน
►แม้อานาจในการสังหยุ
่ ดงาน,งด, ลดค่าปรับ,ขยายสัญญา
-จะเป็ นดุ ลพินิจของ หัวหน้าส่ วนราชการก็ ตาม แต่ จะต้องพิจารณาด้วย
ความรอบคอบให้ได้ค วามชัดเจนว่ า มีเ หตุ อุปสรรคอันเกิ ดขึ้ นที่ ทาง
ราชการจะต้องแก้ไข หรือ ไม่สามารถให้ผูร้ บั จ้างทางานต่ อไปได้อย่าง
แท้จริง
จังหวัดจึ งต้องพิจารณาว่ า เหตุอุปสรรคที่เกิดขึ้ น เป็ นเรื่องที่ผู ้
รับ จ้า งไม่ ส ามารถป้ องกัน ได้ อัน จะถื อ เป็ นเหตุ สุ ด วิ ส ั ย ตาม
ปพพ. ม.๘ หรือไม่
227
การควบคุมและจาหน่ายพัสดุ
228
การลงบัญชี/ทะเบียน ควบคุมพัสดุ (ข้อ ๑๕๑)
พัสดุไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีใดๆ
ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุม ตามตัวอย่างกวพ.
อะไรเป็ นวัสดุ /ครุภณ
ั ฑ์ ให้ดหู ลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตาม
หนังสือเวียนสานักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ สร ๐๗๐๒/ว ๕๑ ลว. ๒๐
ม.ค.๒๕๔๘
วิธีลงทะเบียน(ด่วนที่สุดที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว๑๒๙ ลว.๒๐ต.ค๔๙)
๑) วัสดุ- ลงบัญชีวสั ดุตามแบบที่ กวพ. กาหนดไว้เดิม
๒) วัสดุ ที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า ๑ ปี ซึ่งมีราคาต่อหน่วย
หรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และครุภณ
ั ฑ์
-ให้ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินตามแบบที่กรมบัญชีกลาง
กาหนดไว้ แต่วสั ดุที่มีอายุใช้งานนานที่ไม่ถึง ๕ พันบาท ไม่ตอ้ งคิดค่า
เสื่อมราคา
ตามส.ด่วนที่สุด ที่ กค๐๕๒๘.๒/ว ๓๓๕๔๕ ลว.๑๖ พ.ย. ๒๕๔๙

229
“ การตรวจสอบพัสดุประจาปี ” (ข้อ ๑๕๕)
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส.ราชการ /หรือ
หน.งาน ตามข้อ ๑๕๓ แต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบพัสดุทาหน้าที่ดงั นี้
โดยให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงาน นั้น
ซึ่งมิไช่เจ้าหน้าที่พสั ดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน
ผูไ้ ด้รบั แต่งตั้งจะทาการตรวจสอบพัสดุ
“งวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปี ก่อน ถึง ๓๐ กันยายนปี ปั จจุบนั ”
- โดยให้เริ่มตรวจในวันเปิ ดทาการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า: มีพสั ดุ ชารุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด
หรือไม่จาเป็ นต้องใช้งานต่อไป
ให้ตรวจเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่แต่งตั้ง
แล้วให้รายงานผลการตรวจสอบ ต่อผูแ้ ต่งตัง้ ๑ชุ ด / สตง. ๑ ชุ ด
230
การจาหน่ายพัสดุ (ข้อ ๑๕๗)
 พัสดุใดหมดความจาเป็ นในการใช้งาน /ใช้งาน
 จะสิ้นเปลือง ค่าใช้จา่ ยมาก
 ให้หส.ราชการ พิจารณาสั ่งจาหน่ายโดยวิธีใดวิธีหนึ่ ง ดังนี้
 ขาย/ขายทอดตลาด
(เว้นแต่ ได้มารวมกันไม่เกิน ๑ แสน ใช้วิธีตกลงราคา)
 แลกเปลี่ยน
 โอนให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น องค์การสาธารณกุศล
 แปรสภาพ หรือทาลาย
( ข้อ๑๖๐ เมื่อดาเนินการตามระเบียบแล้ว ให้จา่ ยออกจากทะเบียน)
231
ปั ญหาและแนวทางปฏิบตั ใิ นการจาหน่ายพัสดุ
เรือ่ งที่ ๑
• มติกวพ.๔๗/๔๘ ส่วนราชการ ก. จะขอขายรถยนต์ประจาตาแหน่ง
ให้แก่ขา้ ราชการโดยไม่ขายทอดตลาด หรือเปิ ดประมูลให้แก่
ข้าราชการภายในหน่วยงานก่อน ย่อมกระทาไม่ได้ ขัดระเบียบพัสดุ
เรื่องที่ ๒
มติกวพ.๕๒ วิธีการขายทอดตลาด-ให้คณะกรรมการฯประเมินราคา
ทรัพย์สินที่จะขาย จากราคาในท้องตลาดปั จจุบนั
เรื่องที่ ๓ การขายทอดตลาดครั้งหนึ่ง หากมีวงเงินที่ได้มารวมไม่ถึง
๑๐๐,๐๐๐ บาท ให้ขายโดยตกลงราคากันได้ ไม่ตอ้ งรอให้มีวงเงิน
ที่ได้มารวมกัน ๑ แสนบาท ก่อนจึงจะขายทอดตลาดได้
232
หนังสือเวียนวิธีปฏิบตั ิเรื่องการจาหน่ายพัสดุโดย
วิธีการขายทอดตลาด
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๒๕๗ ลงวันที่
๒๙ กรกฏาคม ๒๕๕๒)
๑.ให้ส่วนราชการดาเนินการจาหน่ายพัสดุโดยวิธีการ
ขายทอดตลาด
โดยถือปฏิบตั ติ ามแนวทางการขายทอดตลาด ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๕๐๙-๕๑๗
233
๒. การประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศขายทอดตลาด
ให้ส่วนราชการทาการประเมินราคาทรัพย์สิน โดยอาศัยหลักเกณฑ์
อย่างหนึ่งอย่างใดในการประกอบการพิจารณา ดังนี้
๒.๑ ราคาที่ซ้ ือขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่น
ของสภาพปั จจุบนั พัสดุน้นั ณ เวลาที่จะทาการขาย และ
ควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม
๒.๒ ราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งาน
รวมทั้งสภาพและสถานที่ต้งั ของพัสดุ
กรณีไม่มีจาหน่ายทั่วไป
ทั้งนี้ ให้อยูใ่ นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการในการ
พิจารณาตามหลักเกณฑ์ขา้ งต้น และให้คานึงถึงประโยชน์ของทาง
ราชการด้วย
234
การจัดหาพัสดุดว้ ยวิธีประกวดราคา
ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกาพัสดุ
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙
235
การเสนอราคาตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๔๙ ข้อ ๓
กาหนดให้หน่วยงานภาครัฐ ที่มีวิธีซ้ ือ/จ้าง วงเงิน
ตัง้ แต่ ๒ ล้านบาท ขึ้นไป ให้จดั หาด้วยวิธีการ
ประกวดราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
ตัง้ แต่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
ยกเว้นไม่ใช้กบั
การจ้าง
ที่ปรึกษา
๒. การจ้าง
ออกแบบ
และ ควบคุม
งาน
๓. ซื้อ/จ้าง
โดย
-วิธีพิเศษ
-วิธีกรณีพิเศษ
๔.ได้รบั
ยกเว้นจาก
กวพ.อ
(ข้อ๓)
(ปั จจุบนั )
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒
ผ่อนผันว่า จะไม่ประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์ ก็ได้
จนกว่าจะแก้ไขระเบียบฯ๔๙แล้วเสร็จ
(สาานั
กเลขาธิ
ด้
นวงเงิ
น การครม. ด่วนที่สุด ที่ นร๐๕๐๖/๑๘๒ ลว.๑๒ต.ค.๕๒
๑. ส่วนราชการ ฯ
๒-๕ ล้านบาท
๒. รัฐวิสาหกิจ
๒-๑๐ ล้านบาท
แต่ให้บนั ทึกแสดงเหตุผล/ความจาเป็ น /ปั ญหา/
อุปสรรคในการจัดหาตามระเบียบฯ ๒๕๔๙
แนบไว้ในรายงานขอซื้อ/จ้างด้วย
สรุป กระบวนการและขั้นตอนการจัดหาพัสดุ
ด้วยวิธีการทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
1
เมือ่ ทราบวงเงินทีจ่ ดั หาแล้ว(ได้รบั อนุมตั ิโครงการ)
งานก่อสร้าง –ออกแบบ/แต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดราคากลาง
2
ให้แต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา
ข้อยกเว้น (มติครม.๒๘ ก.ค.๒๕๕๒)
งบไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕ ไม่ตอ้ งแต่งตัง้ คณะกรรมการร่าง
ขอบเขตงาน(TOR)และร่างเอกสารประกวดราคา ก็ได้
238
การแต่งตัง้ คณะกรรมการร่างขอบเขตงาน(TOR)
และร่างเอกสารประกวดราคา
มติคณะรัฐมนตรี ๖ตุลาคม ๒๕๕๒ ผ่อนผันจนกว่าแก้ไขระเบียบเสร็จ
• หลัก ให้หวั หน้าหน่วยงานที่จดั หาพัสดุ แต่งตัง้ คกก.ร่าง TOR
จานวนกี่คนก็ได้ ตามความจาเป็ นและเหมาะสม
ข้อยกเว้น งบอื่นๆ มติครม.๖ตุลาคม ๒๕๕๒(ที่ นร๐๕๐๖/ว๑๘๒ลว.๑๒ ต.ค.๕๒)
ผ่อนผันจะแต่งตัง้ คกก.ร่างTOR ฯ หรือไม่แต่งตัง้ ก็ได้ ดังนี้:๑. ถ้าวงเงินจัดซื้อ/จัดจ้าง ไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท
๒. งานก่อสร้างที่มีแบบและข้อกาหนดที่เป็ นมาตรฐานไว้แล้ว
(แต่ยงั ต้องนา TOR และร่างประกาศประกวดราคาไปลงWeBsite )
หากแต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR
ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ เห็นชอบร่าง TOR ฯ
3
4 นาสาระสาคัญของร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา
ไปลงWebsite ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง
เพือ่ ให้ประชาชนวิจารณ์ ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
ข้อยกเว้น งบไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕
ข้อ๘(๑)จะไม่นาสาระสาคัญของร่างTOR และเอกสารประกวด
ราคาลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง
ให้สาธารณชนวิจารณ์ ก็ได้
หากลงเว็บไซต์ให้วิจารณ์ ถ้ามีผูว้ ิจารณ์ ร่าง TORฯ
5
ให้วิจารณ์โดยทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรผ่านทางเว็บไซต์ของ
หน่วยงานทีจ่ ดั หามระเบียบฯ ๔๙ ปกติ
240
6 หากเห็นควรปรับปรุงหรือไม่ปรับปรุงร่าง TOR
ให้นาไปลงWebsite ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง
เพือ่ ให้ประชาชนทราบอีกครั้งหนึง่ ซึ่งไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
7
หลังจากนั้นให้นาไปจัดทารายงานขอซื้ อ หรือขอจ้าง
เพือ่ ขอความเห็นชอบ กับหัวหน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หา
 และลงนามในประกาศประกวดราคา ตามแบบทีก่ วพ.อ กาหนด
พร้อมกับเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาฯ คัดเลือก
ผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง /คกก.ตรวจรับพัสดุ /ตรวจการจ้าง และ
ผูค้ วบคุมงาน/ แล้วนาไปลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน
และของกรมบัญชีกลางไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน อีกครั้งหนึ่ง
241
องค์ประกอบในการแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาฯ
มี ดังนี้ (มติครม. ๖ตุลาคม ๒๕๕๒ กาหนดใหม่)
วงเงินไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท
๑.ให้มีคณะกรรมการจานวน
ไม่นอ้ ยกว่า๓ คน
แต่ไม่เกิน ๗ คน
๒. จะมีบุคคลภายนอกร่วม
ด้วยหรือไม่ ก็ได้
๓. ให้มบี ุคลากรของ
หน่วยงานเป็ น กรรมการ
และเลขานุการ/จะแต่งตั้ง
ผูช้ ่วยเลขานุการหรือไม่ก็ได้
วงเงินเกิน ๑๐ ล้าน ขึ้ นไป
๑.ให้มีคกก.จานวนไม่นอ้ ยกว่า ๕ คน
แต่ไม่เกิน ๗ คนโดยจะต้อง
มีบุคคลภายนอกอย่างน้อย ๑ คน
เข้าร่วมเป็ นกรรมการด้วย
๒.ให้เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุหรือทีเ่ รียกชื่อ
อย่างอื่นในหน่วยงานนั้น
-เป็ นกรรมการและเลขานุการ
๓.จะแต่งตั้งผูช้ ่วยเลขานุการหรือไม่ ก็ได้
การคัดเลือกผูใ้ ห้บริการตลาดกลางตามรายชื่อข้างล่างนี้
ราคาค่าบริการให้คิดจากผูช้ นะราคา /อัตราตามวงเงินทีท่ าสัญญา
(หนังสือเวียน /ว ๑๐๘ ลว. ๒๗ มี.ค.๕๐)
๑. บริษทั กสท โทรคมนาคม
จากัด(มหาชน)
๒. บริษทั บีส ไดเมนชัน่ จากัด
๓. บริษทั พันธวณิช จากัด
๔. บริษทั ไอ ซี เอ็น ซิสเต็ม.
จากัด
๕. บริษทั ป๊อป เนทเวอรค์ จากัด
๖ .บริษทั ซอฟแวร์ลิงค์ จากัด
๗. บริษทั ฟรีอินเตอร์เน็ท จากัด
๘. บริษทั ดาต้าแมท จากัด
๙. บริษทั นิวตรอนการประมูลจากัด
๑๐. บริษทั อินเทลลิเจนท์ โซลูชนั ่
แอนด์เซอร์วิส จากัด
๑๑. บริษทั สเปซไวร์ จากัด
๑๒.บริษทั สวนกุหลาบเซอรารีซ่ ิล
จากัด
ในการจัดทาเอกสารประกาศประกวดราคา
และเผยแพร่เชิญชวน
๑. จัดทาประกาศและเอกสารประกวดราคา (ตามแบบกวพอ.กาหนด)
 กาหนดวัน เวลา/สถานที่ยื่นซองเทคนิค/(ณ ที่ทาการหน่วยงาน)
 กาหนดวันเสนอราคา/ข้อเสนอด้านเทคนิค/ หลักประกันซอง /
 เงินล่วงหน้า และเงื่อนไขการยึดหลักประกันซอง ไว้ในประกาศฯด้วย
๒ วิธีการเผยแพร่เอกสารเชิญชวน (เจ้าหน้าที่พสั ดุ)
(๑) นาสาระสาคัญของประกาศออกเผยแพร่ไม่นอ้ ยกว่า๓ วัน
นับแต่วนั ที่ได้ประกาศ ทาง Website ของหน่วยงาน/และ
ของกรมบัญชีกลาง /ปิ ดประกาศที่หน่วยงาน โดยเปิ ดเผย
(๒) วันแจกจ่ายหรือจาหน่ายเอกสารประกวดราคาให้เริ่มได้
ตัง้ แต่วันประกาศไม่นอ้ ยกว่า ๓วันนับแต่วันประกาศในWebsite
วิธีกาหนดระยะเวลารับซองข้อเสนอทางด้านเทคนิค
ในประกาศประกวดราคา
• จะต้องกาหนดให้ผูป้ ระสงค์จะเข้าเสนอราคา มีระยะเวลา
เพียงพอในการจัดทาข้อเสนอทางด้านเทคนิค
• ทั้งนี้ ให้มีระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน แต่ไม่เกิน ๓๐ วัน
นับแต่วนั สุดท้ายของการแจกจ่ าย หรือจาหน่ายเอกสาร
ประกวดราคา
• ให้กาหนดวันรับซองข้อเสนอทางด้านเทคนิคเพียงวันเดียว
เท่านัน้
8
ในวันรับซองข้อเสนอทางด้านเทคนิค
ผูเ้ สนอราคา-ยืน่ ซองข้อเสนอด้านเทคนิค ต่อคณะกก.ประกวดราคา
พร้อมกับหนังสือแสดงเงื่อนไขการซื้อหรือการจ้าง (สัญญา ๓ ฝ่ าย )
และหลักประกันซอง
 หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคา เมื่อรับซอง ให้ถือปฏิบต
ั ติ าม
ระเบียบฯพัสดุ ปี ๓๕ ข้อ ๔๙ (๑)(๒)(๓)และ (๔)หรือของหน่วยงานนั้นๆ
๑) ลงทะเบียนรับซอง/ ลงชื่อกากับ/ ตรวจหลักประกันซอง
ตรวจเอกสารตามบัญชีรายการเอกสารของผูเ้ สนอราคา
๒) คัดเลือกคุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคา ตามเงื่อนไขที่ระบุใน
เอกสารประกวดราคา และที่มีคณ
ุ ภาพ/เป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการ
เมื่อตรวจเสร็จให้แจ้งผูป้ ระสงค์เสนอราคาทราบแต่ละรายเฉพาะของตน
โดยไม่เปิ ดเผยชื่อต่อสาธารณชน(แบบแจ้งผลบก๐๐๔–๑(ผนวก ๑๐) )
หลักประกันซองที่ยนื่
กรณีเป็ นหนังสือค้าประกันของธนาคาร/
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์/พันธบัตรรัฐบาล
หนังสือคา้ ประกันซอง
 จะต้องมีระยะเวลาคา้ ประกัน เริ่มตัง้ แต่วนั ยื่นซอง
ข้อเสนอทางด้านเทคนิค ครอบคลุมไปจนถึงวันสิ้นสุดวันยืน
ราคา
วันยื่นซอง
วันเคาะราคา(ยืนยันราคาสุดท้าย)
สิ้นสุดวันยืนราคา (
)
(ส.เวียน ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๐๘.๔/ว ๑๒๔ ลว. ๙ เม.ย. ๒๕๕๐)
หลักเกณฑ์ ลงนามในหนังสือแสดงเงือ่ นไขการซื้ อหรือการจ้าง
(สัญญา ๓ ฝ่ าย)
ผูเ้ สนอราคา
ผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง หน่วยงานที่จดั หาพัสดุ
ประธานกรรมการประกวดราคา
ลงชื่อ/และยืน่ ในวันยืน่ ซอง ลงชื่อในวันเสนอ ลงชื่อในวันเสนอราคา
เทคนิค และคกก.ประกวด ราคา แต่ ก่อน
- แต่ ก่อนเวลาเสนอราคา
ราคาเก็บไว้ /นาไปในวันเสนอ เวลาเสนอราคา
 ก่ อนเสนอราคาเมื่อลงชื่ อครบ ๓ ฝ่ าย แล้ ว ให้ คณะกรรมการประกวดราคา
แจกจ่ ายให้ ผู้ให้ บริการตลาดกลาง และผู้มีสิทธิเสนอราคา / ก่อนเวลาเสนอราคา
แบบตัวอย่ าง – Down Load ได้ จาก www.gprocurement.go.th.
การอุทธรณ์
กรณี ผเ้ ู สนอราคาไม่ผา่ นการคัดเลือกคุณสมบัติเบือ้ งต้น
9
ผูเ้ สนอราคาที่
ไม่ผา่ นการ
คัดเลือก
คุณสมบัติ
เบือ้ งต้น
มีสิทธิยนื่ อุทธรณ์ต่อหัวหน้าหน่วยงานที่
จัดหาพัสดุ ข้อ ๙(๓)
(กรอกแบบ บก ๐๐๔ – ๒ ผนวก ๑๑)
ยืน่ ภายใน ๓ วัน นับแต่วนั ได้รบั แจ้ง
หากยืน่ เกินกาหนด ๓ วัน(ไม่พิจารณา
อุทธรณ์)
ให้หน่ วยงานที่จดั หาหยุดดาเนินงาน
ในระหว่างการพิจารณาอุทธรณ์
10
ให้หวั หน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ มีหน้าที่
พิจารณาอุทธรณ์ กรณีไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
๑. ต้องแจ้งผลให้ผูอ้ ุทธรณ์ทราบ แต่ละราย ภายในเวลา ๗ วัน
นับแต่วนั ได้รบั แจ้งอุทธรณ์(กรอกแบบแจ้งผล บก ๐๐๔ – ๑)
๒.
ถ้าไม่แจ้งผลการพิจารณา ภายใน๗ วัน
ให้ถอื ว่า อุทธรณ์ฟังขึ้ น
๓. คาวินิจฉัยถือเป็ นทีส่ ุด ในชั้นฝ่ ายบริหาร
๔. ถ้าอุทธรณ์ฟังขึ้ น ให้แจ้งคณะกรรมการประกวดราคา
เพิม่ รายชื่อเป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคา/และแจ้งผูอ้ ุทธรณ์
ทราบ(กรอกแบบ บก ๐๐๐๔ – ๓ ผนวก ๑๒)
11 กรณีมีผผู ้ ่านคุณสมบัตเิ บื้องต้นรายเดียว
 ปกติ ให้คณะกรรมการฯ เสนอยกเลิก
และกาหนดวัน/เวลา เริม่ ต้นเพื่อดาเนินการใหม่
 ข้อยกเว้น มติครม.เมื่อ๖ตุลาคม ๒๕๕๒ ประกอบหนังสือเวียน
ของ กวพ.อ/.ว ๓๐๒ ลว ๒๑ กค ๒๕๔๙ ผ่อนผัน ดังนี้
๑. ให้ตอ่ รองราคาได้
-หากคณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจ้างผูท้ ี่ผ่าน
คุณสมบัตเิ บื้องต้นรายเดียวนั้น ให้ต่อรองราคาได้
๒. หากยกเลิกเพื่อเริ่มต้นดาเนินการจัดหาใหม่ ผ่อนผันดังนี้:กรณีไม่เปลี่ยนTOR และร่างเอกสารประกวดราคา ให้ใช้รา่ งเดิมได้
ถ้าไม่เปลี่ยนชื่อคณะกก.ประกวดราคาตามข้อ๘(๒)
ให้ คณะกก.ชุดเดิมดาเนินการต่อไปได้
12
หน้าทีค่ ณะกรรมการประกวดราคา
ในการ “ แจ้งนัดหมาย” ผูท้ ีผ่ ่านการคัดเลือก
คุณสมบัติเบื้ องต้นให้เข้าเป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
แจ้งกาหนดวัน /เวลา /สถานทีเ่ สนอราคา
ให้ผูม้ ีสิทธิเสนอราคาทราบ (ต้องเป็ นวัน/ เวลาราชการ
แต่กระบวนการเสนอราคาจะสิ้ นสุดนอกเวลาราชการก็ได้)
(กรอกแบบ บก. ๐๐๕)
พร้อมกับส่งใบแบบแจ้งชื่อผูแ้ ทนให้แก่ผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
ให้นามายืน่ ในวันเสนอราคาเพือ่ เข้าสู่กระบวนการเสนอราคา
(กรอกแบบ บก.๐๐๖ ) (ภาคผนวก ๑๔)
13
หน้าทีค่ ณะกรรมการประกวดราคา
ส่งมอบข้อมูลเบื้ องต้นของผูม้ ีสิทธิเข้าสู่กระบวนการ
เสนอราคา ให้ผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง
ก่อนวันเสนอราคา ๒ วันทาการ
 ให้คณะกรรมการประกวดราคา

กรอกแบบ บก.๐๒๑ (ผนวก ๒๑)ส่งรายชื่อผูม้ ีสิทธิเสนอ
ราคาไปให้ผูใ้ ห้บริการตลาดกลางเพือ่ :-
(๑)ให้เตรียมระบบการประมูล
(๒)ออกUsername, Password ของผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
14
หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคา
ในวันเสนอราคา
คณะกรรมการประกวดราคา ทาหน้าที่ในวันเสนอราคา ดังนี้
๑. คณะกรรมการต้องมาสถานที่เสนอราคาไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ง
๒.
รับมอบ Username , Password จากตลาดกลาง
๓.
เมื่อถึงกาหนดเวลาลงทะเบียน จัดให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคา
ลงทะเบียนเข้าเสนอราคา(ห้ามให้มีการลงทะเบียนก่อนถึงเวลา)
๔. ตรวจสอบเอกสาร ใบมอบอานาจ /บัตรประชาชน
ของผูเ้ สนอราคา หรือผูแ้ ทน และมอบ Username , Password
๕. แจ้งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ นาผูม้ ีสิทธิเสนอราคาไปห้องเคาะราคา
หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคา
ในวันเสนอราคา (ต่อ)
๖. กรณีผเู ้ สนอราคามาไม่ทนั /หรือไม่สง่ ผูแ้ ทนมา
ลงทะเบียนในวันเสนอราคา
ให้ประธานกรรมการฯ
๑) ปิ ดประกาศรายชื่อแจ้งหมดสิทธิเสนอราคา
หน้าห้องเสนอราคา
๒) มีหนังสือแจ้งให้ทราบต่อไป
15
ในวันเสนอราคา (ต่อ)
หากมีผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว
ในขั้นตอนการเสนอราคาตามข้อ ๑๐(๑) เมือ่ ถึงกาหนดเวลา
เริม่ การเสนอราคา หากมีผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว
หลักปฏิบตั ิ ปกติให้คณะกรรมการประกวดราคาเสนอยกเลิก
ข้อยกเว้น ครม.เมือ่ ๖ ต.ค.๕๒ผ่อนผันให้ดาเนินการดังนี้ :ให้คกก.ประกวดราคาพิจารณา หากเห็นว่าไม่ควรยกเลิก
ให้ใช้วธิ ีต่อรองราคากับรายเดียวนัน้ แล้วเสนอหัวหน้า
หน่วยงานพิจารณาต่อไป
16
เมื่อสิ้นสุดการเสนอราคา
๑.ให้คณะกรรมการประกวดราคาประชุมและลงมติในวันนั้นทันที
๒.ให้รายงานผลพร้อมทั้งเสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการในวัน
ทาการถัดไป นับจากวันสิ้นสุดการเสนอราคา(รายงานผลครั้งแรก)
 ข้อผ่อนผัน
หนังสือเวียนกรมบัญชีกลางที่ กค(กวพอ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๑๐๘ ลว.๑๙
เมษายน ๒๕๕๐
หากยังมีความจาเป็ นต้องรวบรวมรายละเอียด ให้พิจารณาแจ้ง
รายงานให้หัวหน้าหน่วยงานที่จดั หาพัสดุพิจารณาอีกครัง้ ภายใน ๕
วันทาการถัดไป นับจากวันที่ได้รายงานครัง้ แรก
17
เจ้าหน้าที่ของรัฐ (ระเบียบข้อ ๑๐(๑))
คือผูไ้ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการประกวดราคา
ตามจานวนผูม้ ีสิทธิเสนอราคา ให้ทาหน้าทีใ่ นวันเสนอราคา
ก่อนถึงวันเสนอราคา คณะกรรมการประกวดราคาจะต้องเสนอแต่งตั้ง
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐเพือ่ ให้ทาหน้าทีใ่ นวันเสนอราคาดังนี้ :๑.นาผูม้ ีสิทธิเสนอราคาไปยังสถานทีท่ ีก่ าหนด(ห้องเสนอราคา)แต่ละราย
๒.เมือ่ ประจาอยู่ในสถานที่ ต้องไม่ใช้เครือ่ งมือสือ่ สารใด ๆ
๓.ในระหว่างทดสอบระบบของผูม้ ีสิทธิเสนอราคา หากมีปัญหาของการ
ทดสอบระบบ ให้รีบไปรายงานต่อคณะกรรมการประกวดราคาทันที
๔. ต้องสังเกตการณ์ /ดูแล การเสนอราคาให้เป็ นไปโดยเรียบร้อย หากผู ้
เสนอราคาแสดงพฤติการณ์ทีท่ าให้การเสนอราคาไม่เรียบร้อย
หรือไม่เป็ นธรรมให้รีบรายงานต่อประธานคณะกรรมการฯ โดยด่วน
18
หน้าที่ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา
๑. ก่อนวันเสนอราคา ต้องศึกษาการใช้โปรแกรม/ทดลองการใช้
โปรแกรมของตลาดกลางDownloadได้จากwww.gprocurement.go.th
๒. ในวันเสนอราคา ต้องมาลงทะเบียนต่อคณะกรรมการประกวดราคา
ให้ทนั เวลาพร้อมรับสัญญา ๓ ฝ่ าย)
-หากมาไม่ทนั เวลาลงทะเบียน จะถูกยึดหลักประกันซอง
๓. ให้ผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคายืน่ แบบใบแจ้งชื่อผูแ้ ทนมาเป็ นผูเ้ ข้าเสนอ
ราคา( บก.๐๐๖) ได้ไม่เกินรายละ ๓ คนและส่งสาเนาบัตรประชาชน
ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา
๔. กรณีมอบอานาจ /ส่งใบมอบอานาจ ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา/ สาเนา
บัตรประชาชนของผูร้ บั มอบอานาจ ห้ามเปลีย่ นหรือเพิม่ ผูแ้ ทน
แต่ถอนผูแ้ ทนได้
หน้าที่ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา(ต่อ)
๔.รับ Username, Password แล้วให้เข้าประจาที่ โดยแยกจาก
ผูเ้ สนอราคารายอื่น
๕.ห้ามนาเครือ่ งมือสือ่ สารเข้าห้องเสนอราคา/ห้ามติดต่อกับ
บุคคลใดๆ ไม่ว่าด้วยวิธีใด
๖.ก่อนเสนอราคา ๑๕ นาที ให้เข้าทดสอบระบบก่อน
 หากมีปัญหาให้แจ้งเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีป่ ระจาอยู่ ณ สถานทีน่ ัน้
เพือ่ นาไปรายงานให้คณะกรรมการทราบ
หน้าที่ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคาในวันเสนอราคา(ต่อ)
๑. เมื่อส่งผูแ้ ทนมาลงทะเบียน ตามวัน เวลา/สถานที่ที่กาหนด
แล้วต้อง LOG- IN เข้าสูร่ ะบบ
๒. ถ้าLOG -IN แล้ว ต้องเสนอราคา และการเสนอราคาต้องเสนอ
ไม่สูงกว่า/หรือ เท่ากับราคาเริ่มต้นการประมูล
๓. เมื่อสิ้นสุดการเสนอราคาจะต้องลงชื่อยืนยันราคาสุดท้าย
ในการเสนอราคา ในแบบบก.๐๐๘ ที่กรรมการนามามอบให้
จึงจะออกจากห้องเสนอราคาได้
หากไม่ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขดังกล่าวจะถูกยึดหลักประกันซอง
 ให้กาหนดหลักเกณฑ์น้ ีไว้ในเอกสารประกวดราคาซื้อ/จ้างและ
หนังสือแสดงเงื่อนไข การซื้อการจ้างด้วย (หนังสือสัญญา๓ ฝ่ าย)
(หนังสือเวียน กวพ.อ.ด่วนที่สดุ กค ๐๔๐๘.๓/๓๐๒ ลว. ๒๑ ก.ค.๒๕๔๙
19
หน้าที่ของผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง
มอบ Username Passwordของผูม้ ีสิทธิเสนอราคาให้ประธาน
คณะกรรมการก่อนลงทะเบียน เพื่อมอบให้ผเู ้ ข้าเสนอราคา
เตรียมระบบให้พร้อม ไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ นาที เพื่อให้ผเู ้ ข้าเสนอราคา
ทดสอบก่อนเสนอราคาจริง/มี บุคลากรที่มีความรูด้ า้ น IT ประจาอยู่
ณ ห้องคณะกรรมการฯ /วางตัวเป็ นกลาง /รับผิดชอบ
รักษาประโยชน์ของรัฐ,โปร่งใส/ยุตธิ รรม รอบคอบ/ไม่ละทิ้งหน้าที่
ไม่มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์รว่ มกันกับผูเ้ สนอราคา,รับฝาก
เครื่องมือสื่อสาร,/ไม่รบั ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด
20
หัวหน้ าหน่ วยงานที่จดั หา รับแจ้งรายงานผลจาก
คณะกรรมการประกวดราคา
ไม่เห็นชอบมติ คกก.ให้คกก.
ชี้แจงภายใน ๓วัน.
ไม่เห็นชอบ –สัง่
ยกเลิกได้(ข้อ๑๕.๓)
เสนอผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ
สังซื
่ ้อ/สังจ้
่ างตามระเบียบฯ
ถ้าเห็นชอบ
เห็นชอบ
ไม่เห็นชอบ
ตามเสนอ
ให้ คณะกรรมการฯ แจ้งผลให้
ผูเ้ สนอราคาทุกรายทราบ โดย
กรอกแบบ บก.๐๑๐-๑ ผนวก ๑๘
เห็นชอบตามมติ คกก.
เสนอผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ สงซื
ั ่ ้อ/สังจ้
่ างรายนัน้
แจ้งผูเ้ สนอราคาทุกรายทราบผล
ให้ คกก. ชี้แจง
ไม่เห็นชอบอีก
เห็นชอบตามคาชี้แจง
แจ้งผลให้ผเู้ สนอราคาทราบ สั ่งยกเลิก
ทุกราย โดยกรอกแบบ
บก. ๐๑๐- ๑
21
การแจ้งผลการพิจารณา หรือ
แจ้งยกเลิกการประกวดราคา (แนวทางข้อ๑๕)
แจ้งยกเลิก
แจ้งผลการคัดเลือก
•เมื่อผูม้ ีอานาจอนุมตั ใิ ห้สั ่งซื้อหรือสั ่งจ้าง/หรือ สั ่งยกเลิกการเสนอราคา
ให้คณะกรรมการประกวดราคา โดยฝ่ ายเลขานุการ นาประกาศ
แจ้งผล หรือแจ้งยกเลิก ไปลงในเว็ปไซต์ของหน่วยงานและ
www.gprocurement.go.th ของกรมบัญชีกลาง ด้วย ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
ถ้าภายใน ๓ วัน นับแต่วนั ที่ประธานกก.แจ้งผลการเสนอราคา
ตามแบบ บก ๐๑๐-๑ ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาทุกรายทราบแล้ว
หากไม่มีการอุทธรณ์ ให้ดาเนินการตามระเบียบฯพัสดุของหน่วยงาน
นัน้ ๆ ตามขัน้ ตอนต่อไป เช่น แจ้งให้มาทาสัญญา เป็ นต้น
22
การอุทธรณ์ ผลการตัดสินผูช้ นะราคา
ผูเ้ ข้าสูก่ ระบวนการเสนอราคา/ถ้าไม่เห็นด้วยกับผลการเสนอราคา
ให้อุทธรณ์ตอ่ กวพ.อ. ภายใน ๓ วันนับแต่ได้รบั แจ้งผล
(แบบอุทธรณ์บก.๐๑๐-๓ ภาคผนวก๒๐ )
กวพ. อ. ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐วัน
ระหว่างอุทธรณ์ ให้กวพ.อ. แจ้งระงับการดาเนินการไว้ก่อน
มติ กวพ. อ. เป็ นที่สุดของฝ่ ายบริหาร
อุทธรณ์ฟังขึ้น
อุทธรณ์ฟังไม่ข้ ึน
สั ่งให้เริ่มกระบวนการเสนอ
ราคาใหม่ ในขั้นตอนใดก็ได้
ให้แจ้งหน่วยงาน
ดาเนินการต่อไป
ตัวอย่างปั ญหา
และแนวทางการแก้ไข
ปั ญหาตามคาวินิจฉัยของ
คณะกรรมการ กวพ.อ.
266
ราคาที่ให้ใช้เริ่มต้นการประมูล
“ เรียกว่า ราคาสูงสุด ”
(ตามระเบียบฯ ข้อ ๓) ประกอบหนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง
ที่ กค๐๔๐๘.๓/ว ๕๙ ลงวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
ข้อ ๑๓ กาหนดว่า
ราคากลาง
ให้ใช้เป็ นราคาเริ่มต้น
การประมูล
สาหรับงานก่อสร้าง
วงเงินงบประมาณที่มีอยู่
ให้ใช้เป็ นราคาเริ่มต้นการประมูล
สาหรับงานจัดซื้อ/งานจ้างทั ่วไป
267
งานจ้างก่อสร้าง
ให้ใช้ราคากลางเป็ นราคาเริ่มต้นการประมูล
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๐
ระบียบฯข้อ๑๓งานก่อสร้างให้ใช้
ราคากลางเป็ นราคาเริ่มต้นการ
ประมูล
เนื่องจากเป็ นราคาที่ได้จากการ
คานวณตามที่ครม.กาหนด ซึ่ง
ทางราชการยอมรับว่า ไม่สูงจน
ผูป้ ระกอบการได้กาไรมากเกิน
ควรและไม่ต ่าจนผูป้ ระกอบการ
ไม่สามารถดาเนินการก่อสร้างได้
เมือ่ กรม ช. ใช้วงเงิน
งบประมาณทีไ่ ด้รบั เป็ นราคา
เริม่ ต้นการประมูล
จึ งเป็ นการปฏิบตั ิทีไ่ ม่ถูกต้อง
ตามระเบียบ
แต่ปรากฏว่า ผูเ้ สนอราคาราย
ตา่ สุด เสนอราคาตา่ กว่าวงเงิน
งบประมาณและตา่ กว่าราคากลาง
ซึ่งไม่เสียประโยชน์ราชการ จึ ง
อนุมตั ิผ่อนผันให้เฉพาะราย
268
(ปั ญหา) ราคาที่ใช้เริม่ ต้นการประมูล ไม่ตรงกับ
ราคาที่ประกาศไว้ในเอกสารประกวดราคา
(ตอบหารือเมื่อ ๒๒ มี.ค. ๕๓)
ส่วนราชการ ต. จ้างก่อสร้างเรือนแถว
ในประกาศกาหนดว่า
แต่ในเอกสารประกวดราคา
ราคากลางงานก่อสร้าง
กาหนดว่าราคาที่ใช้เริ่มต้น
๓,๔๖๐,๐๐๐
การประมูล ๓,๔๐๐,๐๐๐
มติกวพ.อ. ถือว่า ก่อนการเสนอราคา ผูเ้ สนอราคารับทราบเงื่อนไขแล้ว
จึงตัดสินใจยื่นซองเทคนิค แม้ไม่เป็ นไปตามระเบียบฯ แต่มีผูเ้ สนอราคา
ต ่ากว่าราคากลาง/งบประมาณ- ไม่ทาให้ราชการเสียประโยชน์ เมื่อทา
สัญญาไปแล้ว จึงอนุ มตั ผิ ่อนผันให้เป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย
อย่างไรก็ดี โอกาสต่อไปให้ปฏิบตั ติ ามแนวทางระเบียบฯโดยเคร่งครัด
269
งานก่อสร้างใช้วงเงินงบประมาณเริ่มต้นการประมูล
(หนังสือตอบหารือกวพ.อ.เมื่อ ๑๗ มี.ค. ๕๓ Rf.8344 )
จังหวัด น. จ้างก่อสร้างอาคาร
ใช้วงเงินงบประมาณ
ซึ่งราคากลาง มีวงเงิน
๑๑.๕๓๐ ล้านเป็ นราคา
๑๑.๖๒๙ ล้านบาท
เริ่มต้นประมูล
มติกวพ.อ. ปรากฏว่ารายตา่ สุดเสนอราคาที่ ๑๑.๔๘๕ ล้านบาท ตา่ กว่า
ราคากลางและวงเงินงบประมาณ – เมื่อไม่มีผใู ้ ดคัดค้าน และไม่ทาให้
ราชการเสียประโยชน์ จึงอนุ มตั ผิ อ่ นผันเป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย
อย่างไรก็ดี โอกาสต่อไปให้ปฏิบตั ติ ามแนวทางระเบียบฯโดยเคร่งครัดด้วย
270
ระเบียบฯ พ.ศ.๒๕๔๙ ข้อ ๕
กาหนดให้ใช้
ระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ หรือ
ระเบียบฯพัสดุของหน่วยงานที่จดั หา
ควบคูก่ นั ไปด้วย
271
แนววินิจฉัย เรือ่ ง การคิดหลักประกันซอง
ให้คดิ มูลค่าเป็ นจานวนเต็มในอัตราร้อยละ ๕ ของวงเงิน
หรือราคาพัสดุที่จดั หาในครั้งนั้น มิใช่คดิ จากราคากลาง
มติกวพ.อ. เมื่อ ๖ ม.ค.๒๕๕๓ (Rf.271)
ส่วนราชการ พ. จ้างก่อสร้าง
คิดหลักประกันซองร้อยละ ๕ ของราคากลาง
จึงเป็ นการปฏิบตั ทิ ี่ไม่ถูกต้อง
เนื่องจาก ในการคิดหลักประกันซองจะต้องถือปฏิบตั ติ ามระเบียบ
พัสดุฯ พ.ศ.๒๕๓๕ ข้อ ๑๔๒ วรรคหนึ่ง ที่กาหนดให้คดิ มูลค่าเป็ น
จานวนเต็มในอัตราร้อยละ ๕ ของวงเงิน หรือราคาพัสดุที่จดั หาครั้งนั้น
เว้นแต่ การจัดหาที่มีความสาคัญพิเศษ จะกาหนดสูงกว่าได้
แต่ไม่เกินร้อยละ ๑๐ “ มิใช่คดิ จากราคากลาง ”
272
เรือ่ ง การตรวจสอบคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา
แนววินิจฉัย เมื่อ ๒๘ พ.ย.๒๕๕๑
(Rf.31793)
โรงพยาบาล ฉ. จ้างก่อสร้างอาคารผูป้ ่ วยใน ๑๔ ชัน้ วงเงิน ๓ ร้อยล้านบาท
เศษกาหนดเงื่อนไขให้ผเู ้ สนอราคา เสนอบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา
ผูเ้ สนอราคาเสนอบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา(BOQ)
ไม่ตรงตามบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาของจังหวัด
ดังนัน้ การพิจารณาว่า ผูเ้ สนอราคาแสดงปริมาณวัสดุและราคาแตกต่าง
ไปจากของจังหวัด ฉ จะเป็ นการผิดเงื่อนไขในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญ ที่
จะต้องตัดสิทธิเสนอราคา หรือไม่ผิดเนื่องจาก เป็ นส่วนที่ไม่ใช่สาระสาคัญ
ย่อมเป็ นดุลยพินิจและอานาจของคณะกรรมการประกวดราคาที่จะเป็ น
ผูพ้ ิจารณาผ่อนปรนได้ ไม่อยูใ่ นอานาจของกวพ. อ.ที่จะพิจารณา
273
เรือ่ ง การพิจารณาคุณสมบัติเรือ่ งผลงาน
แนววินิจฉัยเมื่อ ๙ มี.ค.๒๕๕๒ (Rf.04939)
โรงพยาบาล ม.ประกวดราคาซื้อ -ร้าน บ. ยื่นหนังสือรับรอง
วัสดุอาหาร วัตถุดิบ และเครือ่ ง
ผลงานที่โรงเรียน ก. ออกให้
บริโภค ๖ หมวด ๓๒๐ รายการ
โดยมิได้แนบสาเนาสัญญา
ในประกาศฯกาหนดเงื่อนไขว่า มาด้วย จึงไม่ขดั ต่อประกาศฯ
ต้องเคยมีผลงานการขายอาหาร เนื่องจากในประกาศฯ กาหนด
สด,แห้ง ฯ จากส่วนราชการ หรือ
เงื่อนไขการให้ ย่ นื เอกสารรับรอง
รัฐวิสาหกิจมาแล้วไม่ตา่ กว่ า ๒ ล้าน ผลงานไว้ อย่ างกว้ างขวาง ดังนัน้
ในเวลาไม่เกิน ๓ ปี นับถึงวันยื่นซอง เมื่อร้าน บ มิใช่ผเู ้ สนอราคา
-และต้องมีหนังสือรับรองของ
รายตา่ สุด การอุทธรณ์ผลการ
หน่วยงานนั้น หรือ สาเนาสัญญา พิจารณา ย่อมไม่มีผลทาให้
ซื้อขายมาแสดง
เปลี่ยนผูช้ นะราคาแต่อย่างใด
274
เรือ่ ง การร่น เลื่อน ระยะเวลาการเสนอราคา
ในวันเสนอราคา (Rf31446; ลว.๒๕ พ.ย.๒๕๕๑)
►หลักการ
หนังสือเวียนกรมบัญชีกลาง ที่
กค(กวพอ)๐๔๐๘.๔/๓๖๕ ลว.
๒๒ ต.ค.๒๕๕๐ กาหนดให้
คณะกก.ประกวดราคาตาม
ระเบียบฯ ๒๕๔๙ปฏิบตั หิ น้าที่
เช่นเดียวกับคณะกรรมการรับ
และเปิ ดซองประกวดราคา
ตามระเบียบพัสดุฯ ๒๕๓๕
คาวินิจฉัย กวพอ.
เนื่องจาก ในวันเสนอราคา
เทียบได้กบั วันเปิ ดซองราคา
ตามระเบียบฯ๒๕๓๕ ข้อ ๔๘
ดังนัน้ ระเบียบนี้ เมื่อถึง
กาหนดวัน เวลา ห้ามมิให้ ร่น
เลื่อน หรือเปลี่ยนแปลง
กาหนดเวลาทดสอบระบบ
และกาหนดเวลาการเสนอ
ราคา
275
การร่น เลื่อน ระยะเวลาการเสนอราคา (ต่อ)
ปั ญหา
หน่วยงาน ธ.ตรวจเอกสาร
ใบมอบอานาจของผูเ้ สนอราคา
ผิดพลาดว่า ผูล้ งนามมอบ
อานาจไม่ใช่ผมู ้ ีอานาจ
จึงเลื่อนกาหนดเวลาเสนอ
ราคา เพื่อให้ผูม้ ีสิทธิเสนอ
ราคาทาเอกสารให้ถูกต้อง
แต่ขอ้ เท็จจริง หนังสือมอบ
อานาจถูกต้องตัง้ แต่แรกแล้ว
มติกวพ.อ.
เมื่อการประกวดราคา
ดาเนินการไป จนเสร็จสิ้นและได้
ตัวผูเ้ สนอราคารายตา่ สุดไปแล้ว
ประกอบกับการเลื่อนเวลา
ทดสอบระบบ และเวลาเสนอ
ราคาออกไป ก็ไม่เป็ นเหตุให้ผูม้ ี
สิทธิเสนอราคาเกิดการได้เปรียบ
เสียเปรียบกัน เพราะทัง้ ๒ ราย
รับทราบและไม่โต้แย้ง
กวพอ.จึงอนุ มตั ผิ อ่ นผันการ
ให้เฉพาะราย
276
การขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม
กรณีแต่งตัง้ ผูแ้ ทนบริษทั เป็ นคณะกรรมการร่าง TOR/
บริษทั ฯของผูน้ ้นั จะเข้าเสนอราคาไม่ได้(Rf 10225; ลว.๓๑ มี.ค. ๕๓)
ระเบียบข้อ ๘(๑)กาหนด
มติกวพ.อ.
เรือ่ งแต่งตัง้ คณะกรรมการ
ร่าง TORว่าให้เป็ นดุลย
พินิจของหน่วยงานที่จดั หา
ปั ญหา
จังหวัด ร. แต่งตั้ง
เจ้าหน้าที่ของบริษทั ToT
มาร่วมเป็ น คกก.ร่าง TOR
จัดซื้อกล้องวงจรปิ ด
(cctv)พร้อมติดตั้ง
การทีบ่ ริษทั ToT มาร่วมเสนอราคา
ด้วย เมื่อระเบียบฯ ๔๙ ไม่มี
ข้อกาหนดเรือ่ งการแข่งขันราคากัน
อย่างเป็ นธรรมไว้ จึงต้องนาระเบียบฯ
๓๕ ข้อ ๑๕ ทวิและ ๑๕ ฉ มาใช้ดว้ ย
จึงถือได้ว่า เป็ นการกระทาการอัน
เป็ นการขัดขวางการแข่งขันราคากัน
อย่างเป็ นธรรม ย่อมตัดรายชื่อออกจาก
การประกวดราคาครั้งนี้ได้
277
มติคณะรัฐมนตรี ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ ผ่อนผัน
๒.ด้านวิธีจดั หาพัสดุ ให้ใช้วิธีอื่นได้
การจัดหาพัสดุที่มีวงเงินไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท
๑.หากไม่มีผูเ้ ข้าเสนอราคา หรือ
๒. มีผูม้ ีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว หรือ
๓. มีผูม้ ีสิทธิเสนอราคาหลายราย แต่มาเสนอราคาเพียงรายเดียว
 และกรณีตามข้อ ๒.,๓ คณะกรรมการประกวดราคาได้ต่อรอง
ราคา รายนัน้ แล้วไม่ได้ผล
 ให้จดั หาโดยวิธีอื่น ตามระเบียบฯพัสดุทีห่ น่วยงานนั้นๆ
ถือปฏิบตั ิได้
การต่อรองราคากับผูเ้ สนอราคารายเดียว
หากไม่ยอมลดราคาจากวงเงินเริ่มต้นการประมูล
ให้ถอื ว่า ต่อรองไม่ได้ผลตามมติครม. ๖ ต.ค.๕๒
(แนววินิจฉัย กวพ.อ. พ.ค.๕๓)
กรณีคกก.ประกวดราคาได้ใช้วธิ ีต่อรองราคากับ
รายเดียวนัน้ แล้ว ถ้าผูเ้ สนอราคารายเดียวนัน้ ไม่ยอม
ลดราคาจากวงเงินเริ่มต้นการประมูล ถือว่า การต่อรอง
ไม่ได้ผล จึงไม่เป็ นไปตามมติ ครม. เมือ่ ๖ ต.ค.๒๕๕๓
กรณีนี้ จึงต้องยกเลิกและดาเนินการใหม่
จะเรียกรายเดียวนัน้ มาทาสัญญาไม่ได้
279
การจัดทาประกาศ
ประกวดราคา
ทางอิเล็กทรอนิกส์
280
กรณีหน่วยงานลงร่าง TOR.ใน Website ให้วิจารณ์ไปแล้ว
หากมีการแก้ไข TORใหม่ จะต้องนาไปลง website อีก
• มติ กวพอ. ครั้งที่ ๖/๒๕๕๐
• ส่วนราชการ ก.ซื้ อรถบรรทุกดีเซล จานวน ๓๙ คัน วงเงิน ๒๕ ล้านเศษ
• คณะกรรมการฯนาTORไปลงWebsite แล้ว แต่ก่อนนาไปประกาศ
หัวหน้าส่วนราชการเห็นควรแก้ไข TOR โดยเพิม่ คุณลักษณะของสิง่ ของ
ติดในรถ เนือ่ งจากต้องใช้ภารกิจในการป้องกันรักษาป่ าเป็ นหลัก
• การแก้ไข TOR เป็ นดุลพินจิ ของหัวหน้าส่วนราชการ สามารถทาได้
แต่ตอ้ งให้สอดคล้องกับใบอนุมตั ิเงินประจางวดของสานักงบประมาณ
• แนวทางแก้ไข เมือ่ แก้ไข TOR แล้ว ต้องนาไปลงWebsiteให้
สาธารณชนวิจารณ์อีกครั้ง
281
ในประกาศประกวดราคา
ต้องกาหนดวันเสนอราคา(เคาะ)ไว้ในประกาศด้วย
มติกวพ.อ.
ระเบียบฯ๔๙ ประกอบ
หนังสือเวียน ว ๑๒๔ ลว.๙
เมษายน ๕๐ ให้กาหนดวัน
เสนอราคาไว้ในประกาศฯด้วย
เพือ่ ให้ผเู้ สนอราคายืน่
หลักประกันซองให้ครบถ้วน
จนถึงวันสิ้ นสุดการยืนราคา
มิฉะนัน้ จะถือว่าไม่ผ่านการ
คัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
►ปั ญหา
กรณีโรงเรียนกีฬาฯไม่ได้กาหนดวัน
เสนอราคาไว้ จึงปฏิบัติไม่ถกู ต้อง
เมือ่ บริษทั ส. ยืน่ หลักประกัน
ซองไม่ครบถ้วน และคกก.ให้ผ่าน
เข้าไปเสนอราคา แต่ไม่ใช่ราย
ตา่ สุด เมือ่ เวลาได้ล่วงเลยไปจนถึง
ขั้นตอนอนุมตั ิสงั ่ จ้างรายอื่นแล้ว
จึ งผ่อนผันไม่ตอ้ งยกเลิกประกวด
ราคา
282
ประกาศฯไม่กาหนดวันเสนอราคา ทาให้ผเู ้ สนอราคา
ยืน่ หลักประกันซองไม่ครอบคลุมวันสิ้นสุดยืนราคา
• ประเด็น ๑ กรมป.ไม่
กาหนดวันเสนอราคาแต่
ภายหลังการยืน่ ซองแล้ว
กรมป. แจ้งกาหนดวันเวลา
เสนอราคาให้ผผู ้ ่านคัดเลือก
คุณสมบัตทิ ุกรายทราบ
•ประเด็น ๒.หนังสือเวียน ว
๑๒๔ ลว. ๙ เม.ย.๕๐ ให้กาหนด
ระยะเวลา ค้าประกันซองตั้งแต่วนั
ยืน่ ซองจนถึงสิ้นสุดวันยืนราคา
• ในประกาศฯกาหนดให้ยนื ราคา
ไม่นอ้ ยกว่า ๙๐ วัน นับแต่วนั ยืน่
เอกสาร ซึ่งแตกต่างจากตัวอย่าง
• และทุกรายมาลงทะเบียน
ประกวดราคาเมื่อมีผเู ้ สนอราคา
ถูกต้อง จึงไม่ก่อให้เกิดการ
รายตา่ สุด และไม่มีผใู ้ ดร้องเรียน ก็
ได้เปรียบเสียเปรียบกัน
อนุมตั ยิ กเว้นให้ดาเนินการต่อไปได้
283
ในประกาศฯกาหนดวันยืนราคาน้อยไป ๑ วัน
หนังสือค้าประกันซอง จึงมีเวลาค้าฯขาดไป ๑ วัน
เมื่อมิใช่รายต ่าสุด จึงอนุมตั ใิ ห้ดาเนินการต่อไปได้
• มติกวพ.อ.ห้างฯ ย.ยื่นขาดไป ๑ วัน
ปั ญหาโรงพยาบาล ส. ให้ยนื
ราคา ๑๘๐ วัน นับแต่ยนื่ ซอง • เมื่อให้หา้ ง ฯ ย. ผ่านการคัดเลือก
คุณสมบัตเิ บื้องต้นไปจนถึงวันที่ให้
จนถึงสิ้นสุดวันยืนราคา
เสนอราคาแล้ ว แต่ มิใช่ รายต่าสุด
• ประกาศกาหนดยืน่ ซองวันที่
เมื่อไม่มีผใู ้ ดร้องเรียน และ
๒๗ พ.ย.๕๑ เสนอราคาวันที่
เพื่อให้จงั หวัด ส. ดาเนินการก่อสร้าง
๑๑ ธ.ค.๕๑ ดังนั้น วันครบ
อาคารอุบตั เิ หตุ-บาบัดรักษา และห้อง
กาหนดคือวันที่ ๙ มิ.ย.๕๒
ประชุมต่อไปได้
กวพ.อ.จึงอนุ มตั ผิ อ่ นผันการไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ ๔๙
ให้เป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย
284
การอุทธรณ์ตอ่ หน่วยงานที่จดั หาพัสดุ
กรณีผปู ้ ระสงค์จะเข้าเสนอราคา
ไม่ผา่ น
การคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น
285
การนับระยะเวลาอุทธรณ์
มติกวพอ.ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๐(มข.)
ระเบียบฯ ๔๙ มิได้กาหนดวิธีนบั ระยะเวลาไว้เป็ นการเฉพาะ จึ งต้องถือ
ปฏิบตั ิตาม ปพพ. ม.๑๙๓/๓ คือ ให้นบั ๑ ถัดจากวันรับแจ้งผล
ได้รบั แจ้งผล วันที่ ๒๖ เม.ย.๒๕๕๐ นับวันที่ ๒๗ เป็ นวันแรก
จะไปครบ ๓ วัน คือวันที่ ๒๙ เม.ย. ๒๕๕๐
ถ้าวันครบคือวันที่ ๒๙ เม.ย.เป็ นวันอาทิตย์
ให้ถอื วันเปิ ดทาการวันแรก เป็ นวันสุดท้ายแห่งระยะเวลา ได้แก่
วันจันทร์ที่ ๓๐ เม.ย
ระเบียบฯข้อ ๙(๒)ให้อุทธรณ์ภายใน ๓ วัน นับจากได้รบั แจ้ง
ผล ไม่มีคาว่า “ทาการ” ต้องนับรวมวันหยุดราชการด้วย
286
วิธีนับเวลาอุทธรณ์
เพื่อพิจารณาว่าพ้นเวลาอุทธรณ์หรือยัง
ผูป้ ระสงค์จะเสนอราคาได้รบั แจ้งผลการ
พิจารณาคุณสมบัตเิ บื้องต้น ใน
วันศุกร์ที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๒
ระยะเวลายื่นอุทธรณ์ได้ ให้เริ่มนับ ๑
ตัง้ แต่วันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๒ เป็ นต้นไป
ซึ่งจะครบกาหนด ๓ วัน คือ
วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๒
287
คาวินิจฉัยอุทธรณ์ของหัวหน้าหน่วยงานที่จดั หา
กรณีไม่ผา่ นการคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น
ให้เป็ นที่สุดในชัน้ บริหาร
บริษทั ว. อุทธรณ์ว่า ประกาศของโรงพยาบาล ต.ก่อสร้างอาคาร
คสล. ๗ ชัน้ ตามแบบฯ และกาหนดเงื่อนไขในข้อ ๒.๕ แต่เพียงว่า
ผูเ้ สนอราคาต้องเป็ นนิตบิ ุคคล มีผลงานก่อสร้างประเภท
เดียวกับที่ประกวดราคาที่ว่า อาคาร คสล.ไม่นอ้ ยกว่า ๕ ชัน้
...มีระบบต่างๆ ภายในอาคารเช่นเดียวกับที่ประกาศฯ คือ
ระบบจ่ายแก๊ส...ผูอ้ ุทธรณ์เห็ นว่ากรณีท่ีคกก.มีมติว่า ผลงาน
ที่จะนามายื่น จะต้องเป็ นผลงานการก่อสร้างตัง้ แต่เริ่ม
ก่อสร้างฐานรากและดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วในสัญญาและ
อาคารเดียวกันเท่านัน้
(ต่อ)
288
ต่อ
คาตัดสินของคณะกรรมการไม่มีเหตุผลใดมารองรับว่าประกาศฯได้มี
ข้อกาหนดตามที่คณะกรรมการยกมาอ้าง บริษทั ฯ จึงขอให้ยกเลิ ก
ผลการพิจารณาของผูว้ ่าราชการจังหวัด(หัวหน้าหน่วยงานผูจ้ ดั หา)
มติกวพ.อ
ระเบียบฯ ๔๙ ข้อ ๙(๓) ให้หวั หน้าหน่วยงานที่จดั หา
พัสดุ พิจารณาอุทธรณ์คณ
ุ สมบัตเิ บื้องต้น ให้เสร็จ
ภายใน ๗ วัน คาวินิจฉัยฯถือเป็ นที่สุดในชั้นบริหาร
เมื่อผูว้ ่าฯ พิจารณาแล้วเห็นว่าอุทธรณ์ฟังไม่ข้ ึน หรือ
ฟั งขึ้นแต่ไม่มีผลเปลี่ยนแปลงการพิจารณา
คาวินิจฉัยจึงเป็ นที่สุด
ดังนั้น หากบริษทั ฯไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัย ย่อมมีสิทธิ
ดาเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อไป
289
(๑)การอุทธรณ์ผลการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
อุทธรณ์ต่อหัวหน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หาแล้วย่อมถึงทีส่ ุด
ไม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อกวพ.อ อีก
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๐(ระเบียบข้อ ๙(๓))

ปั ญหา มหาวิทยาลัย กาหนด spec ว่า
“ผูเ้ สนอราคาต้องมีผลงานติดตั้งระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้ า
ระบบป้องกันอัคคีภยั ไม่นอ้ ยกว่า ๗.๕ ล้านบาท”
ห้างฯเสนอผลงานก่อสร้างอาคาร ซึ่งมีผลงานระบบสุขาภิบาล
ระบบไฟฟ้ าฯ .... รวมกันไม่ถงึ ๗.๕ ล้านบาท
มหาวิทยาลัยฯ ตัดสิน ไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
 ห้างฯอุทธรณ์ภายในกาหนด ๓ วัน ตามระเบียบฯ (ต่อ)
290
(๒)อุทธรณ์ผลการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้นต่อหัวหน้าหน่วยงานที่
จัดหาแล้วย่อมถึงที่สุด ไม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อกวพ.อ อีก(ต่อ)
มติกวพ.อ.
หากมหาวิทยาลัย.เห็นว่า เป็ นงานจ้างทีม่ ีลกั ษณะพิเศษ
แตกต่างจากงานจ้างทัวไป
่ จะต้องกาหนดให้ชดั เจนเจาะจง
หลักการพิจารณาผลงาน จะต้องพิจารณาผลงานรวมทัง้
สัญญาไม่แยกค่างานตามรายละเอียดปริมาณงาน
เมือ่ ห้างฯได้รบั แจ้งผลอุทธรณ์คุณสมบัติเบื้ องต้นแล้ว ถือเป็ น
ทีส่ ุดในชั้นบริหาร หากเห็นว่าไม่เป็ นธรรม ก็ไปใช้สิทธิ์ตาม
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป ไม่มีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อกวพ.อ
291
ตัวอย่างปั ญหา
การเสนอราคา
ทางอิเล็กทรอนิกส์
292
ราคากลางงานก่อสร้าง มีราคาสูงกว่าวงเงินงบประมาณ
หน่วยงานจัดหาไม่ได้ผลให้ตอ่ รองราคารายเสนอต ่าสุดได้
มติกวพอ.ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๑
ในหลักการ ส่วนราชการจะต้องตกลงกับสานักงบประมาณเพือ่
- ขอเพิม่ วงเงิน / หรือหากไม่ได้รบั งบประมาณเพิม่ อาจปรับลดรายการ
ตามความ จาเป็ นให้สอดคล้องกับงบประมาณทีม่ ีอยู่ ก่อนทีจ่ ะจัดหาพัสดุ
ปั ญหา เมือ่ ส่วนราชการดาเนินการจัดหาพัสดุไปแล้ว/ แนวทางแก้ไข
มีหนังสือเวียนของกวพ.อ /ว ๑๑๓ ลว.๒๓ มี.ค.๔๙ ผ่อนผันให้เรียกราย
ตา่ สุดมาต่อรองราคาให้ตา่ สุดเท่าทีจ่ ะทาได้ หากยังสูงกว่าวงเงิน
งบประมาณไม่เกิน ร้อยละ๑๐ และเห็นสมควรจ้างก็ให้ดาเนินการต่อไป
หากต่อรองไม่ได้ตอ้ งยกเลิกการประกวดราคา แล้วปรับลดรายการจัดหา
ใหม่
293
(ปั ญหาข้ออุทธรณ์ผผู ้ ่านการคัดเลือกเบื้องต้น)
ร้องเรียนว่า ไม่ได้รบั หนังสือแจ้งให้ไปเสนอราคา
• มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๑
ปั ญหาการส่งเอกสารไปยังนิตบิ ุคคล จะต้องส่งตามภูมิลาเนาของ
นิตบิ ุคคล คือ ที่ต้งั สานักงานใหญ่ หรือถิ่นที่ต้งั ที่ทาการ/ที่เลือกเป็ น
ภูมิลาเนาเฉพาะกาล ฯลฯตามตราสารจัดตั้ง ตามปพพ.มาตรา๖๘, ๖๙
เมื่อบริษทั ยังไม่ได้จดแจ้งการเปลี่ยนแปลงที่ต้งั สานักงานใหญ่
ทางทะเบียน การที่กรมฯ ส่งเอกสารแบบ บก๐๐๕ และบก๐๐๖แจ้ง
เป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคาและวัน / เวลาเสนอราคา ไปยังสานักงานใหญ่
จึงปฏิบตั ถิ ูกต้องด้วยระเบียบแล้ว “ข้อร้องเรียนจึงฟั งไม่ข้ นึ ”
- อนึ่ง หากขณะซื้อเอกสาร/ยืน่ ซองบริษทั แจ้งให้เปลี่ยนสถานที่จดั ส่ง
เอกสารไปที่สานักงานสาขาแล้ว กรมฯชอบที่จะใช้ดลุ ยพินิจคืนได้เอง
294
ผูร้ บั มอบอานาจเข้าเสนอราคา
ไม่ยนื่ สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของกรรมการบริษทั ฯ
ผูม้ อบอานาจมาในวันลงทะเบียน
1• ปั ญหา
• ผูร้ บั มอบอานาจจากบริษทั ฯ
ไม่ย่ืนสาเนาบัตรประชาชน
ของผูม้ อบอานาจมา
• -คณะกรรมการประกวด
ราคาฯไม่ให้ลงทะเบียน
• ให้หมดสิทธิเสนอราคา /
• ยึดหลักประกันซอง
2• มติ กวพอ. ๕มี.ค.๕๒.
• ระเบียบฯข้อ ๑๐(๑)ให้ผมู ้ ีสิทธิ
เสนอราคาแจ้งชื่อผูแ้ ทนได้
ไม่เกิน ๓ คน
• หนังสือเวียน ว ๕๙ลว.๑๗ ก.พ.
๔๙ ข้อ ๑๔.๒(๔) เมื่อถึง
กาหนดเวลานัดหมาย ให้ผมู ้ ีสิทธิ
เสนอราคายืน่ แบบ บก.๐๐๖
สาเนาหนังสือรับรองการจด
ทะเบียนนิตบิ ุคคล
295
3• สาเนาบัตรประชาชนของผูแ้ ทน 4• และในหมายเหตุทา้ ยแบบ บก.
ผูม้ ีสิทธิเสนอราคา หนังสือมอบ ๐๐๖ กาหนด กรณีเป็ นนิตบิ ุคคล
อานาจ ให้คณะกรรมการฯ
ผูล้ งนามต้องเป็ นผูม้ ีอานาจตาม
ตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่
หนังสือรับรอง และกรณีผลู ้ ง
จึงจัดให้ลงทะเบียน.....
นามไม่ได้เป็ นผูม้ ีอานาจตาม
หนังสือรับรอง ต้องมีหนังสือ
• แบบ บก.๐๐๖ ในช่องเอกสาร
แนบ กาหนดให้แนบ/๑.หนังสือ มอบอานาจมาด้วย
รับรองการจดทะเบียนนิติ
• ดังนั้น จึงเห็นว่า กรณีสง่ ผูแ้ ทน
บุคคล/๒. สาเนาบัตรประจาตัว มาเสนอราคา เอกสารที่ผแู ้ ทน
ประชาชน พร้อมรับรองสาเนา
ต้องนามาแสดงจึงได้แก่
../๓.หนังสือมอบอานาจ
แบบบก.๐๐๖ หนังสือรับรอง
การจดทะเบียนนิตบิ ุคคล
296
5
6
• สาเนาบัตรประจาตัว
• ทัง้ นี้ เพื่อตรวจสอบว่าเป็ นบุคคล
ประชาชนของผูแ้ ทน และ
คนเดียวกันกับที่ได้รบั มอบอานาจ
หนังสือมอบอานาจ
จากผูม้ ีสิทธิเสนอราคาหรือไม่
เท่านัน้
•สาหรับ กรณีแบบ บก.๐๐๖
เอกสารแนบที่กาหนดให้แนบ • เมื่อในวันเสนอราคา บริษทั ฯนา
สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน
เอกสารมาแสดงครบถ้วน แต่ไม่ได้
พร้อมทั้งรับรองสาเนาถูกต้อง
นาสาเนาบัตรประจาตัวประชาชน
ของกรรมการบริษทั ฯผูม้ อบอานาจ
นั้น หมายถึง สาเนาบัตร
มาแสดง กรณีจึงไม่อาจถือว่า
ประจาตัวประชาชนของ
บริษทั ฯ ยื่นเอกสารหลักฐานไม่
ผูแ้ ทน มิใช่ของผูม้ อบ
ครบถ้วนตามเงื่อนไขแต่อย่างใด
อานาจ
จึงไม่อาจยึดหลักประกันซองได้
297
ผูเ้ สนอราคาถูกตัดสิทธิ์เสนอราคา มาไม่ทนั ลงทะเบียน ไปแล้ว
แต่ในวันเสนอราคานัน้ ระบบของผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง
เกิดขัดข้อง คณะกรรมการประกวดราคาจึงกาหนดวัน/
เวลาเสนอราคาใหม่ ผูน้ นั้ จะมาขอเข้าเสนอราคาอีกไม่ได้
มติกวพ.อ. (Rf11226; ลว.๘ มิ.ย.๒๕๕๒
เมื่อประธานคณะกรรมการประกวดราคา ประกาศแจ้ง
การหมดสิทธิ์ให้ผเู ้ สนอราคาทราบไปแล้ว
แม้จะได้เลื่อนวันเสนอราคาไปเป็ นวันอื่น โดยกระบวนการ
เสนอราคายังไม่ส้ ินสุด เพียงแต่มีการเลื่อนวันเสนอราคาไป
เท่านัน้ ไม่ถอื ว่าเป็ นการเสนอราคาครัง้ ใหม่
ดังนัน้ ผูเ้ สนอราคารายที่ถูกตัดสิทธิ์ไปแล้ว
จึงไม่สามารถเข้าร่วมเสนอราคาได้
298
การเสนอราคาในช่วง๓-๕ นาทีสุดท้ายของการประมูล
-หลักการ
สัญญา ๓ ฝ่ าย กาหนดให้ ผูต้ อ้ งการเสนอราคาในช่วงสุดท้ายของการ
ประมูล ให้เสนอราคาก่อนสิ้ นสุดการประมูล อย่างน้อย ๑ นาที
เพือ่ เป็ นการเผือ่ เวลาสาหรับการเดินทางของข้อมูลเข้าสู่ระบบ sever
-ทั้งนี้ จะถือเอาผลการเสนอราคาและเวลาทีแ่ สดงในระบบฐานข้อมู ล
กลาง จากเครือ่ งแม่ข่าย (log file) เป็ นหลักฐานการเสนอราคาเท่านั้น
-มติกวพอ. ความล่าช้าทีผ่ เู ้ สนอราคาเข้ามาในช่วงสุดท้ายของการ
ประมูลมิได้เกิดจากระบบผิดพลาด แต่เกิดจากความล่าช้าของระบบ
internet ทีอ่ าจผันแปรไปตามปริมาณการใช้ ในขณะใดขณะหนึง่ ซึง่ ถือ
เป็ นเรื่องปกติ
ผูเ้ สนอราคาจะโต้แย้งว่าเสนอราคาแล้วแต่ระบบผิดพลาดหรือล่าช้า
ไม่ได้ คณะกรรมการจะต้องถือ log file เป็ นเกณฑ์
299
ระเบียบฯ พ.ศ.๒๕๔๙ กาหนดเงื่อนไขไว้ในหนังสือ
แสดงเงื่อนไขการซื้อการจ้าง(สัญญา ๓ ฝ่ าย) ให้ผูเ้ สนอ
ราคาเผื่อเวลาเข้าในระบบให้ได้ ก่อนสิ้นสุดเวลาเสนอ
ราคา อย่างน้อย ๑ นาที (Rf34633; ลว.๓๐.ธ.ค.๒๕๕๑)
ปั ญหา บริษทั อ. อุทธรณ์ว่า เสนอราคาในช่วง ๒ นาทีสุดท้าย
ก่อนเสนอราคาไม่ได้
มติกวพ.อ เห็นว่า ผูใ้ ห้บริการตลาดกลางแจ้งว่า ก่อนเสนอ
ราคาได้แนะนาผูเ้ สนอราคาแล้วว่า การเสนอราคาช่วงท้ายๆให้
เผือ่ เวลาสาหรับการเดินทางเข้าสู่ระบบServer ของระบบ
เมือ่ บริษทั ไม่เสนอราคาในช่วง ๒ นาทีสุดท้าย และปรากฏว่า
ระบบยังยอมรับการเสนอราคาเป็ นปกติ /อุทธรณ์จึงฟังไม่ขึ้น
300
ไม่ยนื่ สัญญา๓ฝ่ าย ในวันยืน่ ซอง/แต่ให้ผ่านเข้ามาเสนอราคา
ระเบียบข้อ ๘ ,หนังสือเวียน ว ๕๙ ลว.๑๗ ก.พ.๔๙
 สัญญา ๓ ฝ่ ายต้องยืน่ พร้อมซองข้อเสนอด้านเทคนิค
 ถ้าไม่ยนื่ ถือว่าผิดเงือ่ นใขในสิง่ สาระสาคัญ
 มติกวพ.อที่ กค(กวพอ)๐๔๐๘.๔/๑๘๒๓๓ ๑๙ ก.ค.๕๐
 เรือ่ งทีห่ ารือข้อเท็จจริงปรากฏว่า คณะกรรมการฯ
ให้ผูเ้ สนอราคารายทีไ่ ม่ยนื่ นั้น มาเข้าร่วมเสนอราคาด้วย
ถือว่าได้รบั ประโยชน์จากการละเว้นการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่
แต่เมือ่ สิ้ นสุดเสนอราคา ไม่มีสญ
ั ญา ๓ ฝ่ ายให้ลงชื่อเพือ่ ยืนยัน
ราคา จึ งถูกตัดสิทธิพจิ ารณาราคา
301
ยืน่ หนังสือสัญญา ๓ ฝ่ ายแล้ว แต่คณะกรรมการไม่ได้นามาในวัน
เสนอราคาทุกราย เมื่อการเสนอราคาเสร็จสิ้น ค้นหาสัญญา๓ ฝ่ าย
ของรายต ่าสุดไม่พบรายเดียว จะตัดไม่รบั ราคารายต ่าสุดไม่ได้
• มติกวพอ.กค(กวพ๐๔๐๘.๔/๑๘๙๗๘ ลว. ๒๗ ก.ค. ๒๕๕๐
•ผูเ้ สนอราคาผ่านการตรวจสอบหนังสือสัญญา ๓ ฝ่ าย และได้ลงชื่อ
ในวันยืน่ ซองด้านเทคนิคแล้ว
•วันเสนอราคา คกก.ไม่ได้นาสัญญา ๓ ฝ่ าย ไปมอบให้ตลาดกลาง
และคกก.ต้องลงนามก่อนเคาะราคา เมื่อสิ้นสุดเสนอราคา กลับไป
ค้นหาสัญญา๓ฝ่ ายของรายตา่ สุดไม่พบ จะตัดสิทธิ์ไม่รบั ราคาไม่ได้
•ถือได้ว่า เป็ นความบกพร่องของหน่วยงานที่จดั หาพัสดุเอง จึงให้ทา
สัญญา ๓ฝ่ ายขึ้นใหม่กาหนดเงื่อนไขเท่าที่จาเป็ นไว้เป็ นหลักฐานด้วย
302
มีผรู ้ อ้ งเรียนให้ยกเลิกประกวดราคา เนื่องจาก
ผูเ้ สนอราคารายต ่าสุดอยูร่ ะหว่างถูกดาเนินคดี
ใช้/อ้างเอกสารผลงานปลอมของเทศบาล(๑๐ก.ย.๕๒)
-เรื่องนี้ส่วนราชการ น. ได้ทราบภายหลังจากที่
คกก.ประกวดราคาได้ตรวจคุณสมบัตผิ ่านแล้ว ตามข้อ ๙(๒)
ถือได้ว่า ห้าง ฯ ส.ซึ่งเป็ นผูเ้ สนอราคาต ่าสุดรายนี้
เป็ นผูม้ ีสิทธิเข้าสูก่ ระบวนการเสนอราคา
อย่างไรก็ดี เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงภายหลังว่าผูเ้ สนอราคาตา่ สุด
รายนี้ มีคุณภาพ/คุณสมบัตไิ ม่เป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการ ย่อม
ต้องใช้ดุลพินิจที่จะพิจารณาว่าสมควรยกเลิกหรือไม่
303
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐต้องประจาอยู่ในห้องเคาะราคาระหว่างมี
การเสนอราคา ระเบียบฯข้อ๑๐(๑) และ(ว๕๙)ข้อ ๑๔.๓
• กค(กวพอ) ๐๔๐๘.๔/๑๘๒๓๓ ๑๙ก.ค. ๒๕๕๐
• เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ได้รบั คาสังให้
่ ประจาห้องเคาะราคา
ห้องละ ๑ คน ในระหว่างทีม่ ีการเสนอราคา
• เมือ่ ถึงเวลาเข้าห้องเสนอราคา เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ นาผูเ้ สนอราคา
ไปทดสอบระบบ
• เมือ่ เรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าทีข่ องรัฐได้ออกไปอยู่นอกห้องเคาะ
ราคา มาคอยสังเกตการณ์ และดูแลอยู่บริเวณหน้าห้อง
เคาะราคา เป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบฯ
304
การทดสอบระบบก่อนเริม่ ต้นการเสนอราคา
1
2 ให้ผูเ้ สนอราคาศึกษาการ
หลักการ หนังสือเวียน
ว ๕๙ /๑๗ก.พ.๔๙ ข้อ
ใช้โปรแกรมจากเว็ปไซต์
๑๔.๑(๑)กาหนดให้ผู ้
ด้วยตนเอง
ให้บริการตลาดกลาง
3
เตรียมระบบให้พร้อมเพือ่ ผูใ้ ห้บริการตลาดกลางมีหน้าที่
จัดให้ผูเ้ สนอราคาทดสอบ เตรียมระบบให้ทดสอบ ก่อนถึงเวลา
ระบบก่อนเสนอราคาจริง เริม่ เสนอราคา
แต่ไม่มีหน้าทีฝ่ ึ กอบรมการใช้ระบบ
ไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ นาที
4 เมือ่ ผูเ้ สนอราคาทุกรายเสนอราคาได้ถูกต้อง
กรณีผูอ้ ุทธรณ์ๆว่าผูใ้ ห้บริการตลาดกลางไม่ฝึกอบรมวิธีเสนอราคา
จึงฟั งไม่ขึ้น
305
ผูเ้ สนอราคาไม่มาในวันเสนอราคา
•
ห้างฯ ไม่ได้มาลงทะเบียนเข้าเสนอราคา
• หน่วยงานทีจ่ ัดหาพัสดุ จึงยึดหลักประกันซอง
• สาเหตุเนื่องจาก-:
• ได้รบั เอกสารแจ้งกาหนดการเสนอราคาล่าช้า
• จึ งเป็ นการพ้นวิสยั ทีจ่ ะเข้าร่วมเสนอราคาได้
หน่วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ ต้องคืนหลักประกันซองให้หา้ งฯ
306
การเสนอราคาผิดเงื่อนไข
กรณี เสนอราคาสูงกว่า หรือเท่ากับราคาเริ่มต้นการ
ประมูล หากมีการเสนอราคา ครั้งสุดท้ายตา่ กว่า
ก็ถอื ว่าถูกต้อง
มติกวพ.อ. (Rf๐๗๗๒๒ ลว.๑๒ มี.ค.๒๕๕๓)
แต่หากผลการเสนอราคาครั้งสุดท้ายก่อนหมดเวลา
เสนอราคา หากผูเ้ สนอราคารายนัน้ เสนอราคา
ตา่ กว่าราคาเริ่มต้น ก่อนหมดเวลาประมูล
ย่อมถือว่า การเสนอราคาครั้งสุดท้าย ผูเ้ สนอราคารายนั้น
ได้เสนอราคาถูกต้องตามเงือ่ นไขของระเบียบฯ พ.ศ.๒๕๔๙
307
เสนอราคาพร้อมกัน ๒รายการบนหน้าจอเดียวกัน
ผิดรายการ
• มติกวพ.อ กค(กวพ.อ) ๐๔๐๘.๔/๓๑๔๓๔ ลว๒๘พ.ย.๒๕๕๐
• ในประกาศไม่ได้แจ้งให้ผูเ้ สนอราคาทราบ และไม่ประสานกับตลาด
กลางว่า จะเคาะราคาทีละรายการ (ตัดสินแยกแต่ละรายการ)
ถึงเวลาเคาะราคา ตลาดกลางจึ งต้องแบ่งหน้าจอเป็ น ๒รายการ
• บริษทั เข้าใจผิดว่าการเสนอราคารายการที่ ๒ เป็ นรายการที่ ๑ โดย
มิได้มีเจตนาเสนอรายการที่ ๒ มีผลเท่ากับไม่มีการเสนอราคารายการ
ที่ ๒ ดังนั้น การเสนอราคาจึ งสมบูรณ์เฉพาะรายการที่ ๑
จึ งต้องยกเลิกการเสนอราคารายการที่ ๒ แล้วดาเนินการจัดหาใหม่
หากการจัดหาใหม่ รายการที่ ๒ วงเงินไม่เกิน ๕ล้าน จะจัดหาโดยวิธี
อื่นก็ได้ ตามทีค่ รม.ผ่อนผัน เมือ่ วันที่ ๑๖ ต.ค.๒๕๕๐
308
เสนอราคาพร้อมกัน ๒ รายการบนหน้าจอเดียวกัน ผิดรายการ
โดยมิใช่ความผิดของหน่วยงาน / ต้องผูกพันราคาที่เสนอ
• เสนอราคาสร้างบ้านพักข้าราชการ ระดับ ๗-๘ และระดับ ๕-๖ ในเวลา
เดียวกัน ๒ รายการ ผูเ้ สนอราคาส่งผูแ้ ทนมาเพียงคนเดียว
• จึ งขอให้เปิ ดหน้าจอทีเ่ สนอ ทั้ง ๒รายการ บนหน้าจอเดียวกัน
• เมือ่ ผูเ้ สนอราคา เสนอราคาผิดรายการเอง จึ งต้องผูกพันราคาที่เสนอ
• ผูใ้ ห้บริการตลาดกลางกระทาผิดหลักเกณฑ์ขอ้ ตกลงกับกรมบัญชีกลาง
-ไม่ได้ให้เปิ ดหน้าจอ ให้มีการเสนอราคาพร้อมกันหลายรายการ
• ประธานกรรมการ ผูเ้ สนอราคา ตลาดกลาง ไม่ควรให้มีการทารายการ
เสนอราคาพร้อมกัน เป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบ๒๕๔๙
• ให้แจ้งหน่วยงานว่า ต่อไปให้เสนอราคาทีละรายการ อย่าจัดพร้อมกัน
309
จะเคาะราคาที่ตอ้ งการประมูล
แต่เคาะราคาที่ตอ้ งการลดราคา
• สัญญา ๓ ฝ่ ายข้อ ๒.๑(๒)กาหนดหน้าทีผ่ ูเ้ สนอราคาให้ศึกษาวิธีการ
และทดลองเสนอราคา ในwww.gprocurement.go.th
ก่อนการเสนอราคา ในวันเสนอราคามีเจ้าหน้าทีค่ อยตอบข้อซักถาม
บริษทั จะเสนอราคาทีต่ อ้ งการประมูล แต่กลับไปเสนอราคาทีต่ อ้ งการจะ
ลดราคา
ในวันเสนอราคา มีผูเ้ สนอราคา อีก ๕รายรับฟังคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่
คนเดียวกันและเสนอราคาถูกต้อง
การทีบ่ ริษทั เคาะราคาผิดพลาด เกิดจากความเข้าใจคลาดเคลือ่ นของ
บริษทั เอง จึ งไม่อาจขอให้ดาเนินการเคาะราคาใหม่ได้
310
เสนอราคาต ่ากว่าราคาเริม่ ต้นการประมูลเพียง ๐.๐๑
หรือ ๕.๐๐บาท ถือว่า เสนอราคาถูกต้องตามเงื่อนไข
แล้งวสือเวียน ว ๓๐๒ ลว. ๒๑ ก.ค.
ระเบียบฯข้อ๑๑(๒) และหนั
๔๙ ข้อ ๒.๓.๓ กาหนดเงือ่ นไขว่า
ให้เสนอราคาตา่ กว่าราคาสูงสุด หรือราคาเริม่ ต้นการประมูล
โดยมิได้กาหนดว่าจะตา่ ลงเท่าใด
เมือ่ ปรากฏว่า ผูเ้ สนอราคา เสนอตา่ กว่าราคาเริม่ ต้นการ
ประมูลเพียง ๐.๐๑ หรือ ๕.๐๐บาท
ย่อมถือว่า เสนอราคาตามเงือ่ นไขในระเบียบแล้ว หน่วยงานที่
จัดหาพัสดุไม่สามารถยกเลิกการประมูลได้
311
เสนอราคาผิด ตก ๐ ไป ๑ ตัว
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๐
วงเงินเริม่ ต้นการประมูล ๓,๓๐๐,๒๐๐ เสนอครั้งที่๑ ๓,๓๐๐,๐๐๐
ครั้งที่ ๒ ๓,๒๙๙,๕๐๐ และ ครั้งที่ ๓ ๓๒๙,๘๐๐
• ห้างฯรีบแจ้งว่า เคาะราคาผิด ทีถ่ ูก ๓,๒๙๘,๐๐๐ ตก ๐ ไป ๑ ตัว
คณะกรรมการฯเห็นว่า ตา่ กว่าราคาเริม่ ต้นการประมูล ถึง๑๐ เท่า
จึ งสังยกเลิ
่
ก และให้เริม่ ต้นเสนอราคาใหม่ ตามข้อ๑๑(๖)
• มติถอื ว่า
• การแสดงเจตนาของห้างฯไม่มีเจตนาผูกพัน ตามทีแ่ สดง และ
คู่กรณีอีกฝ่ ายหนีง่ (คกก.ประกวดราคา) รูถ้ งึ เจตนาที่แท้จริง
ของห้างฯจึ งตกเป็ นโมฆะตาม ปพพ.ม ๑๕๔ ห้างฯจึ งไม่ตอ้ ง
ผูกพันราคาทีเ่ สนอ
312
ระหว่างเคาะราคา ขอให้ยกเลิกการเสนอราคาใหม่
จะอ้างว่าเคาะราคาผิดไม่ได้ ต้องผูกพันราคาที่เสนอ
• มติกวพอ.ครัง้ ที่ ๕/๒๕๕๐ ห้างฯเสนอราคา ๒ ครั้ง
ครั้งที่ ๑เสนอ ๓,๕๐๐,๐๐๐ ครั้งที่ ๒ เสนอ ๒,๔๘๐,๐๐๐ บาท
• ห้างฯ รีบแจงจนท.ของรัฐว่า เสนอราคาผิด จะเสนอที่ ๓,๔๘๐,๐๐๐
คณะกรรมการเห็นว่า การเคาะราคาผิด มิได้เกิดจากระบบ
ขัดข้อง ในระบบจะถามให้ยืนยันราคาได้ถงึ ๓ ครั้ง
 เมือ่ ห้างฯกดยืนยันราคาครบ๓ครั้งแล้ว ราคาจะถูกบันทึกไว้
ในกระบวนการเสนอราคา และเปลีย่ นแปลงไม่ได้
313
เมื่อสิ้นสุดเสนอราคา คณะกรรมการรายงานผลครั้งที่ ๒
เกินกว่า ๕ วันทาการ นับจากวันที่รายงานผลครั้งแรก
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่
กค ๐๔๐๘.๓/ว๓๐๒ ลว. ๒๑ ก.ค.๔๙
ข้อ ๒.๓ ให้กาหนดเงื่อนไขการยึด
หลักประกันซองไว้ในเอกสารประกวด
ราคา และ ที่ ๐๔๐๘.๔/ว ๑๓๘ ลว.๑๙
เม.ย.๕๐ ให้คณะกก.ประกวดราคา
หากจาเป็ นต้องรวบรวมรายละเอียด
อีก ให้รายงานผลต่อหน.หน่วยงานที่
จัดหาพัสดุ ได้อีกเป็ นครัง้ ที่ ๒
ภายใน ๕วันทาการถัดไป นับจากได้
รายงานครัง้ แรก
โรงพยาบาล ส. มิได้กาหนด
เงื่อนไขการยึดหลักประกันซองไว้
ในประกาศ และรายงานผลครัง้ ที่
๒ เกิน๕ วันทาการถัดไป จึงเป็ น
การปฏิบตั ผิ ดิ ระเบียบฯ
แต่เนื่องจาก การประกวดราคา
ก่อสร้างอาคารผูป้ ่ วยนอกของ
โรงพยาบาล ส.ได้ดาเนินการจน
ได้ผเู ้ สนอราคารายตา่ สุดแล้ว
จึงผ่อนผันให้เป็ นพิเศษเฉพาะราย
314
ผูช้ นะราคาขอเปลีย่ นข้อเสนอด้านเทคนิคก่อนทาสัญญา
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๓/๒๕๕๑ (งานจ้างประชาสัมพันธ์ )
ผูช้ นะราคาขอเปลี่ยนแปลงข้อเสนอด้านเทคนิค(ตัวพรีเซ็นเตอร์)
หน่วยงานต้องพิจารณาว่า เป็ นการเปลี่ยนแปลงสาระสาคัญและ
ก่อให้เกิดการได้เปรียบ เสียเปรียบระหว่างผูเ้ สนอราคา
ด้วยกันหรือไม่ ?
 หากเป็ นสาระสาคัญ /ไม่เป็ นประโยชน์แก่ราชการ ผูช้ นะราคาต้องผูกพันตาม
ข้อเสนอเดิมที่เสนอไว้ จะถอนการเสนอราคามิได้ หากเห็นว่ามิไช่สาระสาคัญ
และไม่เสียเปรียบกัน ก็เป็ นดุลยพินิจของหน่วยงานที่จะเปลี่ยนแปลงได้
หากประกาศให้เป็ นผูช้ นะราคารายต ่าสุดแล้ว ไม่มาทาสัญญา ต้องยกเลิก
ประกวดราคา /ยึดหลักประกันซอง /เรียกค่าเสียหายอื่น/สั ่งทิ้งงานเพราะ
ระเบียบฯ๔๙ ให้รบั รายต ่าสุดเท่านั้น ไม่สามารถเรียกรายต ่าถัดไปได้
315
ระเบียบฯ ๔๙ กาหนดให้รบั ราคารายต ่าสุดรายเดียวเท่านั้น
ตัวอย่างเอกสารประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์
กาหนดให้เก็บหลักประกันซองผูเ้ สนอราคารายต ่าสุดไว้
เพียงรายเดียว จะคืนเมื่อได้ทาสัญญาหรือข้อตกลง หรือ
พ้นข้อผูกพันแล้ว
มติกวพ.อ.โดยเจตนารมณ์ให้พิจารณารายต ่าสุด เพียง
รายเดียวเท่านั้น
เมื่อแจ้งผลให้ผเู ้ สนอราคาทุกรายทราบแล้ว หากราย
ต ่าสุดที่อนุมตั ใิ ห้สั ่งซื้อ/สั ่งจ้างแล้ว ไม่มาทาสัญญา
ย่อมไม่อาจเรียกรายต ่าถัดไปมาต่อรองราคาหรือ
สอบถามและรับราคาอีก
316
การอุทธรณ์ต่อ
กวพ.อ.
317
ผูเ้ สนอราคา อุทธรณ์ผิดหน่วยงาน
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๗/ ๒๕๕๐ ลว.๑๐ม.ค.๒๕๕๐
 ระเบียบข้อ ๑๐ (๔) และหนังสือเวียน /ว ๕๙ ข้อ ๑๕
เมือ่ กระบวนการเสนอราคา สิ้ นสุดลงแล้ว หากไม่เห็นด้วยกับการ
พิจารณาผลการประกวดราคาของหน่วยงาน ต้องอุทธรณ์ต่อ กวพ.อ
บริษทั เข้าใจคลาดเคลือ่ น ได้อุทธรณ์ไปยัง หน่วยงานทีจ่ ดั หา
พัสดุ(จังหวัด ก.)ภายใน๓วัน นับจากได้รบั แจ้ง
-เป็ นการอุทธรณ์ทีไ่ ม่ชอบด้วยระเบียบ
ต่อมา บริษทั อุทธรณ์ไปยัง กวพ.อ ให้ถูกหน่วยงานอีกครั้งหนึง่
ให้ถอื ว่า เป็ นการอุทธรณ์ภายในกาหนดเวลา
318
อุทธรณ์ขอให้เสนอราคาใหม่
- ห้างฯ ขอให้เสนอราคาใหม่ เนือ่ งจากได้รับเอกสารกระชัน้ ชิด
- ระเบียบฯข้อ ๑๐(๕) ให้สิทธิผเู้ สนอราคาทีเ่ ข้าสู่กระบวนการ
เสนอราคา ทีไ่ ม่เห็นด้วยกับผลการพิจารณาของหน่วยงาน
อุทธรณ์ ต่อกวพ.อ.เพือ่ สังให้
่ หน่วยงานดาเนินกระบวนการ
พิจารณาใหม่ ซึง่ หมายถึง ต้องมาลงทะเบียนเข้าเสนอราคาแล้ว
- เมือ่ ห้างฯมิได้เข้าสู่กระบวนการพิจารณา จึงไม่มสี ิทธิอุทธรณ์
- กรณีนี้ ปรากฏว่ากรม ท. ส่งเอกสารให้ผูม้ ีสิทธิเสนอราคาทุกราย
ทาง EMS ซึ่งมีเวลาพอสาหรับการแจ้งล่วงหน้าแล้ว
- ไม่มีขอ้ เท็จจริงว่ากรม ท.กระทาไม่โปร่งใสในขั้นตอนใด
- ห้างฯจึ งไม่สามารถอุทธรณ์ขอให้มีการเสนอราคาใหม่
319
ผูเ้ สนอราคาทีเ่ ข้าสู่กระบวนการเสนอราคาเท่านัน้
เป็ นผูม้ สี ิทธิอุทธรณ์ต่อกวพ.อ.
มติกวพ.อ.(Rf04879; ลว.๙มี.ค.๒๕๕๒)
ประเด็น ๑.บริษทั ฯ T ไม่ผา่ นการคัดเลือกเบื้องต้น ได้รอ้ งเรียนต่อ
กวพ.อ.ว่า หน่วยงานที่จดั หาพัสดุพิจารณาคุณสมบัตเิ บื้องต้น โดยไม่
ชอบด้วยระเบียบ ทาให้ถูกตัดสิทธิ์เสนอราคา
ตอบ ถือว่าเป็ นที่สุดในชัน้ บริหาร จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ตอ่ กวพ.อ. อีก
ประเด็นที่ ๒ บริษทั ฯ T ขอให้กวพ.อ.สั่งระงับการทาสัญญา
ของหน่วยงานที่จดั หา
ตอบ ระเบียบฯข้อ ๑๐(๕)ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาที่เข้าสู่กระบวนการ
เสนอราคาที่ไม่ได้รบั ความเป็ นธรรม อุทธรณ์ตอ่ กวพ.อ.ได้
 เมื่อ บริษทั Tถูกตัดสิทธิเสนอราคาแล้ว จึงมิได้เป็ นผูเ้ ข้าสู่
กระบวนการเสนอราคา จึงไม่อาจใช้สิทธิ์ให้กวพ.อ.สั่งระงับได้
320
อุทธรณ์คาสั ่งยึดหลักประกันซอง ต้องอุทธรณ์ตอ่
ผูอ้ อกคาสั ่ง(หน่วยงานที่จดั หาพัสดุ) มิใช่กวพ.อ
ระเบียบฯข้อ ๑๐(๕)กาหนดว่า
• ให้ผูม้ ีสิทธิเสนอราคา ทีไ่ ม่เห็นด้วยกับการพิจารณาตัดสินราคาของ
หน่วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ สามารถอุทธรณ์ต่อ กวพ.อ ภายใน ๓ วัน นับ
จากวันทีไ่ ด้รบั แจ้งผล......
• มติกวพ.อ
• กรณีปัญหา บริษทั อุทธรณ์ขอคืนหลักประกันซอง ต่อกวพ.อ ไม่ได้
เนือ่ งจากคาสังยึ
่ ดหลักประกันซอง เป็ นการออกคาสังโดยหน่
่
วยงาน
ผูจ้ ดั หาโดยตรง เป็ นคาสังทางปกครอง
่
ดังนั้น จึงต้องอุทธรณ์ต่อ
ผูอ้ อกคาสัง่
• การอุทธรณ์คาสังยึ
่ ดหลักประกันซอง เป็ นคนละกรณีกบั การอุทธรณ์การ
พิจารณาตัดสินราคาตามข้อ ๑๐(๕) ของระเบียบฯ
321
การยึด -คืนหลักประกันซอง เป็ นอานาจของหน่วยงานที่จดั หา
ให้พิจารณาคืนได้เฉพาะ เหตุสุดวิสยั ตามปพพ. มาตรา ๘
•มติกวพ.อ.ครั้งที่๑๗/๒๕๕๐ ก.ย.๕๐
เมือ่ การยึดหลักประกันซอง
•ระเบียบฯข้อ ๑๐ +หนังสือเวียน/
เป็ นอานาจหน้าทีข่ องหน่วยงานที่
ว๕๙ ลว. ๑๗ ก.พ.๔๙ ข้อ๑๔.๔
จัดหาพัสดุ
แบบแจ้งผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
การคืนหลักประกันซอง จึ งเป็ น
(บก.๐๐๕) กาหนดให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอ ดุลพินิจของหัวหน้าหน่วยงาน
ราคามาลงทะเบียนต่อหน้า
จัดหา ฯ ซึ่งต้องพิจารณาจาก
คณะกรรมการให้ทนั กาหนดเวลา
ข้อเท็จจริง และเหตุผลประกอบ
 ให้สง่ ผูแ้ ทนมาได้รายละ ไม่ หากเป็ นเหตุสุดวิสยั ตาม ปพพ.
เกิน ๓ คน หากมาไม่ทนั จะถูก มาตรา ๘ ก็ชอบทีจ่ ะคืนได้
ยึดหลักประกันซอง
322
จานวนเงินที่ยึดหลักประกันซอง
ให้ยึดได้เท่ากับที่ประกาศฯไว้
มติ กวพ. กค.(กวพอ.)๐๔๒๑.๓/๒๕๘๔๙ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๕๒
ในประกาศฯกาหนดให้วางหลักประกันซอง ๑๓๖,๙๙๓บาท
 ผูม้ ีสิทธิเสนอราคายืน่ ไว้เกินคือ ๑๕๐,๐๐๐ บาท
 การยึดหลักประกันซอง จึงต้องยึดตามจานวนที่ประกาศ
คือ ๑๓๖,๙๙๓ บาท เท่านั้น
ส่วนที่เกินให้คนื ผูเ้ สนอราคารายนัน้
323
จะคืนหลักประกันซองแก่ผเู ้ สนอราคา เมื่อใด?
มติกวพ.อ.Rf10109 25 พ.ค.2552
ข้อเท็จจริง โรงพยาบาล บ.ประกวดราคาจ้างก่อสร้างบ้านพักแพทย์
ใช้เงินบารุงฯโดยแจ้งให้ผเู ้ สนอราคารายตา่ สุดเข้าทาสัญญา แต่ไม่มา
จึงหารือว่า จะเรียกรายตา่ ถัดไปมาต่อรองและรับราคาได้หรือไม่
1
มติกวพ.อ.
ตัวอย่างเอกสารประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้กาหนดให้
เก็บหลักประกันซองของผูเ้ สนอราคาตา่ สุดไว้เพียงรายเดียว
2
หลักประกันซองจะคืนต่อเมื่อได้ทาสัญญา/ข้อตกลง/หรือพ้นข้อ
ผูกพันแล้วซึ่งเจตนารมณ์ตอ้ งการให้พิจารณารายตา่ สุดเพียง
รายเดียวเท่านัน้
(ต่อ)
324
3
เมื่อผูม้ ีอานาจสั่งซื้อ /สั่งจ้าง ตามระเบียบฯปี ๓๕ ข้อ ๖๕
ได้เห็ นชอบ และได้มีการแจ้งผลการพิจารณาให้ ผูม้ ีสิทธิ
เสนอราคาทุกรายทราบแล้ว
หากรายตา่ สุด ไม่ยอมเข้าทาสัญญา หรือ ข้อตกลง
4
กรณีจงึ ไม่อาจเรียกรายต ่าถัดไป มาสอบถาม และ
รับราคาเพื่อดาเนินการต่อไปได้
325
มีวจิ ารณ์ TOR ครั้งที่ 2 แต่ คนละประเด็นกับที่เคยวิจารณ์ ครั้งที1
่
ไม่ มีผ้ ูวจิ ารณ์ TOR แต่ หน่ วยงานจาเป็ นต้ องแก้ ไขเอง
มติกวพ.อ.Rf000274/6 ม.ค.2553
หลักการ/ระเบียบฯ ข้อ ๘(๑) และหนังสือเวียน ว ๓๐๒ ลว.
๒๑ ก.ค.๒๕๔๙ ข้อ ๒.๑.๓ ให้นาสาระสาคัญของร่างTOR และ
ร่างเอกสารประกวดราคาลงwebให้ประชาชนเสนอแนะวิจารณ์
หากมีวิจารณ์ เห็ นควรปรับปรุง ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงาน
เห็นชอบ และลง web อีกครั้งหนึ่ง
หรือ มีวิจารณ์ หากไม่ปรับปรุง ก็ให้ลงwebของหน่วยงาน
และของกรมบัญชีกลางอีกครั้งหนึ่ง เช่นกันไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
(ต่อ)
326
ต่อ
ประเด็นปั ญหา
๒.หากไม่มีผวู ้ ิจารณ์
๑.หากมีผวู ้ ิจารณ์ครั้งที่ ๒ ซึ่งได้รบั
แต่
ห
น่
ว
ยงานเห็
น
เองว่
า
ผลกระทบจากการแก้ไขครั้งที่ ๑ หรือ
เป็ นประเด็นอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็น ควรแก้ไข TOR.ในส่วนที่
ที่มีขอ้ วิจารณ์ในครั้งที่ ๑
เป็ นสาระสาคัญ เพื่อ
ประโยชน์ของหน่วยงาน
มติกวพ.อ. ให้อยูใ่ นดุลพินิจของคณะกก.
ร่าง TOR ที่จะแก้ไข หรือไม่
-แล้วเสนอหน.หน่วยงานเห็นชอบอีกครั้ง
หากมีแก้ไขต้องนาไปลงweb ของ
หน่วยงานและของกรมบัญชีกลางอีกครั้ง
หนึ่งไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
มติกวพ.อ.
เมื่อคกก.ร่าง TOR.
แก้ไขแล้ว ก็ตอ้ งเริม่
ดาเนินการตามระเบียบฯข้อ
๘ ต่อไป (ลงwebให้
วิจารณ์ใหม่)
327
เจ้าหน้าที่ลงประกาศฯทางwebsiteของหน่วยงานเพียงวันเดียว
แล้วลบออก และไม่ลงประกาศทางwebกรมบัญชีกลาง
ผูร้ อ้ งเรียนแจ้งว่า เจ้าหน้าที่จงั หวัด ส.ไม่ลงประกาศฯ งานจ้างก่อสร้าง
๓ โครงการ มูลค่า ๕๐ ล้านบาทเศษ ทาง website ของกรมบัญชีกลาง
และไม่ยอมขายแบบอ้างว่าไม่มีโครงการในช่วงนี้บ้าง /ผูข้ ายแบบลาพัก
ร้อน/ไม่รู ้ ไม่เห็นบ้าง
จึงขอให้ กวพ.อ.สั ่งยกเลิก และให้ประกวดราคาใหม่
มติกวพ. อ.
ระเบียบฯข้อ ๑๑(๔)กรณีหน่วยงานเห็นเอง และข้อ ๑๐(๕) กรณีมีผู ้
ร้องเรียน ว่า เจ้าหน้าที่ หรือผูม้ ีสิทธิเสนอราคา หรือผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
มิได้ปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตามระเบียบนี้ มีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย...
ให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อ
หน่วยงานของรัฐ หรือ กม.อื่นที่เกี่ยวข้อง
(ต่อ)
328
(ต่อ) กวพ.อ.ได้ตรวจสอบโดย:๑. ขอประกาศฯไปยังจังหวัด ส.
๒.ตรวจสอบจาก www.Gprocurement.go.th
พบว่า การจัดทาประกาศ ของจังหวัด ส.
มีการลงประกาศทั้ง ๓ โครงการในหน้า website ของ
หน่วยงานและลบออกในวันเดียวกันคือวันที่ ๒๒ ธ.ค.๒๕๕๒
และเป็ นการสร้างหลังวันสิ้นสุดวันขอรับเอกสาร
อีกทั้งไม่มีการประกาศที่www.Gprocurement.go.th ของ
กรมบัญชีกลาง
กวพ.อ.เชื่อว่า เป็ นการดาเนินการที่ไม่ถูกต้องตามระเบียบฯ
จึงให้จงั หวัด ส. สอบสวนข้อเท็จจริงโดยด่วน หากเข้าข่ายเป็ นความผิด
เกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ หรือกม.อื่น ให้พิจารณาตาม
อานาจหน้าที่ตอ่ ไป และแจ้งผลให้กวพ.อ.ทราบด้วย
329
การแจ้งวัน/เวลาเสนอราคา ไปยังภูมิลาเนา
ของผูเ้ สนอราคา แต่ไม่มีผรู ้ บั มิใช่เหตุสุดวิสยั
มติกวพ.อ.ครัง้ ที่ ๘/๒๕๕๓ 27 พ.ค.2553
ข้อเท็จจริง จังหวัด ส. จ้างก่อสร้างอาคารฟื้ นฟูคนไข้
ผูเ้ สนอราคาอุทธรณ์ว่า ไม่ได้รบั แจ้งวัน/เวลาเข้าเสนอราคา
เมื่อมาไม่ทนั จึงถูกยึดหลักประกันซอง
มติกวพ.อ.
ในประกาศกาหนดวันประกาศรายชื่อผูม้ ีสิทธิ์ วันที่ ๔ มี.ค.๕๓ และ
วัน/เวลาสถานที่เสนอราคาวันที่ ๑๑ มี.ค.ไว้แล้ว
เมื่อจังหวัดส่งเอกสารการแจ้งนัดหมายและให้ส่งผูแ้ ทนแก่หา้ งฯ ถึง
๒ ครั้ง แต่ไม่มีผรู ้ บั ประกอบกับไปรษณียแ์ จ้งให้ไปรับเอกสารได้ที่
ไปรษณียด์ ว้ ย ถือว่าส่งเอกสารโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
หากห้างฯไม่ได้รบั แจ้ง ก็ควรติดตามทวงถาม จึงเป็ นเรื่องที่หา้ งฯ
ละเลยสิทธิที่พึงมี กรณีน้ ีจึงมิใช่เหตุสุดวิสยั ตามที่หา้ งฯกล่าวอ้าง
330
หัวหน้าหน่วยงาน พิจารณาอุทธรณ์ไม่เสร็จภายใน ๗ วัน
ผูอ้ ุทธรณ์มีสิทธิเข้าเสนอราคา ไม่อาจยกเลิกประกวดราคา
ระเบียบฯ๔๙ ข้อ ๙(๓) กาหนดให้ หากหัวหน้าหน่วยงาน
แจ้งผลการพิจารณาอุทธรณ์คณ
ุ สมบัตเิ บื้องต้นไม่ทนั
ภายใน ๗ วัน ต้องให้ผอู ้ ุทธรณ์มีสิทธิเข้าเสนอราคา
หากจังหวัด ช. ยกเลิกการประกวดราคาด้วยเหตุพิจารณา
อุทธรณ์ไม่ทนั ภายใน ๗ วัน
ระเบียบฯข้อ๙(๓ไม่มีขอ้ กาหนดให้ยกเลิก จึงไม่อาจยกเลิกได้
แต่ท้งั นี้จังหวัด ช. จะยกเลิกการประกวดราคาด้วยเหตุอื่น
ก็ยอ่ มเป็ นดุลพินิจที่จะทาได้
แต่จะต้องมีเหตุผลประกอบการพิจารณาด้วย
33
1
คานวณราคากลางไม่มีเงินค่าจ้างล่วงหน้า แต่ในประกาศฯ
มีเงินล่วงหน้า ทาให้เสียประโยชน์ ต้องยกเลิก/จัดหาใหม่
ระเบียบฯ ๔๙ กาหนดให้ใช้ราคากลางเป็ น
วงเงินเริ่มต้นการประมูลสาหรับงานก่อสร้าง
โรงพยาบาล ร. ต้องกาหนดเงื่อนไขในเอกสารประกาศฯ
ให้สอดคล้องกับการคานวณราคากลาง
เมื่อการคานวณราคากลางไม่ได้คิดคานวณเงินค่าจ้าง
ล่วงหน้าไว้ดว้ ย ๑๕% จึงเป็ นการดาเนินการที่ไม่ถกู ต้อง
 เป็ นผลให้ราคากลางสูงกว่าความเป็ นจริงทาให้ราชการ
เสียเปรียบ โรงพยาบาล ร.จะเรียกผูเ้ สนอราคาทุกรายมี
หนังสือยืนยันว่าจะไม่รบั เงินล่วงหน้า ก็ไม่อาจทาได้ จึงให้จดั หาใหม่
33
2
ยื่นเอกสารรับรองผลงานอันเป็ นเท็จ
ผล -ไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น
-ไม่ยดึ หลักประกันซอง
แต่สั ่งทิ้งงาน -และเรียกชดใช้ค่าเสียหายได้
•
•
•
•
มติ(Rf10161; ลว. ๓๑มี.ค.๒๕๕๓)
หนังสือเวียน ว ๓๐๒ กาหนดเงื่อนไขยึดหลักประกันซองไว้ ๔ กรณี
ดังนัน้ การยื่นเอกสารเท็จ จึงไม่อยู่ในเงื่อนไขที่จะยึด
แต่ตามระเบียบฯปี ๓๕ ข้อ๕ ประกอบข้อ ๑๕ ฉ ถือว่าเป็ นการขัดขวาง
การแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีจะแสวงหา
ประโยชน์ระหว่างผูเ้ สนอราคา/เสนองานด้วยกัน...ให้มีสิทธิทาสัญญา
กับส่วนราชการ จึงต้องสอบสวนและเสนอปลัดกระทรวงตัดรายชื่อ
ออกจากเป็ นผูเ้ สนอราคา /เป็ นผูท้ ้ ิงงานและชดใช้คา่ เสียหาย
333
การเสนอราคาผิดพลาด
มติ กวพ.อ.)ครั้งที่ ๘/๒๕๕๓
ศูนย์มะเร็ง ล. ประกวดราคาก่อสร้างบ้านพัก วงเงิน๒๒ ล้านเศษ
 ห้างฯ ช.เสนอราคา ๔ ครั้ง แต่ครั้งที่ ๓ เสนอสูงกว่าวงเงิน
เริ่มต้นประมูล ส่วนครั้งสุดท้ายเสนอต ่ากว่าวงเงินเริม่ ต้นประมูล
 หลักการตามส.เวียน ว ๓๐๒ ข้อ ๒.๓(๓)ห้ามเสนอราคาสูงกว่า
หรือเท่ากับราคาเริม่ ต้นประมูล หมายถึง การเสนอราคาครัง้ แรก
และไม่มีการเสนออีกเลย หรือก่อนสิ้นสุดเวลายังสูงหรือเท่ากับ
ราคาเริ่มต้น กรณีน้ ีจะถือว่าผิดเงื่อนไข ยึดหลักประกันซองได้
 เมื่อห้างฯเสนอราคาต ่ากว่าก่อนสิ้นสุดการประมูล และมีหนังสือ
แจ้งว่าเสนอราคาผิดพลาด ไม่มีเจตนาปฏิบตั ผิ ิดระเบียบแต่อย่างใด
 จึงถือไม่ได้ว่า ห้างผิดเงื่อนไขเสนอราคา ต้องคืนหลักประกัน
ซองให้แก่หา้ ง ฯ ไป
334
การปรับลดเนื้องาน ภายหลังจากได้ผชู ้ นะราคา
รายต ่าสุดแล้ว กระทาไม่ได้(Rf14178; ลว.๑๓ก.ค.๒๕๕๒)
• ต่อมา สานักงบประมาณ ปรับ
• มหาวิทยาลัย น.จ้างก่อสร้าง
ผูเ้ สนอราคารายตา่ สุด เสนอสูงกว่า ลดวงเงินงบประมาณ จึงต้อง
ลดเนื้องานลงภายหลังจาก
วงเงินงบประมาณ
กระบวนการประกวดราคา
• จึงต่อรองราคาตามหนังสือ
สิ้นสุดลงแล้ว กรณีจงึ ไม่เป็ นไป
กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค
ตามนัย ข้อ ๒ ของ
๐๔๐๘.๓/ว๑๑๓ ลว.๒๓ มี.ค.๔๙
หนังสือเวียนดังกล่าว
ซึ่งหลักเกณฑ์ขอ้ ๒ กาหนดให้
ต่อรองราคาให้ต ่าสุดเท่าที่จะทาได้ ดังนั้น จึงเห็นควรให้
...หากต่อรองไม่ได้ผล ให้ขอเงินเพิ่ม
มหาวิทยาลัย น.ยกเลิกการ
หรือ ยกเลิกการเสนอราคา
ประกวดราคาครั้งนี้
335
336