ดาวน์โหลด Pawer point.

Download Report

Transcript ดาวน์โหลด Pawer point.

โครงการสัมมนาพัฒนาบุคลากรในการปฏิบตั งิ านด้านการบริหาร
งบประมาณและการบริหารการพัสดุของจังหวัด/กลุม่ จังหวัด
วิชา
“กฎหมาย และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานพัสดุภาครัฐ.”
บรรยายโดย
คุณรวีวลั ย์ แสงจันทร์
ผูอ้ านวยการกลุม่ งานระเบียบว่าด้วยการพัสดุ
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
โทร. ๐๒ ๑๒๗๗๐๐๐ต่อ ๔๕๕๑
(ศูนย์ขอ้ มูลจัดซื้อจัดจ้าง กรมบัญชีกลาง www.gprocurement.go.th)
1
(สงวนลิขสิทธิ์)
ระเบียบและแนวทางในการบริหารงานพัสดุ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ.๒๕๓๕
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ข
2
การพัสดุ
หมายความว่า....(ข้อ ๕)
การจัดทาเอง
การซื้อ
การจ้างที่ปรึกษา
การจ้างออกแบบ
และควบคุมงาน
การแลกเปลี่ยน
การเช่า
การควบคุม
การจาหน่าย
การจ้าง
การดาเนินการอื่น ๆ ที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้
3
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
๑ เมื่อได้รบั การจัดสรร/ได้รบั ทราบยอดเงินงบประมาณในการ
จัดหาพัสดุแล้ว (ระเบียบฯ ข้อ ๑๓)
งานซื้อ/จ้างทั ่วไป งานจ้างก่อสร้าง-ออกแบบ
แต่งตั้งคกก.กาหนดราคากลาง
กาหนด spec
ซื้อ/จ้างทั ่วไป ต้องมี
ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี
รายการตามข้อ ๒๗)
-ให้จดั ทารายงาน ขอซื้อ/จ้าง
ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง
เพื่อขอความเห็นชอบหส.ราชการก่อนทุกครั้ง
(ข้อ๒๘)
เจ้าหน้าที่
พัสดุ
๒
หัวหน้าส่วนราชการ
พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานขอซื้อ/จ้าง (ข้อ ๒๙)
ลงนามประกาศสอบราคา/
ลงนามคาสั ่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ต่างๆที่เกี่ยวข้อง(ข้อ ๓๔)
ประกวดราคา
4
๓
เมื่อได้รบั ความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อ/ขอจ้าง
จากหัวหน้าส่วนราชการแล้ว
-ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการจัดหาตามวิธีตา่ งๆ ได้แก่
วิธีตกลงราคา
(ไม่เกินแสน)
(ข้อ ๑๙,๓๙)
วิธีสอบราคา
(เกิน๑แสน-๒ล้าน)
(ข้อ ๒๐,๔๐-๔๓)
วิธีกรณีพิเศษ
ไม่จากัดวงเงิน
(ซื้อข้อ ๒๓,๕๗-จ้าง๒๔,๕๘) (ข้อ ๒๖,๕๙)
วิธีพิเศษ
(เกิน ๑ แสนขึ้นไป)
วิธีประกวดราคา
เกิน๒ล้านขึ้นไป
(ข้อ ๒๑,๔๔-๕๖)
วิธีประกวดราคา
ทางอิเล็กทรอนิกส์
วงเงินตั้งแต่ ๒ล้าน
ระเบียบฯพัสดุ
พ.ศ.๒๕๔๙
5
๔ คัดเลือกได้ตวั ผูข้ าย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทาบันทึก
สรุปผลรายงานเสนอขออนุมตั สิ ั ่งซื้อ/จ้าง(ผ่านหน.จนท.พัสดุ)
๕
ผูม้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งซื้อ/จ้าง (ข้อ๖๕,๖๖,๖๗)
จะพิจารณาอนุมตั สิ ั ่งให้ซ้ ือ/จ้างได้ตามที่คณะกรรมการเสนอ
งานพัสดุแจ้งรับราคาและ ผูไ้ ด้รบั คัดเลือก
๖
มาทาสัญญา/บันทึกข้อตกลง
(ข้อ ๑๓๒,๑๓๓)
ผูข้ าย/รับจ้างส่งมอบ
๗
คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง
(ข้อ ๗๑ , ๗๒)
๘
เบิกจ่ายเงินชาระหนี้
บริหารสัญญา/
ข้อตกลง
(แก้ไข/งด,ลดค่าปรับ
,ขยายเวลา (๑๓๙)
-บอกเลิกสัญญา
( ๑๓๗-๑๓๘-๑๔๐)
-สั ่งทิ้งงาน
(ข้อ ๑๔๕-๑๔๕ สัต6 ต)
๙
๑๐
๑๑
คกก.ตรวจรับฯส่งมอบสิ่งของ/งาน
ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุเพื่อนาไปลงบัญชี/
ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สิน(ข้อ๑๕๑-๑๕๒)
เจ้าหน้าที่พสั ดุ ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยัง
หน่วยของผูใ้ ช้งาน
(เบิก-จ่ายพัสดุ) ข้อ ๑๕๓-๑๕๔
การบารุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยูใ่ นสภาพที่ดี
สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน
7
๑๒ การตรวจสอบพัสดุ
ประจาปี
(ข้อ๑๕๕-๑๕๖)
ก่อนสิ้นเดิอนกันยายนทุกปี
-หส.ราชการ-แต่งตั้งคกก.
ที่มิไช่จนท.พัสดุตรวจ
-ให้เริม่ ตรวจวันทาการแรก
ของเดือนตุลาคม/
ให้แล้วเสร็จภายใน
๓๐วันทาการ นับจากตรวจ
หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชารุด /สูญ
หายให้แต่งตั้งคกก.สอบข้อเท็จจริง
๑๓
การจาหน่ายพัสดุ
ข้อ ๑๕๗-๑๖๑
หรือหากใช้งาน
พัสดุใดหมดความ
จะสิ้นเปลือง
จาเป็ นใช้งาน
ค่าใช้จา่ ยมาก
ให้เสนอหส.ราชการเพื่อสั ่งจาหน่าย
โดยวิธี
ขาย/ทอดตลาด แลกเปลี่ยน
โอน
แปรสภาพ/
ทาลาย
8
๑๔
การจาหน่ายพัสดุเป็ นสูญ
กรณีพสั ดุสูญไป
โดยไม่มีตวั ผูร้ บั
ผิด
กรณีพสั ดุสูญไป
โดยมีตวั ผูร้ บั ผิด
แต่ไม่สามารถชดใช้
ตามหลักเกณฑ์ความ
รับผิดทางแพ่ง
กรณียงั มีตวั พัสดุอยู่
แต่ไม่สมควร
จาหน่ายตาม
ระเบียบข้อ๑๕๗
ผูม้ ีอานาจอนุ มตั จิ าหน่าย (๑๕๙)
๑.วงเงินซื้อ/ได้มา รวมกันไม่เกิน ๕ แสน หน.ส่วนราชการ
๒. วงเงินซื้อ/ได้มา รวมกันเกิน ๕ แสน –กระทรวงการคลัง
หรือที่กระทรวงการคลังมอบหมาย
9
๑๕
การลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
๑.เมื่อดาเนินการตามข้อ ๑๕๗ แล้ว ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
• แล้วแจ้งสตง/สตง.ภูมิภาคภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ลงจ่าย
๒.เมื่อดาเนินการตามข้อ ๑๕๙แล้ว (หส.ราชการ อนุมตั ใิ ห้จาหน่ายได้)
ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
• แล้วแจ้งกระทรวงการคลัง หรือผูท้ ี่กระทรวงการคลังมอบหมาย และสตง/
สตง.ภูมิภาค ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ลงจ่าย
• เมื่อดาเนินการตามข้อ ๑๕๐,๑๕๒ แล้ว ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
พัสดุที่ตอ้ งจดทะเบียนตามกม.ให้แจ้งต่อนายทะเบียนภายในเวลาที่กม.กาหนด
ก่อนตรวจสอบพัสดุประจาปี
ข้อ ๑๖๑ พบว่ามีกรณีพสั ดุสูญ/เสื่อมไป/ชารุดบกพร่อง
ให้ดาเนินการเรือ่ งความรับผิดทางแพ่ง หรือระเบียบนี้โดยอนุโลมแล้ว
หลังจากนั้นให้ดาเนินการจาหน่ายตามที่ระเบียบกาหนด
10
กฎหมาย/ระเบียบ/
มติคณะรัฐมนตรี และ
หนังสือแจ้งเวียน
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
11
สานักงาน ป.ป.ช.
มี ประกาศคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทา และแสดงบัญชีรายการ
รับจ่าย ของโครงการที่บุคคลหรือนิตบิ ุคคลเป็ นคู่สญ
ั ญา
กับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๔
มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ เป็ นต้นไป
ประกาศออกโดยพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๔
หมวด ๙/๑ มาตรา ๑๐๓/๗
12
ประกาศดังกล่าว ใช้บงั คับกับ
๑.สัญญาที่เกี่ยวกับการจัดหาพัสดุของหน่วยงานของรัฐ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ หรือ
ระเบียบ ข้อกาหนด กฎ หรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของ
หน่วยงานของรัฐ
๒.สัญญาสัมปทาน
๓.สัญญาให้ทุนสนับสนุ นของหน่วยงานของรัฐเพื่อการวิจยั
หรือเพื่อดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง
-ซึ่งมีมูลค่าตัง้ แต่ ๕๐๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป
เว้นแต่ ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ – วันที่ ๓๑ มีนาคม
๒๕๕๖ ใช้บงั คับกับสัญญาที่มีมูลค่าตัง้ แต่ ๒ ล้านบาท ขึ้นไป
13
ประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัสดุ
ในหมวด ๕ มาตรการเพื่อให้หน่วยงานของรัฐปฏิบตั ิ ดังนี้
ข้อ ๑๕. ให้หน่วยงานของรัฐ กาหนดเงื่อนไข และ
คุณสมบัตขิ องบุคคล หรือนิตบิ ุคคล ที่จะเข้าเป็ น
คูส่ ญ
ั ญา และกาหนดให้คูส่ ญ
ั ญาต้องปฏิบตั ดิ งั นี้
๓. คู่สญ
ั ญาต้องรับ๑. ต้องไม่อยูใ่ นฐานะ ๒. หากได้ดาเนินการจัดซื้อจัด
จ่
า
ยเงิ
น
ผ่
า
นบั
ญ
ชี
เ
งิ
น
เป็ นผูไ้ ม่แสดงบัญชี จ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ฝากกระแสรายวัน
e-Government
รายรับรายจ่าย หรือ Procurement:e-GP ตามข้อ ๑๖
เว้นแต่ การรับจ่าย
แสดงบัญชีรายรับ ต้องลงทะเบียน ในระบบ
แต่ละครัง้ ซึ่งมีมูลค่า
รายจ่ายไม่ถูกต้อง
อิเล็กทรอนิกส์ ของ
ไม่เกินสามหมื่นบาท
กรมบัญชีกลางที่เว็บไซต์ศูนย์
ครบถ้วนใน
คูส่ ญ
ั ญาอาจรับจ่าย
้
ข้
อ
มู
ล
จั
ด
ซื
อ
จั
ด
จ้
า
งภาครั
ฐ
สาระสาคัญ
เป็ นเงินสด ก็ได้
14
การรายงานบ/ช รับ-จ่าย
ข้อ ๑๖ ให้หน่วยงานของรัฐ
ซึ่งได้ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
e-Government Procurement:
e-GP ของกรมบัญชี กลาง
ข้อ ๑๗ ห้ามมิให้หน่วยงาน
ของรัฐ ก่อนิตสิ มั พันธ์กบั
บุคคล หรือนิตบิ ุคคล ซึ่งได้มีการ
ระบุช่ือไว้ในบัญชีรายชื่อว่า
เป็ นคูส่ ญ
ั ญาที่ไม่ได้ย่ืนบัญชี
รายรับรายจ่าย หรือแสดงบัญชี
รายรับรายจ่ายไม่ถูกต้อง
“ให้รายงานข้อมูลของคูส่ ญ
ั ญาที่ ครบถ้วนในสาระสาคัญ
ต้องแสดงบัญชีรายรับรายจ่ายต่อ เว้นแต่ บุคคลหรือนิตบิ ุคคลนั้น จะได้
คณะกรรมการ ป.ป.ช. และ
แสดงบัญชีรายรับรายจ่ายตามประกาศ
กรมสรรพากร
นี้ หรือได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
และมีการสั ่งเพิกถอนรายชื่อจากบัญชี
ดังกล่าวแล้ว
15
มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
มติครม.นร
๐๒๐๒/ว ๑
ลว.๓ม.ค.
๒๕๓๗ เรือ่ ง
มาตรการ
ป้องกันหรือลด
โอกาสในการ
สมยอมกันใน
การเสนอราคา
มติครม.นร
๐๒๐๒/ว ๘๐ ลว.
๓ ม.ค.๒๕๓๗
เรือ่ ง การ
ปรับปรุงแก้ไข
วิธีการประกวด
ราคาจ้างก่อสร้าง
ของทางราชการ
มติครม.สร
๐๒๐๓/ว๕๒
ลว.๒๘มี.ค.
๒๕๒๐ เรื่อง
การระบุคณ
ุ
ลักษณะเฉพาะ
ของสิ่งของ
หรือยีห่ อ้
สิ่งของ
16
มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
มติครม.นร
๐๒๐๕/ว
๔๔ ลว.๒๒
มี.ค.๒๕๓๖
เรื่อง การ
จ้างเอกชน
ออกแบบ
และควบคุม
งาน
มติครม.ด่วน
มาก ทีน่ .ว.
๑๐๕/๒๕๐๔ ลว.
๑๘ ต.ค.๒๕๐๔
เรือ่ ง หลักเกณฑ์
การร้องขอถอน
ชื่อออกจากบัญชี
รายชื่อ
ผูล้ ะทิ้งงาน
มติครม. เมื่อ
๑๓ มี.ค.๒๕๕๕
ด่วนที่สุด ทีน่ ร
๐๕๐๖/๖๕๗๙
ลว.๙มี.ค.๒๕๕๕
หลักเกณฑ์การ
กาหนดราคา
กลางงาน
ก่อสร้าง
17
มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
การสนับสนุ นสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย
๑. มติ ครม. 29 พ.ค. 50 หนังสือสานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค.50
๒.มติ ครม. 21 เม.ย. 52 - ด่วนที่สุด ที่ นร
0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52 **
เรือ่ ง การใช้พสั ดุที่ผลิตในประเทศ หรือ
เป็ นกิจการของคนไทย
18
มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
มติครม.
เกี่ยวกับ
มาตรการ
เร่งรัดการใช้
จ่ายเงิน
ภาครัฐ
(แต่ละปี )
มติครม.
เกี่ยวกับ
มาตรการ
ช่วยเหลือ
ผูป้ ระกอบ
อาชีพก่อสร้าง
(แต่ละปี )
19
มติคณะรัฐมนตรี
มีมาตรการให้ความช่วยเหลือ
ผูป้ ระกอบอาชีพก่อสร้าง
และผูป้ ระกอบอาชีพอื่น
เนื่องจากเกิดอุทกภัย
20
มหาอุทกภัย
ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ประเทศไทยในปี พ.ศ.๒๕๕๔
กับ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๖ มี.ค.๒๕๕๕ แจ้งตาม
หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด
ที่ นร๐๕๐๖/ว ๗๒ ลงวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๕
ในการให้ความช่วยเหลือผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง ทุกงาน
หมดเขตยื่นคาขอ วันที่ ๘ พ.ค.๒๕๕๕
ใช้กบั คู่สญ
ั ญาของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
และหน่วยงานอื่นของรัฐ
21
เป็ นการให้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบการก่อสร้าง เนื่องจากเหตุอุทกภัย
้
ที
เ
่
กิ
ด
ขึ
น
ระหว่
า
งวั
น
ที
่
๒๓
มี
น
าคม
๒๕๕๔
–
๑๘
เมษายน
๒๕๕๔
ข้อ
เฉพาะภาคใต้ ๑๐ จังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
4.1
พัทลุง ตรัง สงขลา กระบี่ ชุมพร พังงา นราธิวาส และสตูล
หลักเกณฑ์
เป็ นสัญญาที่ลงนามก่อน/ขณะ
ให้ขยายสัญญาไปอีก
สัญญาต้องยังมีนิตสิ มั พันธ์
น้ าท่วม(๒๓ มี.ค.-๑๘ เม.ย๕๔)
๑๘๐ วัน
อยู+่ ยังไม่ส่งมอบงานงวด
สุดท้าย หรือส่งงานงวด ถ้าสัญญาครบกาหนด
สุดท้ายในช่วงน้ าท่วม แล้วให้งด/ลดค่าปรับ
สัญญาที่มีค่าปรับอยูแ่ ล้วก่อนน้ าท่วม ผูร้ บั จ้างยังคงต้องรับผิดชอบอยู่
ถ้าก่อนครม.มีมติได้ขยายสัญญา/งด/ลดค่าปรับแล้วไม่ถึง ๑๘๐ วัน ให้เพิ่มให้ครบ
 กรณีน้ ีไม่อยู่ในเกณฑ์ให้ความช่วยเหลือ/ได้แก่ –
ก่อนน้ าท่วม ๒๓ มี.ค ๕๔ หน่วยงานจะบอกเลิกสัญญา เนื่องจากคู่สญ
ั ญาผิดสัญ22ญา
ข้อ
๔.๒.๑ เป็ นการให้ความช่วยเหลือ
4.2
ผูป้ ระกอบการก่อสร้างและ ผูป้ ระกอบการอื่น(ทุกงาน)
กรณีอุทกภัยช่วง ๒๕ ก.ค.๒๕๕๔-๑๖ ม.ค.๒๕๕๕ ที่เกิดขึ้นทั ่วประเทศ
๔.๒๒ หลักเกณฑ์น้ ี
ใช้กบั สัญญาดังต่อไปนี้
จ้างก่อสร้าง ซื้อขาย จ้างที่ปรึกษา จ้างออกแบบ จ้างเหมาบริการ
๔.๒.๓เป็ นสัญญาที่ลงนาม
ไว้ก่อน/หรือขณะน้ าท่วม
(๒๕ก.ค.๕๔-๑๖ม.ค.๕๕)
๔.๒.๔...กรณีที่ได้เสนอราคาไว้
แล้ว แต่ยงั ไม่ลงนามสัญญา
ข้อตกลง..หากผูเ้ สนอราคาไม่
ประสงค์จะเข้าทาสัญญาฯ
(เนื่องจากประสบอุทกภัยจริง)
สัญญาต้องยังมีนิตสิ มั พันธ์อยู่+ยังไม่ส่งมอบงาน
งวดสุดท้าย หรือส่งงานงวดสุดท้ายในช่วงน้ าท่วม
ให้มีหนังสือแจ้งต่อหน่วยงาน
ภายใน ๖๐ วัน นับถัดจากครม.มีมติ
ให้หน่วยงานใช้ดลุ ยพินิจ ยกเลิกการ
ลงนามได้/โดยไม่ถอื ว่าเป็ นผูท้ ้ ิงงาน
และให้คนื หลักประกันซอง
23
๔.๒.๕สัญญาซื้อขายที่ลงนามสัญญา/ข้อตกลงไว้แล้ว
๑
หากคู่สญ
ั ญา
ไม่สามารถ
ส่งมอบของตาม
สัญญาได้
ให้มีหนังสือแจ้ง
ขอตกลงยกเลิกต่อ
หน่วยงานคู่สญ
ั ญา
ได้ภายใน๖๐ วัน
นับถัดจากครม.มีมติ
ไม่ถือว่าเป็ นผูท้ ้ งงาน
ิ
ให้คืนหลักประกัน
๒ สัญญาได้
ถ้ารับเงินล่วงหน้าไปแล้ว
ให้คืนเงินล่วงหน้า
ก่อนคืนหลักประกันสัญญา
หากคู่สญ
ั ญาประสงค์จะปฏิบตั ติ ามสัญญาต่อไป
ให้ขยายสัญญาออกไปอีก ๑๒๐ วัน
24
๔.๒.๖
ระยะเวลา
ที่ให้ขยาย
สัญญาจ้างก่อสร้าง
/สัญญาจ้างอื่น
สัญญาซื้อขาย
ที่อยูใ่ น
เกณฑ์ขอ้
๔.๒.๓
๑๘๐วัน
๑๒๐วัน
๔.๒.๗ถ้าอยูใ่ นหลักเกณฑ์ที่ได้รบั การขยายระยะเวลา ให้ปฏิบตั ิ
ดังนี้
(๑)
...ถ้าสัญญาล่วงเลยวันครบกาหนด
แล้ว/มีค่าปรับอยูก่ ่อนน้ าท่วม
(๒๕ ก.ค.๒๕๕๔)
...ผูป้ ระกอบการยังคงต้อง
รับผิดชอบค่าปรับนัน้ อยู่
จะได้งด หรือลดค่าปรับให้
เฉพาะในช่วงระยะเวลาที่ให้
ความช่วยเหลือเท่านัน้
(๒๕ ก.ค .๕๔ – ๑๖ ม.ค. ๒๕๕๕
25
(๒) ถ้าอายุสญ
ั ญายังไม่ครบกาหนด – ให้ขยายเวลาทาการตาม
สัญญา โดยนับถัดจากวันสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญาเดิม
๔.๒.๘ ถ้าก่อนที่ครม.จะมีมติ ได้ขยายเวลาทาการตามสัญญาหรือ
งด /ลดค่าปรับตามระเบียบฯ พัสดุของหน่วยงาน
เพราะเหตุสุดวิสยั ไปแล้ว ถ้าให้ไม่ถงึ จานวนวันที่ครม. ให้
ก็ให้เพิ่มให้ครบตามหลักเกณฑ์ดงั นี้
สัญญาจ้างก่อสร้าง/สัญญาอื่น
ที่มิใช่สญ
ั ญาจ้างก่อสร้าง
ให้เพิ่มให้จนครบ ๑๘๐ วัน
สัญญาซื้อขาย ให้เพิ่ม
ให้จนครบ ๑๒๐ วัน
26
๔.๒.๙สัญญาอื่นๆดังต่อไปนี้ ให้ขยายเวลาตามหลักเกณฑ์ดงั นี้
ให้หน่วยงานพิจารณาว่า ได้รบั ผลกระทบจากเหตุอุทกภัย
ทาให้ไม่สามารถดาเนินการตามสัญญา หรือไม่ ? ได้แก่
(๑)
สัญญาจ้างที่ปรึกษา ,/ สัญญาจ้างออกแบบ
สถานประกอบการ
สถานที่ทาการ
ของผูร้ บั จ้าง
ของหน่วยงานคู่สญ
ั ญา
สถานที่อื่นใด
ตามสัญญา
ให้ขยายเวลาให้ได้ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง
ทัง้ นี้ หากระยะเวลาที่ได้รบั ผลกระทบทับซ้อนกันอยู่ ให้นาระยะเวลา
ที่ทบั ซ้อนกัน มาหักออกจากระยะเวลาที่ได้รบั ผลกระทบทัง้ หมด
27
(๒)
สัญญาจ้างเหมาบริการ
กรณีสถานที่ทาการของหน่วยงานประสบอุทกภัย
พนักงานของผูร้ บั จ้างไม่อาจมาปฏิบตั งิ านได้
หรือ มาได้ แต่ไม่ครบจานวนวันที่กาหนดไว้ในสัญญา
ให้แก้ไขสัญญา โดยการปรับลดเนื้องาน
และหักเงินค่าจ้างตามสัดส่วนที่พนักงานฯไม่มา
หรือมาแต่ทาไม่ครบ
โดยไม่ตอ้ งคิดค่าปรับรายวันตามสัญญา
28
สัญญาจ้างก่อสร้าง กรณีเกิดเหตุอุทกภัย
ข้อ
4.3 ใน ๑๐ จังหวัดภาคใต้/ หรือทุกจังหวัดทั ่วประเทศ
และ
หากได้
ไม่เคยเข้า
ลงนามสัญญาแล้ว
หากผู ้ ทางานใน
ผูร้ บั จ้าง
รับจ้าง
สถานที่
ไม่อาจขอรับ
ส่งมอบพื้นที่แล้ว
ไม่
ก่อสร้าง/
ความ
ก่อนน้ าท่วม
ปฏิบตั ิ โดยไม่มี ช่วยเหลือตาม
ตาม
เหตุผล มาตรการนี้ได้
สัญญายังมีนิติ
สั
ญ
ญา
สมควร
สัมพันธ์อยูใ่ นช่วง
จนกระทั่ง
น้ าท่วม
นา้ ท่วม
29
ข้อ
สัญญาจ้างก่อสร้างที่ได้รบั ความช่วยเหลือ
4.4
หากมีค่าจ้างเอกชน
ผูร้ บั จ้างต้องรับภาระสาหรับ
-ควบคุมงาน
ระยะเวลาที่ได้รบั การขยายออกไป
-จ้างที่ปรึกษา
หากมีผล
ข้อ
ให้งด /ลดค่าปรับ/คืนค่าปรับ
ไม่ตอ้ งถูกปรับ
4.5
ตามความเป็ นจริง
ให้
ผ
ร
ู
้
บ
ั
จ้
า
งยื
น
่
ค
าร้
อ
งขอ
ข้อ
ภายใน ๖๐ วัน นับถัดจากวันที่
ต่
อ
หน่
ว
ยงานคู
ส
่
ญ
ั
ญา
4.6
คณะรัฐมนตรีมีมติ (๘ พ.ค.๒๕๕๕)
หากอยู
ใ
่
นเกณฑ์
ไ
ด้
ร
บ
ั
ต้องแจ้งสิทธิว่าจะขอรับความช่วยเหลือฯ
ข้อ
4.7 ความช่วยเหลือ ๒ เหตุ ตามข้อ ๔.๑/๔.๒ แต่เพียงเหตุเดียว
30
ข้อ
4.8
ถ้าคู่สญ
ั ญาของหน่วยงานใดเห็น
ว่า การได้รบั ความช่วยเหลือฯตาม
หลักเกณฑ์ ยังไม่สามารถปฏิบตั ิ
ตามสัญญาได้ โดยมีเหตุผลสมควร
ให้หน่วยงานพิจารณา
และเสนอกวพ.พิจารณา
เป็ นกรณีๆไป
ข้อ
4.9
ให้ กวพ. มีอานาจหน้าที่ตคี วามและวินิจฉัยปั ญหาเกี่ยวกับ
การปฏิบตั ใิ นการพิจารณาให้ความช่วยเหลือดังกล่าว
ข้อ
4.10
ให้กระทรวงมหาดไทยนามาตรการนี้ไปใช้บงั คับในการจัดซื้อ
จัดจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย โดยอนุโลม
31
การนับเวลา การยื่นหนังสือร้องขอทางไปรษณีย์
.....ให้ถอื วันที่ส่งไปรษณีย์ โดยประทับตรารับ ณ ที่ทาการไปรษณีย์
เป็ นวันที่ส่วนราชการ / หน่วยงาน ได้รบั แจ้ง
โดยไม่คานึงว่าไปรษณีย์ จะส่งหนังสือถึงส่วนราชการ/หน่วยงาน วันใด
มติกวพ. ๑๐/๒๕๕๕ ระเบียบฯพัสดุ /มติคณะรัฐมนตรีมิได้มีขอ้ กาหนดวิ ธีปฏิบตั ิ
ในเรื่องการส่งคาร้องขอรับความช่วยเหลือเป็ นหนังสือทางไปรษณียไ์ ว้เป็ นการเฉพาะ
กรณี น้ ี เพื่ อ ให้เ กิ ด ความเป็ นธรรมแก่ ผู ้ป ระกอบการที่ ไ ด้ด าเนิ น การดั ง กล่ า ว
เห็นควรอาศัยเทียบเคียงหลักเกณฑ์เรื่องการแจ้งคาสั ่งทางปกครองการนัด พิจารณา
ตามความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ หมวด ๔
ว่าด้วย การแจ้ง ข้อ ๗๑ ที่บัญญัติว่า “การแจ้งโดยวิ ธีการส่ งทางไปรษณี ย์ตอบรับ
ให้ถื อ ว่ า ได้ร ับ แจ้ง เมื่ อ ครบก าหนดเจ็ ด วั น นั บ แต่ วั น ส่ ง ส าหรับ กรณี
ภายในประเทศ หรือ เมื่อครบกาหนดสิบห้าวัน นับแต่วันส่ง สาหรับกรณีส่งไปยัง
ต่างประเทศ เว้นแต่ จะมีการพิสูจน์ได้ว่า ไม่มีการได้รบั หรือได้รบั ก่ อนหรือหลังจาก
วันนัน้ ”
32
หนังสือแจ้งเวียนทีเ่ กีย่ วข้องกับ
การจัดซื้ อจัดจ้าง
๑.การซ้อมความเข้าใจการกาหนดหลักเกณฑ์ และ
มาตรฐานการตรวจรับงานโครงการขุดลอกคู คลอง
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค
๐๔๒๑.๓/ ว ๑๔๗ ลงวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕
ศูนย์ปฏิบตั กิ ารขับเคลื่อนการบริหารการช่วยเหลือผูป้ ระสบอุ ทกภัย
(ศปภ.)ขอให้คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุกาหนดหลักเกณฑ์ และ
มาตรฐานการตรวจรับงานโครงการขุดลอกคูคลองให้เป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน รวมทัง้ เป็ นไปอย่างคุม้ ค่า โปร่งใส และตรวจสอบได้ เพื่อเป็ น
แนวทางในการปฏิบตั งิ าน เป็ นไปตามหลักธรรมาภิบาล เกิดประโยชน์
สูงสุดแก่ราชการและประชาชนต่อไป
ขอให้กระทรวงมหาดไทยรับไปแจ้งให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการให้เป็ นไปในแนวทางเดียวกันด้วย
34
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ กาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐาน
การตรวจรับงานโครงการขุดลอกคูคลองไว้ดงั นี้
ในหลักการ..ตามระเบียบฯพัสดุ (ส่วนราชการข้อ ๗๒/ อปท. ข้อ ๖๕ สรุปได้ว่า
ให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง มีหน้าที่ตรวจสอบรายงานการปฏิบตั งิ านของ
ผูร้ บั จ้างและเหตุการณ์แวดล้อมที่ผคู ้ วบคุมงานรายงาน กับแบบรูปรายการละเอียด
ตามข้อกาหนดของสัญญา กรณีมีขอ้ สงสัยว่าไม่เป็ นไปตามหลักวิชาการให้ออก
ตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ก่อสร้าง
สาหรับโครงการขุดลอกคูคลอง
ให้ส่วนราชการอย่างน้อย ให้ดาเนินการดังนี้
ก่อนการขุดลอก
๒ ประมาณการปริมาณดินก่อนการขุดลอก
๑. ให้สารวจ ตรวจสอบสถานที่ รวมถึง แบบรูป รายการละเอียดของงานใน
แต่ละงาน/โครงการ ให้เป็ นไปตาม
ดาเนินการ เช่น สภาพภูมิ
ประเทศ ความลึกของท้องน้ า วัตถุประสงค์ ตรงตามมาตรฐานของงานของ
แต่ละส่วนราชการเพื่อประกอบการจัดจ้าง
ค่าระดับท้องคลอง เป็ นต้น
35
๓.หลังการขุดลอก
ตรวจสอบปริมาณดินหลังขุดลอก
- โดยตรวจสอบปริมาณงานดินที่ขุดได้ และเปรียบเทียบกับปริมาณงานที่กาหนด
ไว้ในรายการ หรือสัญญา ตามวิธีการที่เป็ นมาตรฐานที่ส่วนราชการกาหนด
- โดยมีผรู ้ บั ผิดชอบลงนามตรวจสอบ ก่อนดาเนินงาน /ระหว่าง
ดาเนินงาน /และเมื่อดาเนินงานแล้วเสร็จ /เพื่อประโยชน์ในการตรวจ
รับการจ้างและการเบิกจ่ายเงิน
๔.ตรวจสอบรูปถ่าย
ก่อนการดาเนินงาน
ขณะดาเนินงาน เมื่อดาเนินงานแล้วเสร็จ
๕.จัดทารายงานการตรวจรับงาน เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ
ทัง้ นี้ หากไม่สามารถดาเนินการตามขัน้ ตอนดังกล่าวข้างต้นได้ อาจขอความ
ร่วมมือจากส่วนราชการอื่นที่มีความเชี่ยวชาญ ชานาญการในเรือ่ งดังกล่าวได้
36
๒.คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ อนุ มตั ยิ กเว้นผ่อนผันให้
กระทรวงมหาดไทย โอนพัสดุครุภณ
ั ฑ์ท่ีมีคุณภาพดี
และยังสามารถใช้งานได้ดี ไปให้หน่วยงานอื่นได้
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด
ที่ กค ๐๔๒๑.๓/ ๐๙๗๓๐ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๕
ข้อเท็จจริง สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยขออนุ มตั โิ อนทรัพย์สินที่
ได้จากการใช้จ่ายเงินงปม.ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดซึ่งมีคุณภาพดี
และยังสามารถใช้งานได้ ไปให้หน่วยงานอื่น ซึ่งรับผิดชอบในการใช้
ดูแลทรัพย์สิน และบริหารจัดการทรัพย์สินดังกล่าวได้
มติกวพ.
-หลักเกณฑ์การจาหน่ายพัสดุตามระเบียบฯข้อ ๑๕๕จะต้องเป็ นพัสดุท่ี
หมดความจาเป็ นในการใช้งานราชการ หรือหากใช้ราชการต่อไป
จะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก และได้ดาเนินการสอบสวนตามข้อ ๑๕๖แล้ว
37
ไม่ปรากฏว่าผูต้ อ้ งรับผิด ส่วนราชการก็อาจจาหน่ายพัสดุออกจากการ
ควบคุมตามข้อ ๑๕๗ การโอนพัสดุท่ีมีคุณภาพดี จึงเป็ นการปฏิบตั ทิ ่ีไม่
เป็ นไปตามระเบียบฯ
เว้นแต่ จะได้รบั การอนุ มตั ยิ กเว้นฯ หรือมีกฎหมายกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น
-กรณีน้ ี เมื่อจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมีความประสงค์จะขอรับการ
จัดสรรงบประมาณมาดาเนินการโดยมีวัตถุประสงค์ท่ีจะมอบพัสดุ
ให้แก่หน่วยงานใดๆ ตัง้ แต่ตน้ และได้ระบุวัตถุประสงค์นนั้ ไว้ตงั้ แต่
ในชัน้ การขอตัง้ งบประมาณ ซึ่งจะปรากฏอยู่ในพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี
-ส่งผลให้ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณสามารถจัดหาแล้วโอนพัสดุ
ให้หน่วยงานนั้นได้ตามที่กฎหมายกาหนดและการโอนพัสดุดงั กล่าว
จะต้องเป็ นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุม่ จังหวัดด้วย
38
-แต่กรณีของงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามพรบ.งบประมาณ
รายจ่ายประจาปี ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๕๓ เป็ นต้นมา
มิได้กาหนด เรือ่ งการมอบพัสดุในลักษณะดังกล่าวไว้
ต่อมา เมื่อจังหวัดและกลุม่ จังหวัด ต้องการโอนพัสดุ จึงต้องถือปฏิบตั ิ
ตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมดังนั้น เพื่อให้พสั ดุ
ที่ได้จดั หาจากการใช้จา่ ยเงินดังกล่าวเกิดประโยชน์ มิตอ้ งเสียไป
โดยมีหน่วยงานที่รบั ผิดชอบชัดเจน เป็ นผูด้ แู ลทรัพย์สินดังกล่าว
-จึงอนุมตั ยิ กเว้นผ่อนผันให้จงั หวัดและกลุม่ จังหวัด โอนพัสดุท่ีได้จดั หา
โดยใช้งบประมาณจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ซึ่งเป็ นพัสดุท่ีมีคุณภาพดี
และยังสามารถใช้งานได้ ไปให้ส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่า
ด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมาย
บัญญัตใิ ห้มีฐานะเป็ นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ
39
โดยให้ คำนึงถึงอำนำจหน้ ำที่และควำมพร้ อมในกำรบริหำรจัดกำร
ทรัพย์ สินของหน่ วยงำนผู้รับโอนด้ วย เพื่อให้ สอดคล้ องกับแผนพัฒนำ
จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดได้ เป็ นกรณีพเิ ศษเฉพำะรำย
ทัง้ นี ้ กำรโอนพัสดุดังกล่ ำว จะต้ องได้ รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำร
บริหำรงำนจังหวัดแบบบูรณำกำร(ก.บ.จ.) และคณะกรรมกำรบริหำรงำน
กลุ่มจังหวัดแบบบูรณำกำร (ก.บ.ก.) ก่ อนทุกครัง้
-ยกเว้น ที่ดิน หรือสิ่งก่อสร้าง ซึ่งโดยสภาพ ตกเป็ นที่ราชพัสดุ และ
ไม่อยูใ่ นความควบคุมตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ดังนั้น กระทรวงมหาดไทย จึงต้องหารือไปยังกรมธนารักษ์ ซึ่งเป็ น
หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ควบคุมที่ราชพัสดุเพื่อพิจารณาต่อไป
ทัง้ นี้ ขอให้ผโู ้ อนและผูร้ บั โอนปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อบังคับของ
หน่วยงานในส่วนของการลงบัญชีหรือลงทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ และ
การจาหน่ายโดยเคร่งครัดต่อไป
40
๒.การจัดหาผูใ้ ห้บริการด้านสาธารณูปโภค
หนังสือเวียนกรมบัญชีกลำง ด่ วนที่สุด ที่ กค (กวพ)
๐๔๒๑.๓/ว๒๗๕ ลงวันที่ ๕ สิงหำคม ๒๕๕๓
สำธำรณูปโภคประเภทใด รำยกำรใดมีผ้ ูให้ บริกำรหลำยรำย
ให้จดั หาตามระเบียบฯพัสดุ เช่ น ค่ ำใช้ บริกำร
อินเตอร์ เน็ต/ ค่ ำเช่ ำใช้ บริกำรวงจรสื่อสำรควำมเร็ วสูง
อินเตอร์ เน็ตกำร์ ด /ค่ ำCable TV /ค่ ำวิทยุส่ ือสำร เป็ นต้ น
สาธารณูปโภคใด ที่มีกฎหมำยระเบียบ หรือข้ อบังคับให้ ต้อง
ติดตัง้ หรือใช้ บริกำร และจ่ ำยค่ ำบริกำรรำยเดือนในอัตรำตำมที่
กฎหมำยกำหนดไว้ โดยเฉพำะ เช่ น ค่ ำไฟฟ้ำ ค่ ำนำ้ ประปำ ค่ ำไปรษณีย์
เป็ นต้ น ไม่ ต้องจัดหำตำมระเบียบฯพัสดุ ไปติดต่ อผู้ขำย/รั บจ้ ำงได้ โดยตรง
41
การจัดหาผูใ้ ห้บริการด้านสาธารณู ปโภค(ต่อ)
จึ งให้ส่วนราชการดาเนินการจัดหา ตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิม่ เติม หรือ
ระเบียบ ฯพัสดุดว้ ยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๙ แล้วแต่กรณี
๓.การอนุ มตั ิผ่อนผันระเบียบฯ ข้อ ๓๕ วรรคท้าย (ผูต้ รวจรับ
พัสดุวงเงินไม่เกิน ๑หมืน่ บาท)และข้อ ๓๗(ผูค้ วบคุมงาน)
ให้แต่งตั้งพนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือ
พนักงานของรัฐ
เป็ นผูต้ รวจรับพัสดุ หรือตรวจการจ้าง/หรือผูค้ วบคุมงานได้
หนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓
(กวพ)/ว ๓๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๓
ทั้งนี้ เพือ่ แก้ไขปั ญหาโครงสร้างอัตรากาลังข้าราชการและ
ลูกจ้างประจา ลดน้อยลง
43
๔.การอนุ มตั ิผ่อนผันให้“ลูกจ้างประจา”
เป็ นคณะกรรมการตามระเบียบฯ พัสดุ ได้
หนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓
(กวพ)/ว ๔๑๗ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๓
วัตถุประสงค์
เพือ่ แก้ไขปั ญหาการขาดแคลนอัตรากาลังข้าราชการ /พนักงาน
ราชการ /พนักงานมหาวิทยาลัย และพนักงานของรัฐ ทีจ่ ะแต่งตั้ง
ให้เข้าร่วมเป็ นคณะกรรมการตามระเบียบพัสดุ
จึ งอนุมตั ิให้แต่งตั้ง “ลูกจ้างประจา” เป็ นคณะกรรมการ
ตามระเบียบฯพัสดุขอ้ ๓๒ ,๓๕,๘๐,๙๘,๑๐๑และ ๑๑๖
โดยให้คานึงถึงความรู ้ ความสามารถ ลักษณะงาน หน้าที่และ
ความรับผิดชอบ ของผูไ้ ด้รบั แต่งตั้งเป็ นสาคัญ
44
๕.การอนุ มตั ิยกเว้นให้แต่งตั้ง “พนักงานมหาวิทยาลัย”
เป็ นหัวหน้าเจ้าหน้าทีพ่ สั ดุตามระเบียบฯพัสดุ ได้
หนังสือกรมบัญชีกลาง ถึงสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓(กวพ)/๓๒๒๔๙ ลว.๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓
วัตถุประสงค์
เพือ่ แก้ไขปั ญหาการปรับโครงสร้างมหาวิทยาลัย โดยข้าราชการ
ปรับเปลีย่ นไปเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัยทาให้ขา้ ราชการมีไม่
เพียงพอต่อการปฏิบตั ิงานด้านพัสดุ
จึ งอนุมตั ิให้แต่งตั้ง “พนักงานมหาวิทยาลัย”
เป็ นหัวหน้าเจ้าหน้าทีพ่ สั ดุได้โดยมีเงือ่ นไขดังนี้ : ๕.๑.ให้แต่งตั้งข้าราชการเป็ นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ
เป็ นลาดับแรกก่อน
45
๕.๒ กรณีมหาวิทยาลัยมีขา้ ราชการไม่เพียงพอต่อการ
ปฏิบตั งิ านในตาแหน่งหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ
-ให้แต่งตัง้ พนักงานมหาวิทยาลัยได้
-โดยให้ดาเนินการตามพรบ.ระเบียบข้าราชการ
พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๑๘ (ข)และ
มาตรา ๖๕/๒ ก่อน
ซึ่งหมายถึงผูอ้ านวยการกอง หรือหัวหน้าหน่วยงานทีเ่ รียกชื่ออย่าง
อื่นทีม่ ีฐานะเทียบเท่ากอง ตามทีค่ ณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอุดมศึกษา(ก.พ.อ.)กาหนดก่อน
เมือ่ ดาเนินการแล้ว จึ งจะแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัยเพือ่ ให้ทา
หน้าทีห่ วั หน้าเจ้าหน้าทีพ่ สั ดุต่อไปได้
46
๖.การจ้างเอกชนดาเนินงาน
• หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนมาก ที่ กค ๐๔๐๖.๔/
ว ๖๗ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓
๑.หากจาเป็ นต้องจากบุคลธรรมดา
-ให้จา้ งเฉพาะโครงการ หรือเฉพาะครั้งคราวทีม่ ีความ
จาเป็ น เพือ่ เสริมการปฏิบตั ิงานในหน้าทีป่ กติ
โดยไม่จาต้องทาข้อตกลงการจ้าง หรือสัญญาจ้าง
เต็มปี งบประมาณ และมิให้ทาข้อตกลง หรือสัญญาจ้าง
ในลักษณะต่อเนือ่ ง
การจ้างเอกชนดาเนินงาน (ต่อ)
• ๒.ลักษณะงานทีจ่ า้ ง ควรเป็ นงานทีซ่ ื้ อบริการจากผูร้ บั จ้างเป็ น
รายชิ้ น เช่น งานรักษาความปลอดภัย งานพาหนะ .......และงาน
เทคนิคต่าง ๆ ทีม่ ีความชานาญมากกว่า เป็ นต้น
• ๓. ห้ามจ้างทีเ่ กีย่ วข้องกับงานราชการลับหรือหากเผยแพร่จะ
เสียหายแก่ราชการ หรือมีผลกระทบต่อประชาชน
• ๔.เป็ นงานทีม่ ุ่งสาเร็จของงานทีว่ ่าจ้างภายในเวลาที่กาหนดเป็ น
สาคัญ
• ๕.อัตราค่าจ้างไม่จาต้องจ่ ายตามวุฒิการศึกษา แต่ให้พิจารณา
จากความรู/้ ประสบการณ์
การจ้างเอกชนดาเนินงาน (ต่อ)
๖. ผู ร้ ับ จ้า งมี ฐ านะเป็ นผู ร้ ับ จ้า งท าของ ตามข้อ ตกลง/สัญ ญาจ้ า ง ตาม
ระเบียบฯพัสดุ ไม่ถือเป็ นบุ คลากรของรัฐ ที่จะมีสิทธิ ได้รบ
ั สิทธิ
ประโยชน์ หรือสวัสดิการเช่นเดียวกับข้าราชการ ลูกจ้างราชการ
-ไม่อยู่ในบังคับประกันสังคม หากประสงค์จะได้รบั ประโยชน์ สามารถ
สมัครเป็ นผูป้ ระกันตนได้ ตามมาตรา ๔๐ พรบ.ประกันสังคม ๒๕๓๓
๗. หากจ าเป็ นต้อ งจั ด หาบุ ค คลมาท างานลัก ษณะประจ าเช่ น เดี ย วกั บ
ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ให้จา้ งลักษณะลูกจ้างชัว่ คราว
จากเงิ นนอกงบประมาณ โดยไม่ ขดั กับระเบียบของเงิ นนอกฯ
และขอกรอบอัตราพนักงานราชการจาก สานักงาน ก.พ.
๗.การซ้อมความเข้าใจ เรือ่ งการจ้างเอกชนดาเนินงาน
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๐๖.๔/
ว ๓๓๗ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๓
การจ้างเอกชนดาเนินงาน สรุปว่า
๑.จะจ้างบุคคลธรรมดา หรือนิตบิ ุคคลก็ได้ โดยให้คานึงถึงระยะเวลา
การจ้าง /และเนื้องานต้องสัมพันธ์กบั การจ้าง
๒. การจ้างลักษณะนี้ จะทาสัญญาปี ต่อปี แต่ถา้ เนื้องานมีระยะเวลา
ไม่เต็มปี จะจ้างไม่เต็มปี ก็ได้ เมื่อหมดความจาเป็ นก็ ควรเลิกจ้าง
๓. กรณีมิให้จา้ งต่อเนื่อง หมายถึง เมื่อสัญญาสิ้นสุดปี ต่อปี หาก
จาเป็ นต้องจ้างต่อก็ให้จดั หาใหม่(วิธีตกลงราคา สอบ/ประกวด
ราคาหรือ วิธีพิเศษ ก็ได้ )
๔ ในช่วงต้นปี ถ้าทาสัญญาไม่ได้ กวพ.อนุมตั ิให้สญ
ั ญาย้อนหลังได้
ตามเงื่อนไขของหนังสือเวียนกวพ. ว ๓๕๑ ลว. ๙ กันยายน ๒๕๔๘
50
ปั ญหา -การจ้างเอกชนดาเนินงานจะจ้างด้วยวิธีใด?
-หลักประกันสัญญา จะประกันด้วยตัวบุคคลได้หรือไม่
ตอบ
๑. การจ้างเอกชนดาเนินงาน เป็ นการจ้างเหมาบริการ จึงให้จา้ งตาม
ระเบียบฯพัสดุ
๒.การทาสัญญาจ้ างบุคคลธรรมดา จึงต้ องมีหลักประกันสัญญาทุกครั้ ง
แนวทางแก้ ไข หากเป็ นการจ้ างด้ วยวิธีตกลงราคา วิธีพิเศษ
จะทาเป็ นบันทึกข้ อตกลงระหว่ างผู้ว่าจ้ างกับผู้รับจ้ าง โดย
ส่ วนราชการสามารถใช้ ดุลพินิจจะกาหนดให้ มีหลักประกัน
สัญญาหรือไม่ ก็ได้
 เนื่องจากการทาบันทึกข้ อตกลงจ้ าง ไม่ มีข้อกาหนดให้ ต้องทาตาม
แบบทีก่ วพ.กาหนด แต่ ต้องมีสาระสาคัญในการจ้ าง และค่ าปรั บ
51
๘.แนวทางปฏิบตั ิในการจ้างมหาวิทยาลัยของรัฐ
ในการบริการด้านวิชาการและการวิจยั
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓/
ว ๖๐ ลงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๓
การจ้างบริการทางด้านวิชาการและการวิจยั ในขอบเขต
สาขาวิชาทีจ่ ดั ให้มีการเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลัยนั้นๆ
ทีใ่ ห้มหาวิทยาลัย รับจ้างให้บริการแก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ หมายถึง
เป็ นงานทีม่ ีลกั ษณะต้องการผลสาเร็จของงานทีเ่ ป็ นงาน
วิชาการเป็ นสาคัญ
เช่น การให้แนวความคิด การออกแบบ การผลิตสือ่ ทีใ่ ช้
เป็ นแบบตามแนวความคิดทีไ่ ด้มีการวางแผน
52
รวมถึงการจัดให้มีการศึกษา อบรม สัมมนา การตรวจ
วิเคราะห์ สารวจ ทดสอบ วางระบบ การให้คาแนะนา การ
ให้บริการเครือ่ งมือและอุปกรณ์ การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
งานบริการด้านการศึกษา สารวจ วิจยั และพัฒนา เป็ นต้น
เงือ่ นไข
ต้องไม่กระทบเสียหายต่อ
การสอน การวิจยั และการ
ปฏิบตั ิหน้าทีอ่ ื่นๆ
ตามปกติของอาจารย์
ให้ส่วนราชการฯจ้าง
เป็ นทีป่ รึกษา โดยใช้
วิธีตกลง ตามระเบียบ
พัสดุฯ ข้อ ๗๗
53
๙.กวพ.มีหนังสือแจ้งเวียนรายการที่ได้รบั
ยกเว้น ไม่ตอ้ งจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ
หนังสือแจ้งเวียนของคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ตามหนังสือที่
กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/ว ๑๙๓ ลว.๘ มิถุนายน ๒๕๕๒
อนุมตั ใิ ห้การจัดหาอาหาร /อาหารว่างและเครือ่ งดื่ม และ
ค่าเช่าที่พกั ของส่วนราชการต่าง ๆ
ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จา่ ยในการฝึ กอบรม
การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และกรณี
อื่น ๆ ตามที่กระทรวงการคลังอนุมตั ใิ ห้เบิกจ่ายได้
โดยไม่ตอ้ งถือปฏิบตั ติ ามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
พัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือเวียน
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ค้ นหำได้ จำกเว็บไซต์
www.cgd.go.th (กรมบัญชีกลาง)
www.gprocurementd.go.th
www.cabinet.thaigov.go.th (สลค)
www.oag.go.th(สานักงบประมาณ)
www.tisi.go.th (สนง.มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
55
กระบวนการ/ขั้นตอน
การบริหารพัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
แบ่งออกเป็ น ๕ ระยะ คือ
ระยะที่ ๑
ระยะที่ ๒ ระยะที่ ๓ ระยะที่ ๔
การ
การกาหนด
ความต้องการ เตรียมการ การ
้อ
จั
ด
ซื
และการขอ
จัดซื้อจัด
จัดจ้าง
ตั้งงบประมาณ
จ้าง
การ
บริหาร
สัญญา
ระยะที่ ๕
การควบคุม
และ
จาหน่าย
พัสดุ
56
ระยะที่ ๑
กระบวนการบริหารเงินงบประมาณ
เพื่อนามาใช้ในการจัดหาพัสดุ
อย่างคุม้ ค่า และมีประสิทธิภาพ
(ขั้นตอนการขอตั้งเงินงบประมาณ)
57
๑.การกาหนดความต้องการด้าน
นโยบาย
ต้องสารวจรายละเอียดโครงการ/
แผนกลยุทธ์ในการขอตัง้ เงิน
งบประมาณ ด้วยวิธี
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
ขอตั้งงบประมาณให้สมั พันธ์กนั เช่น
-ก่อสร้างอาคาร /ต้องตั้งงบประมาณเพื่อใช้
ในการจ้างออกแบบ,จ้างควบคุมงาน/ จ้างที่
ปรึกษา/มีคา่ ครุภณ
ั ฑ์ภายในตัวอาคาร?
มีค่าตอบแทนคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง?
เป็ นต้น
๒.ความต้องการ
ด้านภารกิจปกติ
เช่น
ตัง้ งบประมาณ
ในการจัดซื้อวัสดุ
อุปกรณ์
เครือ่ งมือ
เครือ่ งใช้
ในสานักงานให้
เพียงพอต่อภารกิจ
ทัง้ ปี
ระยะที่ ๒
การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง
เมื่อได้รบั งบประมาณ
59
เงินงบประมาณ
ที่จะนามาใช้กบั การจัดซื้อจัดจ้างจึงได้แก่
เงิน
งบประมาณ
รายจ่าย
เงินที่รมต.ว่าการ
กระทรวงการคลัง
อนุญาตให้ไม่ตอ้ ง
นาส่งคลัง เช่น เงิน
รายได้สถานศึกษา
เงิน
ช่วยเหลือ
จาก
ต่างประเทศ
ประ
จาปี
งบ
จังหวัด
งบกลุ่ม
จังหวัด
เงินกู ้
ที่ กค. กูจ้ าก
ต่างประเทศ
60
เงินนอกงบประมาณ
ไม่อยูใ่ นบังคับจัดหาตามระเบียบฯพัสดุน้ ี
เงินรายได้
ของ
มหาวิทยาลัย
เงินบริจาค
เงินกองทุน
การบริหารเงินงบประมาณที่ได้รบั จัดสรร
หากมีไม่เพียงพอ
หรือไม่ตรงกับความต้องการใช้งาน
ส่วนราชการต้องเตรียมการ
และหาแนวทางแก้ไขปั ญหา
ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น
62
๑.รายการงบประมาณที่ได้รบั จัดสรรมา
ไม่ตรงกับความต้องการใช้งาน จะมีวิธีการอย่างไร ?
เป็ นอานาจของหัวหน้าส่วนราชการ ให้โอนเปลี่ยนแปลงได้
ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณของสานักงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๔๘ แก้ไขใหม่ ฉบับที่ ๔ ใช้บงั คับ ๔ ม.ค.๒๕๕๔ ดังนี้
• ข้อ๑๘ ข้อ ๒๓ วรรคสอง และ
ข้อ๒๔ สรุปว่า
• โดยไม่เพิ่มวงเงิน โดยการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่มีผลกระทบ
ต่อสาระสาคัญของรายการที่
จัดสรร ให้กระทาได้โดยไม่ตอ้ งตกลง
กับสานักงบประมาณ ภายในวงเงิน/
• ในกรณีที่ส่วนราชการ...มีความ
จาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลงรายละเอียด
รายการในการจัดหาครุภณ
ั ฑ์ ที่ดิน
ต่อหน่วย
และสิ่งก่อสร้าง ในงบลงทุน งบเงิน
๑.)
ครุ
ภ
ณ
ั
ฑ์
ไม่
เ
กิ
น
๑
ล้
า
นบาท
อุดหนุน หรืองบรายจ่ายอื่น ที่มิใช่
รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ ๒.ที่ดินและสิ่งก่อสร้างไม่เกิน ๑๐ล้าน
63
-การขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดที่ถือว่าเป็ นสาระสาคัญ
ที่ส่วนราชการจะต้องตกลงกับสานักงบประมาณก่อน
ได้แก่รายการอะไร ?
๑. การเปลี่ยนแปลงสถานที่ไปจากที่กาหนดในแผนงบประมาณ
-ในรายการจัดหาที่ดิน หรือสิ่งก่อสร้าง
ต้องขอเปลี่ยนแปลงเฉพาะกรณีที่มีความจาเป็ นอย่างแท้จริง
โดยให้ช้ ีแจงเหตุผลดังต่อไปนี้
๑.ดาเนินการที่เดิมต่อไปไม่ได้ เนื่องจากขัดข้องเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
๒.หมดความจาเป็ นที่ตอ้ งดาเนินการในที่เดิม เนื่องจากใช้เงินจาก
แหล่งอื่นแล้ว หรือมีหน่วยงานอื่นดาเนินการไปแล้ว
๓.มีเหตุผลชัดแจ้งว่า จาเป็ นต้องเปลี่ยนสถานที่ใหม่ เพื่อแก้ไขปั ญหาความ
เดือนร้อนของประชาชน
๒.กรณีเงินงบประมาณที่ได้รบั จัดสรรไม่เพียงพอ
หัวหน้าส่วนราชการ สามารถกระทาได้ อย่างไร ?
ระเบียบบริหารงบประมาณฯ ข้อ ๒๖ กาหนดว่า กรณีไม่อาจจัดหา
ครุภณ
ั ฑ์ หรือรายการสิ่งก่อสร้างนั้น ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม
 ให้หวั หน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ มีอานาจโอน
เปลี่ยนแปลงรายการรายจ่ายได้ โดยมีวิธีปฏิบตั ดิ งั นี้
๓.กรณีที่มีเงินนอกงบประมาณสมทบ
๑.ให้โอน/เปลี่ยนแปลง
งบประมาณรายจ่ายต่างๆ ภายใต้
แผนงบประมาณเดียวกัน หรือ
๒. นาเงินนอกงบประมาณ ไปเพิ่ม
วงเงินรายการนั้นได้ไม่เกิน๑๐%
ของวงเงินที่ได้รบั การจัดสรร
งบประมาณ
อยูแ่ ล้ว ให้ใช้เงินนอกงบประมาณไป
เพิ่มได้อีกไม่เกิน ๑๐ %ของวงเงิน
รายการนั้น
๔. ถ้ามีเงินนอกงบประมาณไม่พอ
จะใช้เงินงบประมาณไปเพิ่มได้ไม่เกิน
๑๐% ของวงเงินในส่วนที่เป็ นเงินงปม.
65
๓.ในช่วงปลายปี งบประมาณ มีเงินเหลือจ่ายจะนาไปใช้
ได้อย่างไร ?(ระเบียบบริหารงบประมาณฯ ข้อ๒๕)
ให้หวั หน้าส่วนราชการ หรือ รัฐวิสาหกิจ มีอานาจโอน/ เปลี่ยนแปลง
รายการงบประมาณที่เหลือจ่าย ในแผนงบประมาณเดียวกัน
จากการดาเนินงานที่บรรลุวตั ถุประสงค์แล้ว หรือจากการจัดซื้อจัดจ้าง
แล้ว ไปใช้จา่ ยเป็ นรายการใดๆ ได้
ยกเว้นมิให้ใช้ -ในรายการบุคลากรตั้งใหม่ /ค่าที่ดิน/และรายการก่อ
หนี้ผูกพันข้ามปี /หรือนาไปสมทบเป็ นค่าใช้จา่ ยเดินทางไปต่างประเทศ
ชั ่วคราวที่มิได้อยูใ่ นแผนที่สานักงบประมาณเห็นชอบไว้แล้ว/
แต่หากส่วนราชการมีหนี้ตามสัญญาค้างชาระ/หรือมีหนี้ค่า
สาธารณูปโภคค้างชาระ/ให้นาไปจ่ายก่อน
66
๔. การให้นาเงินที่ได้จากการริบหลักประกันสัญญา กรณีที่
คู่สญ
ั ญาปฏิบตั ผิ ิดสัญญา หรือไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญามาใช้จา่ ยเพื่อ
บูรณะทรัพย์สินนั้นคืนมาโดยไม่ตอ้ งส่งคลัง(ใช้สาหรับทรัพย์สิน
ที่อยูร่ ะหว่างประกันความชารุดบกพร่อง หากเกิดความเสียหาย
แจ้งให้ซ่อมแซมแล้วไม่ซ่อม นาหลักประกันที่ริบได้ มาซ่อมได้)
• กระทรวงการคลังอนุญาตให้ทาได้  อนุญาตเป็ นหลักการให้สว่ น
ตามหนังสือแจ้งเวียน
ราชการที่ได้รบั เงินจากการริบ
กรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๓/ว
หลักประกันสัญญา กรณีที่คู่สญ
ั ญา
๕๐๓ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๘
ปฏิบตั ผิ ิดสัญญา หรือไม่ปฏิบตั ติ าม
เรื่อง การอนุญาตให้สว่ นราชการ
สัญญา
เก็บเงินไว้ใช้จา่ ยเพื่อบูรณะ
 ภายในวงเงินครัง้ ละไม่เกิน
ทรัพย์สิน
๑ ล้านบาท
• หลักเกณฑ์น้ ีให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่  มาใช้จา่ ยเพื่อบูรณะทรัพย์สิน หรือ
๑ มกราคม ๒๕๔๙
จัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมาได้ โดยไม่
ต้องนาส่งคลังเป็ นรายได้แผ่นดิน
67
วิธีปฏิบตั ใิ นการ
เตรียมการจัดหาพัสดุ
ในช่วงต้นปี งบประมาณ
เพื่อให้ทนั ต่อการใช้งาน
ที่ควรรู ้
68
ระเบียบฯพัสดุขอ้ ๑๓ ในช่วงต้นปี งบประมาณ.
เพื่อให้ทนั ต่อการใช้งาน ให้เตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง
โดยให้เริ่มดาเนินการได้ ตัง้ แต่ได้ทราบยอดเงินที่จะนามาใช้
• มติกวพ.(ส.ค. ๕๐)วิธีปฏิบตั ิ
๒.ให้เตรียมการจัดหาพัสดุ
โดยสามารถเตรียมการ
ในขั้นตอนใดก็ได้ เช่น:(ออกแบบ/ร่างสอบ
ราคา/ประกวดราคา
๑.ให้เริ่มดาเนินการได้
เมื่องบประมาณ ผ่านการอนุมตั ิ
จากรัฐสภา
หรือได้รบั อนุมตั เิ งินประจางวด
จากสานักงบประมาณ
แต่การดาเนินการนั้น ต้องยังไม่มีลกั ษณะเป็ นการผูกนิตสิ มั พันธ์กบั
บุคคลภายนอก (เพื่อให้สอดคล้องพรบ.วิธีการงบประมาณ มาตรา ๒๓
ที่กาหนดสรุปว่า ห้ามส่วนราชการก่อหนี้ผูกพันก่อนที่พรบ.งบประมาณรายจ่าย
ประจาปี จะมีผลใช้บงั คับ หรือก่อนที่สานักงบประมาณจะจัดสรรเงินประจางวด)
69
การจัดหาพัสดุ ในปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ก่อนที่พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.๒๕๕๕
จะประกาศใช้ ให้ถือว่าทราบยอดเงิน ตามข้อ ๑๓
(หนังสือแจ้งเวียนของ คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ
ด่วนที่สุด ที่กค(กวพ) ๐๔๒๑.๓/ว ๔๒๙ ลว. ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔
๑.งบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ใช้ไปพลางก่อน
-เมื่อได้รบั จัดสรรเงินงวดจากสานักงบประมาณแล้ว
ให้ถือว่าทราบยอดเงินที่นามาใช้จดั หาพัสดุได้
๒.งบกลาง จัดสรรเพื่อช่วยเหลือ ฟื้ นฟู เยียวยา เนื่องจากเหตุอุทกภัย -เมื่อได้รบั ความเห็ นชอบจากคณะกรรมฯช่วยเหลือ ฟื้ นฟู และ
ผ่านการพิจารณาจากครม.และสานักงบประมาณ แล้ว
-ทั้งสองกรณีเมื่อได้ตวั ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้างแล้ว จึงให้ลงนามในสัญญาได้
งบประมาณ ปี พ.ศ.๒๕๕๕ให้เตรียมการจัดหาพัสดุ
ได้ดงั นี้ แต่จะลงนามสัญญาได้เมื่อพรบ.งบประมาณ
รายจ่ายประจาปี พ.ศ.๒๕๕๕ มีผลใช้บงั คับ และสานัก
งบประมาณ จัดสรรเงินงบประมาณให้แล้ว
๑. เมื่อผ่านการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.๒๕๕๕ รวมถึงพิจารณา
รายการเพิ่ม ลดงบประมาณ /และมีขอ้ สังเกตเรียบร้อยแล้ว
๒.งบกลาง รายการค่าใช้จา่ ยในการเยียวยา ฟื้ นฟู และ
ป้องกันความเสียหายจากอุทกภัยอย่างบูรณาการ
เมื่อผ่านการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ/ของ
คณะกรรมการเพื่อช่วยเหลือ ฟื้ นฟูฯ /ครม.และสานัก
งบประมาณ แล้ว
ในช่วงต้นปี งบประมาณ จาเป็ นต้องเช่า /จ้างต่อเนื่องไป
ในปี งบประมาณใหม่ กวพ.อนุมตั ผิ ่อนผันให้สญ
ั ญาเช่า หรือจ้าง
มีผลย้อนหลังได้(ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว ๓๕๑ ลว.๙ก.ย.๔๘)
เพื่อแก้ปัญหาในช่วงต้นปี งบประมาณ หากมีการเช่าหรือจ้าง ทีโ่ ดย
ลักษณะงาน จาเป็ นต้องกระทาต่อเนื่องติดต่อไปในปี งบประมาณใหม่
แต่ยงั ลงนามสัญญาไม่ได้ เนื่องจากพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี
ยังไม่มีผลใช้บงั คับ หรือยังไม่ได้รบั ใบอนุมตั เิ งินประจางวด
ต่อมา ลงนามสัญญาได้แล้ว ก็ให้สญ
ั ญามีผลย้อนหลัง
ไปจนถึงวันเริ่มต้นปี งบประมาณ หรือวันทางานจริง
เช่น เช่าเครือ่ งถ่ายเอกสาร จ้างทาความสะอาด
จ้างเหมาบุคคลธรรมดารายตัว มาช่วยงานข้าราชการ เป็ นต้น
ข้อสังเกต ไม่ใช้กบั งานซื้อ
ต่อ
72
ทั้งนี้ สัญญาจะมีผลย้อนหลังได้
จะต้องอยูภ่ ายใต้เงื่อนไขดังนี้
๑.ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุจดั หาผูร้ บั จ้าง หรือผูใ้ ห้เช่าไว้ก่อนสัญญา
จะสิ้นสุด
๒.รีบเสนอให้ผมู ้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งให้เช่าหรือสั ่งจ้าง ทาการ
อนุมตั ใิ ห้เสร็จเรียบร้อยก่อนสัญญาจะสิ้นสุด
๓.หลังจากนั้นแจ้งให้ผรู ้ บั จ้างเข้าทางาน หรือใช้พสั ดุที่เช่าได้
ทันทีในวันเริ่มต้นปี งบประมาณ
และเมื่องบประมาณมาถึง ให้การลงนามสัญญามีผลย้อนหลัง
ไปตัง้ แต่วันเริ่มต้นปี งบประมาณหรือวันที่เช่าหรือวันที่ทางานจริง
73
เฉพาะปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ คณะกรรมการว่าด้วย
การพัสดุ(กวพ) มีหนังสือเวียนด่วนที่สุด ที่ กค
๐๔๒๑.๓/ ว ๑๕๗ ลงวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๕
อนุ มตั เิ ป็ นหลักการผ่อนผันให้การเช่าหรือการจ้างใน
ปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ที่ใช้เงินงบประมาณ
ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ไปพลางก่อน แต่ส่วนราชการได้ทาสัญญาเพียง
๓ หรือ ๖ เดือน และได้/เช่า/จัดจ้างใหม่ตอ่ ไปถึงสิ้นเดือน
กันยายน ๒๕๕๕ แต่ลงนามในสัญญาไม่ได้ ภายหลังจาก
สัญญาสิ้นสุดลง ให้มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่เริ่มทางานจริงได้
เป็ นกรณีพิเศษ เฉพาะราย โดยไม่ตอ้ งขอตกลงต่อกวพ.
31,ม.ค.55
1 ต.ค. 54
8,ก.พ.
30,ก.ย55
74
ในช่วงใกล้ส้ ินปี งบประมาณ เงินงบประมาณที่ใช้ในการ
จัดหาพัสดุ หากยังไม่ได้เบิกจ่าย
-ให้ขอกันเงินไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปี /หรือขยายเวลาเบิกจ่ายเงินไว้
ตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และ การนาเงินส่งคลัง
พ.ศ.๒๕๕๑ ข้อ ๑๐๑ ซึ่งสรุปว่า
๑.ส่วนราชการใดได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อน
สิ้นปี งบประมาณ...และมีวงเงินตั้งแต่
๕๐,๐๐๐บาทขึ้นไป ...หากเบิกเงินไป
ชาระหนี้ไม่ทนั สิ้นปี งบประมาณ ให้รีบ
แจ้งยืนยันรายการงบประมาณที่ได้ทา
สัญญาไว้แล้วในระบบ GFMIS เพื่อขอ
กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี กรณีมีหนี้ผูกพัน
ที่ยงั เบิกจ่ายไม่หมดอีกครั้งหนึ่ง
๒.กรณียงั ไม่ได้ก่อหนี้
ผูกพันไว้ แต่จาเป็ นต้องใช้
จ่ายเงินนั้นต่อไปอีก
ให้ขอตกลงกับกระทรวงการคลัง
ก่อนสิ้นปี งบประมาณ หาก
ได้รบั อนุมตั แิ ล้วจึงให้กนั เงินไว้
เบิกเหลื่อมปี ได้
75
การบริหารงานพัสดุ
ด้านบุคลากร
ให้พร้อมก่อนการปฏิบตั ิ
76
บุคลากรในการจัดหาพัสดุ
มี ๒ ส่วน
๑.ผูม้ ีอานาจ
๑.๑
อานาจ
ดาเนินการ
จัดหาพัสดุ
๑.๒
อานาจอนุมตั ิ
สั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง
๒.ผูม้ ีหน้าที่
เจ้าหน้าที่พสั ดุ
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ
คณะกรรมการต่างๆ
ผูค้ วบคุมงาน
77
อานาจที่ ๑
ผูม้ ีอานาจดาเนินการจัดหาพัสดุ (ข้อ ๙)
ได้แก่
หัวหน้าส่วนราชการ
ปลัดกระทรวง/อธิบดี /ที่เรียกชื่ออย่างอื่น/ผูว้ ่าราชการจังหวัด
•เว้นแต่ เจ้าของ
•ผู
ไ
้
ด้
ร
บ
ั
มอบ
และจะมอบอานาจต่อไป
อานาจได้มอบ
อ
านาจ
ให้แก่ผดู ้ ารงตาแหน่งใดอีก
ให้
ผ
ว
ู
้
่
า
ฯ
มีหน้าที่ตอ้ ง
ก็ได้
•ผูว้ ่าฯ สามารถ
โดยให้คานึงถึง ระดับ
รับมอบอานาจ
มอบต่อไปให้
ตาแหน่ง /หน้าที่ และความ •จะมอบอานาจ
รองผูว้ ่าฯ ผูช้ ่วย
รับผิดชอบ ของผูไ้ ด้รบั มอบ
นั้นต่อไปอีก
ผูว้ ่าฯ หรือ หส.
อานาจเป็ นสาคัญ
ไม่ได้
ราชการ อีกก็ได้
78
หนังสือมอบอานาจควรระบุในคาสั ่งให้ชดั เจน
จะมอบอานาจในเรือ่ งใด? ให้แก่ใคร ตาแหน่งใด และวงเงินเท่าใด
เป็ นต้น เช่น
มอบให้ใคร เช่น มอบอานาจโดยระบุตาแหน่ง ผูอ้ านวยการ
สานัก... /ผอ.กอง.. /ผอ.ศูนย์.. หรือ ระบุตวั บุคคล มอบให้
นายก.ข.... ฯ
จะมอบให้เรือ่ งใด/แค่ไหนอย่างไร
เช่น การซื้อ/จ้างทุกวิธี ยกเว้น วิธีพิเศษ
•หรือ จะจากัดวงเงิน หรือให้มีอานาจอนุมตั แิ ก้ไขสัญญา งด/ลด
ค่าปรับ ขยายสัญญา/อนุมตั สิ ั ่งซื้อ/จ้างด้วยให้เขียนให้ชัดเจน
79
อานาจที่ ๒“ผูม้ ีอานาจอนุมตั ิให้สงั ่ ซื้ อ /สังจ้
่ าง”
ใช้กบั กรณีเมือ่ หาตัวผูข้ าย หรือรับจ้าง ได้แล้ว
ให้พิจารณาจากวงเงินที่ได้จากผลชนะราคา ตามวงเงินดังนี้
วงเงินวิธีตกลงราคา/
วิธีพิเศษ(ข้อ ๖๖)ได้แก่
สอบราคา/ประกวดราคา
-หส.ราชการไม่เกิน ๒๕ ล้าน
(ข้อ ๖๕)ได้แก่
-ปลัดกระทรวง เกิน ๒๕ แต่
- หส.ราชการไม่เกิน ๕๐ล้าน
ไม่เกิน ๕๐ ล้าน
-รัฐมนตรี เกิน ๕๐ ล้าน
- ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐
วิธีกรณีพิเศษ (ข้อ ๖๗)
ไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน
-หส.ราชการ ไม่จากัดวงเงิน
- รัฐมนตรี เกิน ๑๐๐ ล้าน
80
(แนววินิจฉัยของกวพ.)
การประกาศจัดซื้อ หรือจัดจ้างครั้งเดียวกัน
แต่มีหลายรายการ แม้จะตัดสินแยกแต่ละรายการ
• ในการจะเสนอว่า วงเงินอยูใ่ นอานาจของใคร?
• ใคร? จะเป็ นผูม้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง
ให้ดจู ากวงเงินที่ชนะราคาทุกรายการ แล้วเอามารวมกัน
เช่น รายการที่ ๑ ชนะราคาที่ ๒๐ ล้าน รายการที่๒ ที่ ๓๐ ล้าน
รายการที่ ๓ ที่ ๖๐ ล้าน รวมแล้ว ๑๑๐ ล้าน ผูม้ ีอานาจสั่งซื้อ /
จ้างได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง.........ที่หน่วยงานสังกัด
มิใช่ดจู ากยอดรวมที่ชนะราคาแต่ละรายการ
เรือ่ ง การมอบอานาจของหัวหน้ากลุ่มจังหวัด/และจังหวัด
เป็ นไปตามหนังสือเวียนของคณะกรรมการนโยบายการ
บริหารงานจังหวัด และกลุม่ จังหวัดแบบบูรณาการ
(ด่วนที่สุด ที่ นร(ก.น.จ.)๑๒๐๓/ว ๓ ลว.๒๔/๐๒/๒๕๕๔)
• คาถาม(ข้อหารือ) จ.น่าน
๑. หน.กลุ่มจังหวัดจะมอบอานาจจัดซื้อ/จัดจ้าง ให้หัวหน้าส่วน
ราชการต่างๆ ผูร้ บั ผิดชอบหลักเพียงคนเดียว แต่กระบวนการจัดซื้อ/
จ้าง ผูร้ บั ผิดชอบกิจกรรมย่อยยังต้องดาเนินการเอง เพียงแต่หวั หน้า
ส่วนราชการจะเป็ นผูอ้ นุมตั ิ กระทาได้หรือไม่?
• ๒. หน.กลุ่มจังหวัด/จะต้องมอบอานาจให้หัวหน้าส่วนราชการทุกส่วน
ราชการ ที่รบั ผิดชอบในแต่ละกิจกรรมย่อย ด้วยหรือไม่?
• ๓. กรณีมอบอานาจให้หัวหน้าส่วนราชการที่ผดิ ชอบหลักเพียงผูเ้ ดียว
82
๓.๑ หน.ส่วนราชการที่ได้รบั มอบอานาจ จะต้องแต่งตัง้ จนท. /หน.จนท.
พัสดุของส่วนราชการอื่นที่รบั ผิดชอบโครงการย่อยๆ เพื่อให้
ดาเนินการเฉพาะโครงการ ที่ได้รบั มอบอานาจอีกหรือไม่?
๓.๒ หน.ส่วนราชการที่ได้รบั มอบอานาจมา ไม่ตอ้ งแต่งตัง้ จนท.พัสดุ /
หน.เจ้าหน้าที่พสั ดุ เพื่อดาเนินการจัดซื้อ/จ้างเฉพาะโครงการนัน้ ๆ
อีก หากมีประจาอยู่แล้ว และส่งเรือ่ งให้หน.ส่วนราชการที่ได้รบั มอบ
อานาจอนุ มตั ไิ ด้เลย ใช่หรือไม่?
มติกวพ.การมอบอานาจจัดซื้อจัดจ้าง ต้องปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ
ข้อ ๙ ดังนั้น ขอบเขตของคาสั ่งมอบอานาจ จึงขึ้นอยูก่ บั เจตนารมณ์และ
วัตถุประสงค์เจ้าของอานาจ
โดยต้องระบุให้ชดั เจนว่าจะมอบให้ใคร ตาแหน่งใด เรือ่ งใด วงเงิน
เท่าใด เป็ นต้น
83
ดังนัน้ หากหัวหน้าส่วนราชการได้มอบอานาจให้
หน่วยงานใด เป็ นผูด้ าเนินการจัดหาพัสดุแล้ว
หากหน่วยงานนัน้ ไม่มีเจ้าหน้าที่พสั ดุ หรือหัวหน้า
เจ้าหน้าที่พสั ดุ
ให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตัง้ ข้าราชการอื่นได้ หรือ
ในกรณีมีเจ้าหน้าที่ดงั กล่าวอยู่แล้ว จะแต่งตัง้ เพิ่มเติม
เพื่อให้เกิดความคล่องตัว ก็ได้ ตามระเบียบฯ ข้อ ๕
84
ผูม้ ีหน้าที่ตามระเบียบฯพัสดุ ได้แก่
เจ้าหน้าที่พสั ดุ/
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ/
คณะกรรมการต่างๆ/
และผูค้ วบคุมงาน
85
ผูม้ ีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ(ต่อ)
๑.เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
(ข้อ๕) แก้ไข
เพิม่ เติมฉบับที่ ๙
โดยตาแหน่ง (ปฏิบตั ิหน้าทีเ่ กีย่ วกับพัสดุ)
โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/พ.ราชการ/
๒.หน.เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
(ข้อ ๕)
โดยตาแหน่ง-ผอ.กองพัสดุ/หฝ./หน.งานพัสดุ
โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ/พ.มหาวิทยาลัย
พ.มหาวิทยาลัย/ลูกจ้างประจา/ชั ่วคราว
โดยแต่งตัง้ ใช้กบั กรณีไม่มีเจ้าหน้าที่พสั ดุหรือหัวหน้า
เจ้าหน้าที่พสั ดุหรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอานาจ
ดาเนินการจัดหาพัสดุไปให้หน่วยงานในสังกัดดาเนินการเอง
86
คณะกรรมการต่าง ๆ
การซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง
หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ
ให้ทาหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุกาหนดทุกครั้ง
87
การแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆแต่ละวิธี
เพื่อให้ทาหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนดไว้
(ข้อ๓๔) มีดงั นี้
วิธีสอบราคา
คณะกรรมการ
เปิ ดซองสอบ
ราคา
งานจ้างที่ปรึกษา
คกก.จ้างที่ปรึกษา
โดยวิธีตกลง/
คัดเลือก
วิธีประกวดราคา
วิธีพิเศษ
(มี ๒คณะ)คณะกรรมการ คณะกรรมการ
จัดซื้อ/จัดจ้าง
๑)รับและเปิ ดซอง
โดยวิธีพิเศษ
๒)พิจารณาผล
งานจ้าง
งานซื้อ/จ้างทาของ/
ก่อสร้าง
รับขน/จ้างบริการ
คณะกรรม
ให้แต่งตัง้
การตรวจการ
คณะกรรมการตรวจ
จ้าง
รับพัสดุ
ปั ญหา/การแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจรับที่ไม่ถูกต้อง
ข้อควรรู ้
งานซื้อ/จ้างทาของ/
งานจ้างก่อสร้าง
งานจ้างเหมาบริการ/งานจ้าง • ให้แต่งตัง้ คณะกรรมการ
ตรวจการจ้าง
รับขน/งานจ้างอื่นๆ
• ผูค้ วบคุมงาน
ให้แต่งตัง้ คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ
89
องค์ประกอบคณะกรรมการแต่ละคณะ ตามข้อ ๓๕มีดงั นี้
(แก้ไขโดยระเบียบฯพัสดุ(ฉบับที่ ๗)พ.ศ.๒๕๕๒ใช้ ๑๐ เม.ย.๕๒)
๑.)ประธานกรรมการ๑ คน
๒.) และ กรรมการอื่น
อย่างน้อย ๒ คน
 ให้แต่งตัง้ จาก
ข้าราชการ หรือ/พนักงาน
ราชการ /พ.มหาวิทยาลัย /
พนักงานของรัฐ/
ลูกจ้างประจาก็ได้ (ว ๔๑๗ ลง
วันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๓)
 โดยให้คานึงถึงตาแหน่งหน้าที่ และความรับผิดชอบเป็ นสาคัญ
๓.) เพื่อประโยชน์ราชการจะแต่งตัง้ กรรมการอื่นตามข้อ ๒.)เพิ่ม
ได้อีกไม่เกิน ๒ คน
ให้แต่งตั้งจากผูม้ ีความรู/้ ชานาญ ในงานซื้อ,งานจ้างนั้นเข้าร่วมเป็ นกก.
90
ข้อยกเว้น ไม่ตอ้ งแต่งตั้งในรูปคณะกรรมการ
(ข้อ๓๕วรรคท้าย)
๑.การซื้อ/การจ้าง วงเงินไม่เกิน
๑๐,๐๐๐ บาท
จะแต่งตั้ง ข้าราชการ หรือ
ลูกจ้างประจา หรือ พ.ราชการ/
พ.มหาวิทยาลัย /พนักงานของรัฐ
เพียงคนหนึ่งที่มิใช่ ผูจ้ ดั ซื้อจัดจ้าง
 เป็ นผูต้ รวจรับพัสดุหรืองานจ้างก็ได้
๒. กรณีงานจัดทาเอง(ข้อ๑๕)
-ให้แต่งตั้งผูค้ วบคุม
รับผิดชอบในการจัดทาเอง
-และแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจการปฏิบตั งิ าน
(เว้นแต่
มีเจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบอยูแ่ ล้ว)
91
วิธีการลงมติของคณะกรรมการต่างๆ
หลักการ ระเบียบฯ ข้อ ๓๖ กาหนดให้วนั ลงมติ
ประธาน/และกรรมการ ต้องมาประชุมลงมติ
ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด
การลงมติ
ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน
ให้ประธานออกเสียงเพิ่มขึ้น
อีกหนึ่งเสียงชี้ขาด
เว้นแต่
คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง
ให้ถือมติเอกฉันท์
กรรมการคนใด ที่ไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ
-ให้ทาบันทึกความเห็นแย้งไว้ดว้ ย
92
ผูค้ วบคุมงาน (ข้อ ๓๗)
และหนังสือเวียน กระทรวงการคลัง ด่วนทีส่ ุด
ที่ กค ๐๔๒๑.๓ /ว ๓๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๓
การจ้างก่อสร้างแต่ละครั้ง หัวหน้าส่วนราชการจะต้อง
แต่งตัง้ ผูม้ ีความรู ้ /ความชานาญทางด้านช่าง ในงาน
นั้นๆ ไม่ต ่ากว่า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. )
แต่งตั้งจาก ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัย หรือ พนักงานของรัฐ
ในสังกัด หรือจากสังกัดอื่นโดยได้รบั ความยินยอมจาก
หัวหน้าส่วนราชการของผูน้ ้นั
กรณีจาเป็ นต้องจ้างที่ปรึกษาเป็ นผูค้ วบคุมงานแทน ให้ถือ
ปฏิบตั ติ ามหมวด ๒ ส่วนที่ ๓ หรือส่วนที่ ๔ แล้วแต่กรณี
93
(กรณีศึกษา)การแต่งตั้งผูค้ วบคุมงาน งานก่อสร้าง
ตามระเบียบฯพัสดุ ต้องมีคุณสมบัตอิ ย่างไร
(มติกวพ. ครั้งที่ ๔๒/๒๕๕๓ /๒๑ ต.ค.๕๓)
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หารือกรณีเทศบาลเมือง ย. จะ
แต่งตั้งผูค้ วบคุมงานตามระเบียบฯข้อ ๓๐(ราชการ ๓๗)ซึ่งกาหนดให้
แต่งตั้งจากผูม้ ีความรู ้ ความชานาญทางด้านช่างตามลักษณะงาน
ก่อสร้างนั้น กรณีน้ ี จะต้องนาการปฏิบตั ติ ามพรบ.วิศวกร พ.ศ.๒๕๔๒
มาใช้ในการแต่งตั้งด้วยหรือไม่ ?
ตอบ เนื่องจากระเบียบฯพัสดุ ได้กาหนดคุณสมบัตขิ องผูค้ วบคุมงาน
ไว้เป็ นการเฉพาะแล้ว ส่วนพรบ.วิศวกร พ.ศ.๒๕๔๒ เป็ นเรือ่ งของ
การกาหนดหลักเกณฑ์และคุณสมบัตขิ องผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกร
ควบคุม ซึ่งเป็ นคนละกรณีกบั การแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมงานก่อสร้างตาม
นัยระเบียบฯพัสดุดงั กล่าว
94
อัตราการจ่ายค่าตอบแทน
ผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง
กรณีส่วนราชการได้แต่งตัง้ ข้าราชการ หรือ
ลูกจ้างประจา หรือพนักงานราชการ พนักงาน
มหาวิทยาลัย เป็ นผูค้ วบคุมงาน
*ให้จา่ ยได้ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กระทรวงการคลัง
กาหนด ที่ กค๐๔๐๖.๔/ว ๑๘ ลว.๒๗ ก.พ.๒๕๕๑)
๑. หัวหน้าผูค้ วบคุมงาน วันละ ๓๕๐ บาท
๒. ผูค้ วบคุมงาน
วันละ ๓๐๐ บาท
๓. บุคคลภายนอกที่มิใช่บุคลากรของรัฐ
- ให้เพิ่มจากอัตราที่กาหนดข้างต้นอีกหนึ่งเท่า
95
กรณีศึกษา ตามแนววินิจฉัยของ กวพ.
การเบิกจ่ายค่าควบคุมงานเมื่อพ้นกาหนดเวลาส่งมอบแล้ว
จะเบิกจ่ายได้หรือไม่ ?
ผูร้ บั จ้างทางานล่าช้าเกินกว่าสัญญา
สัญญาข้อ ๑๕ กาหนดว่า ...หากผูร้ บั จ้างไม่สามารถทางานให้
แล้วเสร็จตามสัญญา...ผูร้ บั จ้างจะต้องชาระค่าใช้จา่ ยเป็ นค่า
ควบคุมงานให้แก่ผวู ้ ่าจ้าง ในเมื่อผูว้ ่าจ้างต้องจ้างผูค้ วบคุม
งานอีกต่อหนึ่ง เป็ นจานวนวันละ...๔๕๐ บาท นับถัดจากวัน
ครบกาหนดสัญญา หรือวันที่ได้รบั การขยายสัญญา....
มติกวพ.ครัง้ ที่ ๑๙/๒๕๕๔
ค่าคุมงานในที่น้ ี หมายถึง กรณีผวู ้ ่าจ้างไปจ้าง
เอกชนเป็ นผูค้ วบคุมงาน
96
ดังนั้น กรณีสว่ นราชการแต่งตัง้ เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ
เป็ นผูค้ วบคุมงานเอง จึงไม่อยู่ในความหมายของสัญญาที่ว่า...
....ผูว้ ่าจ้างต้องจ้างผูค้ วบคุมงานอีกต่อหนึ่ง.....
สาหรับกรณีตามสัญญาจ้าง ข้อ ๑๕ กาหนดว่า
...นอกจากนี้ ผูร้ บั จ้างยอมให้ผวู ้ ่าจ้างเรียกค่าเสียหายอัน
เกิดจากการที่ผรู ้ บั จ้างทางานล่าช้า เฉพาะส่วนที่เกินกว่าจานวน
ค่าปรับและค่าใช้จา่ ยดังกล่าวด้วย...
้ กรณีน้ ี ค่าใช้จา่ ยที่เพิ่มขึ้นของเจ้าหน้าที่
 ดังนัน
ที่ส่วนราชการผูว้ ่าจ้างแต่งตัง้ ให้เป็ นผูค้ วบคุมงานนัน้
ย่อมถือได้ว่า ....เป็ นค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ส่วนราชการ
อันเนื่องมาจากผูร้ บั จ้างทางานล่าช้าด้วย......
97
ส่วนราชการย่อมสามารถเรียกค่าเสียหายใน
ส่วนนี้ได้
แต่จะเป็ นส่วนที่เกินกว่าจานวนค่าปรับที่
กาหนดไว้แล้ว หรือน้อยกว่า อันจะทาให้เกิดสิทธิ
เรียกร้องตามสัญญาจ้างข้อ ๑๕ หรือไม่ ย่อม
สุดแต่ขอ้ เท็จจริงในแต่ละกรณี
98
การแต่งตัง้ คณะกรรมการกาหนดราคากลาง
งานจ้างก่อสร้าง ทุกครั้ง/ทุกวิธี/ทุกวงเงิน ให้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ
จากข้าราชการ เพื่อคานวณราคาค่าก่อสร้างนาไปใช้เปรียบเทียบราคา
ของผูเ้ สนอราคา(มติครม.เมื่อ ๑๓ มี.ค.๒๕๕๕) โดยกระทรวงการคลัง มี
หนังสือเวียนด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๕/ว๒๗ ลว.๓๐ มี.ค.๒๕๕๕
• ราคากลาง หมายถึง ราคาค่าก่อสร้าง ดังนั้น ราคากลางงานก่อสร้างของ
ในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่
ทางราชการจึ งไม่ไช่ราคา
ละงาน/โครงการ ซึ่งได้จากการ
มาตรฐานของงานก่อสร้าง แต่เป็ น
ประเมิน หรือคานวณตามหลักเกณฑ์
ราคาทีไ่ ด้จากการคานวณตาม
และวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
หลักเกณฑ์
• ซึ่งเป็ นราคาที่ทางราชการยอมรับได้ ให้ทาบันทึกส่งสตง.หากผล
ไม่สูงจนผูป้ ระกอบกอบการได้กาไร
ประกวดราคามีราคากลางที่
มากเกินกว่าที่ควรได้รบั และไม่เป็ น
กาหนดไว้สงู / ตา่ กว่าราคาที่
ราคาที่ตา่ จนผูป้ ระกอบการไม่
ประกวดราคาได้เกิน ๑๕% ขึ้ นไป
สามารถที่จะดาเนินการก่อสร้างได้
99
กรณีศึกษา
งานจ้างก่อสร้างที่มิได้แข่งขันราคา เช่น
วิธีตกลงราคา/วิธีพิเศษ/หรือวิธีกรณีพิเศษ
ยังคงจะต้องแต่งตัง้ คณะกรรมการกาหนดราคากลาง
เหมือนกัน
ยกเว้น/งานต่อไปนี้ไม่ตอ้ งแต่งตัง้ คกก.กาหนดราคากลาง
หน่วยงานซื้อพัสดุ
มาดาเนินการเอง
งานก่อสร้างใน
ต่างประเทศ
100
ระยะที่ ๓
การจัดซื้อ/จัดจ้าง
101
การเตรียมการจัดหาพัสดุแต่ละวิธี
ต้องจาแนกพัสดุที่จะซื้อ /หรือจะจ้าง
“ อะไรเป็ นพัสดุ ที่ตอ้ งจัดหาด้วยวิธีใด
ซื้อ /วิธีจา้ ง /เช่า /แลกเปลี่ยน” (ระเบียบข้อ ๕)
การซื้อ หมายความว่า
ซื้อพัสดุ ทั้งที่มีการติดตัง้
ทดลอง และบริการที่
เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ
การจ้าง หมายความว่า
การจ้างทาของ/ การรับ
ขน/การจ้างเหมาบริการ
การจ้างก่อสร้าง
การซื้อ/การจ้าง หมายความว่าอย่างไร?
มติกวพ.ครัง้ ที่ ๕๑/๒๕๕๓(๒๓ ธ.ค.๒๕๕๓)
การซื้อ หมายถึง ผูข้ ายสินค้าได้มีการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ
ของสิ่งของนัน้ ๆไว้แล้วตามตัวอย่าง /แค็ตตาล็อก เมื่อผูซ้ ้ ือสั่งซื้อ
ผูข้ ายจะดาเนินผลิตตามตัวอย่าง/แค็ตตาล็อก
-นอกจากนี้ ผูซ้ ้ ือยังสามารถให้ผขู ้ ายจัดทารายการใดๆเพิ่มเติม
นอกเหนือไปจากรูปแบบในตัวอย่าง/แค็ตตาล็อกเป็ นพิเศษอีกก็ได้
การจ้าง หมายถึง ผูว้ ่าจ้างจะเป็ นผูอ้ อกแบบคุณลักษณะเฉพาะ
ของสิ่งของที่จะจ้างทานัน้ ๆก่อน แล้วจึงจะนาแบบที่คดิ ไว้นนั้
ไปจ้างทาตามแบบที่ตอ้ งการ
มีขอ้ หารือของหน่วยงานก. ซื้อรถยนต์ แต่ขอให้ผขู ้ ายติดตัง้ อุปกรณ์
ต่างๆเพิ่มเป็ นพิเศษ จึงถือได้ว่าเป็ นงานซื้อ/มิใช่จา้ ง
คำวิ
นิจ้ อฉัครุ
ยกวพ.
ที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๓๓๒๒๐
การซื
ภณ
ั ฑ์ท(RF
่ีเป็ นของใช้
แล้วไว้ใช้ในราชการ
ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๕๔)
าไม่
ได้ มติแจ้งตำมหนังสื อ
กรมประมงหำรือว่ำ กระท
ตำมที
ค
่ รม.มี
สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ที่ สร ๐๒๐๓/ว
๗๒ ลว.๑๖ พ.ค.๒๕๒๓ และที่ นร ๐๒๐๒/ว๑
๕๘ ลว ๑๒ ต.ค.๒๕๕๓ ผ่อนผันให้ส่วน
รำชกำรซือ
้ ครุภณ
ั ฑ์ใช้แล้วไว้ใช้ในรำชกำรได้
ภำยในวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บำท หำกเกิน
กว่ำ ๑๐๐,๐๐๐ บำท และเป็ นครุภณ
ั ฑ์ทีจ่ ะ
นำไปใช้ในกำรอบรมหรือกำรสอนของส่วนรำชกำร
ทีเ่ ป็ นสถำนศึ กษำ ให้เสนอสำนักงบประมำณ
คพิาตอบ
เนื
่
อ
งจากกวพ.ได้
ก
าหนดตั
ว
อย่
า
งเอกสารประกวดราคา
จำรณำอนุ มต
ั เิ ป็ นรำยๆ ไป จึงหำรือว่ำ ขณะนี้
ซื้องไว้
ง
สื
อ
ส
านั
ก
นายกรั
ฐ
มนตรี
ด่
ว
นมาก
ที
่
นร(กวพ)
ยั
ใชตามหนั
ได
อยู
อี
ก
หรื
อ
ไม
?
้ ้ ่
่
๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ ลว.๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒ สรุปว่า
104
“พัสดุทจี่ ะซือ
้ จะต้องเป็ นของแท้ ของใหม่ ไม่เคยใช้
งำนมำก่อน ไม่เป็ นของเก่ำเก็บ อยู่ในสภำพทีจ่ ะใช้
งำนได้ดี และมีคุณลักษณะเฉพำะตรงตำมทีก
่ ำหนดไว้
ในเอกสำรประกวดรำคำฉบับนี้”
และหนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ)๑๒๐๒/ว ๑๑๖ ลว.
๑ เมษายน ๒๕๓๕ ได้กาหนดตัวอย่างสัญญาซื้อขาย โดย ข้อ ๑ วรรคสอง
กาหนดว่า “ผูข้ ายรับรองว่า สิ่งของที่ขายให้ตามสัญญานี้เป็ นของแท้
ของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป้นของเก่าเก็บ และมีคุณภาพและ
คุณสมบัตไิ ม่ตา่ กว่าที่กาหนดไว้ในเอกสารแนบท้ายสัญญา”
ดังนัน้ ในการจัดซื้อพัสดุตามระเบียบฯพ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ส่วนราชการจึงต้องถือปฏิบตั ติ ามหนังสือแจ้งเวียนดังกล่ าว
ส่วนกรณีท่ีหารือว่ามติครม.ทัง้ สองฉบับข้างต้นยังมีผลใช้บงั คับอยู่
หรือไม่ ขอให้หารือไปยังสานักงบประมาณโดยตรงต่อไป
105
งานจ้างก่อสร้าง คืองานอะไร (มติกวพ.ปี ๕๒)
• งานก่อสร้าง หมายถึง งานก่อสร้างตามหลัก
ทั ่วไป ที่มีกม. ระเบียบ /มติครม./ หนังสือเวียน
ที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ เช่น กวพ.แจ้งเวียน /ว
๑๙๓๙ ลว.๒๔ก.พ.๓๗ว่า-งานก่อสร้างหมาย
รวมถึง งานเคลื่อนย้ายอาคาร,งานดัดแปลง/
ปรับปรุง ต่อเติม/ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง ที่หัวหน้า
ส่วนราชการเห็ นว่าจาเป็ นต้องมีผคู ้ วบคุมดูแล
การปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างตลอดเวลา/
• มติครม.ว ๙ลว. ๖กพ๕๐- งานก่อสร้างอาคาร/
ชลประทาน/ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม
• มติครม.ว๑ ลว.๓ ม.ค.๓๗ งานดินที่ไม่มีการดาด
คอนกรีต ได้แก่ถนนลูกรัง/ถนนดิน/งานขุดลอก
คู คลอง สระ หนอง เป็ นงานก่อสร้าง
หลักพิจารณาว่าอะไรเป็ น
งานจ้างก่อสร้าง ได้แก่
 สัญญาซื้อขายที่มีงาน
ก่อสร้าง หรือพร้อมติดตั้ง
โครงสร้างพื้นฐานรวมอยูด่ ว้ ย
 ให้พิจารณาว่า หากมีงาน
ก่อสร้างเป็ นสาระสาคัญ ซึ่ง
ราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่
ติดตั้ง ถือว่า เป็ นงาน
ก่อสร้าง เช่น งานติดตั้ง
สะพานลอยทางเดินข้ามถนน
ก่อสร้างรั้ว
106
วิธีปฎิบตั ิ
เกี่ยวกับการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ
ของสิ่งของที่จะซื้อ/หรือขอบเขตงานที่จะจ้าง
Specification(Spec)
107
การกาหนดขอบเขตของสิ่งของที่ซ้ ือ/จ้าง(Spec)
หลักาหนดคุ
การ ณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา หรือ ผูเ้ สนองาน
** การก
-รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ซ้ ือหรืองาน
จ้าง -การวินิจฉัยตีความคุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา หรือ ผูเ้ สนอ
งานแต่ละรายว่า เป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้
หรือไม่
เป็ นอานาจของหน่วยงานที่จดั หาพัสดุ สามารถใช้ดุลย
พินิจกาหนดได้ตามความต้องการของหน่วยงาน
**
แต่ ต้ องอย่ ภู ายใต้ หลักเกณฑ์ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ คาสั่ง หรื อ
มติคณะรั ฐมนตรี ที่เกีย่ วข้ องกาหนดไว้
108
มีมติคณะรัฐมนตรี
ตามหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่สร ๐๔๐๓/ว ๙๓ ลว.
๗ พ.ย. ๒๕๑๒ -และสร ๐๒๐๓/ว ๑๕๗ ลว.๒๗ ธ.ค. ๒๕๑๙
กรณีที่เป็ นการแข่งขันราคา
การกาหนด(Spec) ของสิ่งของ /หรือยี่หอ้ สิ่งของในงานซื้อ
ห้ามล็อกสเปค
*** ห้ าม
คาว่า Lock Spec หมายความว่า
1. กาหนดคุณลักษณะสิ่งของให้ใกล้เคียงกับยี่หอ้ ใดยี่หอ้ หนึ่ง
2. หรือระบุย่ีหอ้ สิ่งของที่จะซื้อ โดยเจาะจง
เว้นแต่ ที่มีขอ้ ยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค เครือ่ งอะไหล่ เป็ นต้น
109
การสนับสนุนสินค้าที่มีผลิตในประเทศ
** มติ ครม. 29 พ.ค. 50 -ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50
การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ ให้ใช้พสั ดุท่ีผลิตในประเทศ และ
ถือปฏิบตั ติ ามระเบียบหรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของหน่ วยงาน
ผูด้ าเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด
ในประกาศ/หนังสือเชิญชวน
-ให้หว้ หน้าหน่วยงานของรัฐ ระบุความต้องการสิ่งของ(สินค้า)
เฉพาะสินค้าที่ได้มาตรฐาน มอก.
พัสดุท่ีผลิตในประเทศ หมายความว่า .......
** ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสาเร็จรูปแล้ว โดยสถานที่ผลิตตั้งอยูใ่ นประเทศไทย
(ระเบียบฯ ข้อ 5)
** หมายความรวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการประกอบ หรือขึ้นรูป
ในประเทศไทยด้วย (ตรวจสอบจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรม)
110
กรณีจาเป็ นต้องการซื้อพัสดุจากต่างประเทศ
กรณีตอ่ ไปนี้ ให้เสนอรัฐมนตรีพิจารณา*
๑.ถ้ามีพสั ดุที่ผลิตในประเทศ แต่ไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการในประเทศ หรือมีนอ้ ยราย
๒. จาเป็ นต้องใช้พสั ดุที่ผลิตจากต่างประเทศ
หรือจะต้องนาเข้าจากต่างประเทศในกรณี
เป็ นประโยชน์ยงิ่ กว่า
111
การซื้อพัสดุจากต่างประเทศ (ต่อ)
มติครม. ยกเว้น
1 การจัดหาที่มีวงเงินไม่สูง ให้เป็ นอานาจของ
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ที่จะพิจารณาอนุ มตั ไิ ด้ 2 กรณี ดังนี้
1) เป็ นการจัดหาอะไหล่ ที่จาเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ คุณลักษณะ
เฉพาะและ จาเป็ นต้องนาเข้าจากต่างประเทศ
2) เป็ นการจัดหาที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท หรือ ราคาพัสดุท่ี
นาเข้าจากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 2 ล้านบาท
2. การใช้พสั ดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือนาเข้าจากต่างประเทศ
หมายถึง การใช้ หรือ การนาเข้าพัสดุท่ีผลิตสาเร็จรูปแล้ว จาก
ต่างประเทศไม่ว่าจะนาเข้าโดยคู่สญ
ั ญาหรือบุคคลอื่นใด
112
พัสดุที่ผลิตในประเทศ
ที่ได้มาตรฐานมอก. / ISO /ผลิตภัณฑ์จดทะเบียน
หาดูได้จาก websiteของสมอ.
ISO
9001:2000
มาตรฐาน
มอก.
ผลิตภัณฑ์
จดทะเบียน
หาดูได้จาก บัญชีค่ม
ู ือผูซ้ ้ ือ หรือใบแทรกคู่มือผูซ้ ้ ือ
ที่กระทรวงอุตสาหกรรม(สมอ.)จัดทาขึ้น
ถึงเดือนก่อนหน้าที่จะประกาศซื้อหรือจ้าง
113
(ตัวอย่างข้อหารือ)
การจัดซื้อครุภณ
ั ฑ์การแพทย์ตอ้ งระบุในประกาศหรือไม่ว่า
ผูข้ ายจะต้องมีแบบแจ้งรายการละเอียดเครื่องมือแพทย์
มาแสดงด้วย
หนังสือตอบหารือ จ.สิงห์บุรี ที่ กค ๐๔๒๑.๓/๒๘๙๐๗/๒๕๕๓
มติกวพ. เนื่องจากตามพระราชบัญญัตเิ ครื่องมือแพทย์ พ.ศ.
๒๕๕๑กาหนดให้ผปู ้ ระกอบการผลิต หรือนาเข้า จะต้องแจ้ง
รายการละเอียดเครื่องมือแพทย์
ดังนัน้ เมื่อมีกฎหมายบังคับ ส่วนราชการผูซ้ ้ ือก็ควรจะกาหนด
เป็ นเงื่อนไขไว้ในประกาศสอบราคาให้ผขู ้ ายต้องมีแบบแจ้ง
รายการละเอียดเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายดังกล่าว
(กรณีศึกษากาหนดSpec)
การจ้างเหมาบริการครุภณ
ั ฑ์การแพทย์ที่โรงพยาบาล
โดยคิดค่าจ้างตามเนื้องานที่ทาเสร็จจริง กระทาได้
โรงพยาบาลบุรีรมั ย์จะจ้างเหมาบริการครุภณ
ั ฑ์การแพทย์
(เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิดความเร็วสูง)
มีเงื่อนไขการจ้างว่า
-สามารถตรวจอวัยวะส่วนต่างๆของงร่างกายได้ทุกส่วนทั ่วร่างกาย
มีอุปกรณ์ใช้งานครบถ้วน มีคณ
ุ สมบัตอิ ย่างน้อยตามที่กาหนด
-สามารถปรับปรุง(Upgrade) และเพิ่มเติมอุปกรณ์อ่ืนๆได้ใน
อนาคต นาเครือ่ งมาตัง้ ไว้ในโรงพยาบาล
-จะจ่ายค่าจ้างเป็ นรายเดือน ตามเนื้องานทาเสร็จจริงเมื่อส่งมอบ
และตรวจรับถูกต้องแล้ว โดยแบ่งจ่ายเป็ นงวดๆ ๑๒ งวด
115
มติกวพ. หนังสือตอบด่วนที่สุด ที่ กค๐๔๒๑.๓/๓๐๓๑๖/๓๐ก.ย./๕๔
ระเบียบฯพัสดุขอ้ ๕ กาหนดให้การจ้างหมายความรวมถึง
การจ้างทาของ การรับขน และการจ้างเหมาบริการ
-กรณีโรงพยาบาลประสงค์จะจัดหาครุภณ
ั ฑ์ทางการ
-ในการทาสัญญา กวพ.
แพทย์ โดยวิธีจา้ งเหมาบริการ โดยกาหนดความ
มิได้ออกแบบตัวอย่าง
ต้องการให้ผรู ้ บั จ้างนาเครือ่ งเอกซเรย์โทโมกราฟี่ ชนิด
สัญญาจ้างเหมาบริการ
ที่มีความเร็วสูงและมีประสิทธิภาพสูง มาใช้ เห็ นว่า
เครื่องเอกซเรย์
-ในการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่ คอมพิวเตอร์ฯไว้เป็ นการ
เฉพาะ ดังนั้น จึงขอให้
จะซื้อ หรือขอบเขตของงานที่จะจ้าง ย่อมอยู่ใน
ดุลยพินิจของส่วนราชการที่สามารถกาหนดได้ โรงพยาบาลนาตัวอย่างร่าง
สัญญาจ้างครุภณ
ั ฑ์ทางการ
ตามความต้องการ แต่ตอ้ งเปิ ดเผย โปร่งใส
แพทย์มายกร่าง แล้วส่ง
และเปิ ดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็ น
ร่างนั้นให้สานักงาน
ธรรม และสอคล้องกับวัตถุประสงค์ของแหล่ ง อัยการสูงสุดพิจารณาตาม
เงินที่ได้รบั จัดสรรด้วย
ระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ ต่116
อไป
การกาหนดขอบเขตของ
งานจ้างก่อสร้าง(Spec)
แบ่งออกเป็ น ๒ ส่วน คือ
๑.
๒.
กาหนดคุณสมบัติ
ที่ตวั ของผูเ้ ข้าเสนอราคา
หรือ ผูเ้ ข้าเสนองาน
จ้างก่อสร้าง
กาหนดรายละเอียดหรือ
คุณลักษณะเฉพาะของ
ที่ตวั พัสดุ
ที่ใช้ในงานจ้างก่อสร้าง
117
ให้กาหนดคุณสมบัติของผูเ้ ข้าเสนอราคา/เสนองาน
เช่น ได้เฉพาะตามตัวอย่างเอกสารที่ กวพ.กาหนด
เป็ นผูม้ ีอาชีพรับจ้างงานที่ประกาศเชิญชวน
ไม่เป็ นผูถ้ ูกระบุชื่อเป็ นผูท้ ้ ิงงานของทางราชการ
ไม่เป็ นผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน
ไม่เป็ นผูก้ ระทาการขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม ณ วันประกาศ
ไม่เป็ นผูไ้ ด้รบั เอกสิทธิ์ความคุม้ กัน ที่ปฏิเสธไม่ยอมขึ้นศาลไทย เว้นแต่ สละสิทธิ์
 ต้องผ่านการคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น
ต้องเป็ นนิตบิ ุคคล(กรณีงานก่อสร้าง ๑ ล้านบาทขึ้นไป)
ปปช.ให้กาหนดคุณสมบัตเิ พิ่มว่าต้องเป็ นผูแ้ สดงบ/ช รับ-จ่าย/ ต้องลงทะเบียน
ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลางที่เว็บไซต์ศูนย์ขอ้ มูลจัดซื้อจัดจ้าง/ต้อง
รับ-จ่ายเงินผ่านบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน เว้นแต่ การรับจ่าย แต่ละครัง้ ซึ่งมี
มูลค่าไม่เกินสามหมื่นบาท คูส่ ญ
ั ญาอาจรับจ่ายเป็ นเงินสด ก็ได้
118
ห้ามกาหนด (Spec)ผูเ้ ข้าเสนอราคา/งาน ดังนี้
หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ที่
นร(กวพ)๑๓๐๕/ว ๗๙๑๔ ลว.๒๒ก.ย.๔๓
ห้ามกาหนดคุณสมบัตผิ เู ้ ข้าเสนอราคางานจ้างก่อสร้าง ดังนี้
ห้ามกาหนดทุนจดทะเบียน
ห้ามกาหนดว่าต้องเป็ นผูป้ ระกอบการที่มีผลกาไร
หรือต้องมีเครื่องมือ เครื่องจักรอยูก่ ่อน หรือขณะเข้าเสนอราคา
ต้องมีหนังสือรับรองทางการเงินจากสถาบันการเงินมาแสดง เป็ นต้น
ข้อยกเว้น-ให้กาหนดได้เฉพาะ -โดยให้กาหนดได้ไม่
ผลงานก่อสร้างของผูเ้ สนองาน
เกิน๕๐% ของวงเงิน
ตามมติ ครม, ที่ นร ๐๒๐๒/ว ๑ งบประมาณ หรือวงเงิน
ลว. ๓ ม.ค. ๒๕๓๗
ประมาณการ
119
มติคณะรัฐมนตรี (๒๘ ธ.ค.๒๕๓๖)
หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ด่วนมาก ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๑ ลว. ๓ ม.ค.๒๕๓๗
๑.กรณีการประกวดราคามิได้กาหนดงวดงานไว้ ให้กาหนด
เงื่อนไขในสัญญาจ้างให้ผรู ้ บั จ้างจะต้องเสนอแผนการทางานด้วย
๒.กาหนดให้มีการประกันความชารุดบกพร่องของงานก่อสร้าง
ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ปี ยกเว้น ถนนลูกรัง ถนนดิน งานขุดลอกคู
คลอง สระ หนอง ซึ่งเป็ นงานดินไม่มีดาดคอนกรีต
๓.กรณีจาเป็ นต้องกาหนดผลงาน ให้กาหนดได้ไม่เกิน
ร้อยละ ๕๐ของวงเงินที่จะจ้างในครัง้ นัน้
120
คาว่า“ผลงานก่อสร้างของผูเ้ สนอราคา”
ส.เวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ)1204/ว11441 ลว.28
พ.ย.39 กาหนดเงื่อนไขไว้ในตัวอย่างประกาศประกวดราคา
๑. หมายความว่าต้องมีผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่
ประกวดราคาจ้าง
๒.ต้องเป็ นผลงานที่ผรู ้ บั จ้างได้ทางานแล้วเสร็จตามสัญญาที่ได้มีการ
ส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว ภายใต้การจ้างสัญญาเดียว
มิใช่การจ้างหลาย ๆ ครัง้ มารวมกัน
๓.ต้องเป็ นผลงานที่กระทาสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
หรือเอกชน ซึ่งเป็ นผูว้ ่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิด
จากการรับจ้างช่วง(แนววินิจฉัยของ กวพ.)
121
คาว่า “ มีผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่
ประกวดราคาจ้าง ” หมายความถึง
งานที่ใช้เทคนิคในการก่อสร้างอย่างเดียวกัน
กับงานประกวดราคาจ้าง
เพื่อจะให้ได้ผรู ้ บั จ้างที่มีประสบการณ์ในการ
ก่อสร้าง ในสภาพงาน ที่คล้ายคลึงกันมาก่อน
( หนังสือตอบข้อหารือของกวพ.อ ด่วนที่สุด ที่ กค
(กวพอ)๐๔๒๑.๓/๐๓๖๖๐ ลว.๑๓ ก.พ.๒๕๕๑)
122
(ตัวอย่าง)กรมโยธาธิการตอบข้อหารือกรมส่งเสริมการ
ปกครองส่วนท้องถิ่นเรื่องการกาหนดผลงานก่อสร้าง
งานก่อสร้างสะพาน
คอนกรีตเสริมเหล็ก
SLAB TYPE(4+10.00
ม) PRESTRESSED
กับ งานคอนกรีต
เสริมเหล็ก(งานทาง)
เป็ นงานก่อสร้าง
คนละประเภทกัน
มีเทคนิคก่อสร้าง
แตกต่างกัน
ที่ มท ๐๗๑๗.๓/๑๔๑๑ ลว. ๔ มี.ค.๒๕๔๖
งานปรับปรุงภูมิทศั น์
สวนสาธารณะ
งานก่อสร้างถนน งานจัดสวน ประติมากรรม
-ผิวจราจรหินคลุก
งานพื้นผิวลานดาดแข็ง
-คอนกรีตเสริมเหล็ก เป็ นงานก่อสร้าง คนละประเภท
-แอสฟั ลต์ตกิ คอนกรีต
กันกับงานห้องน้ าสาธารณะ
เป็ นงานก่อสร้าง
งานระบบไฟฟ้าอาคารของ
สวนสาธารณะ โดยงานก่อสร้าง
ประเภทเดียวกัน
ห้องนา้ สาธารณะจัดอยู่ใน
(งานทาง) แต่มีความ
แตกต่างกันในส่วนของ ประเภทงานอาคารงานระบบ
วัสดุและวิธีการก่อสร้าง ไฟฟ้า/ไฟฟ้าอาคาร จัดอยู่ใน
ประเภทงานไฟฟ้ าและ
ผิวจราจร
123
เครือ่ งกล
ผลงานก่ อสร้ างของ“ กรณีกิจการร่วมค้า ” ใช้ ของ
ผู้ร่วมค้ ามายื่นเสนอราคา (ส.เวียนสานักนายก
ที่นร(กวพ)๑๓๐๕/ว ๒๔๕๗ ลว.๑๖ มี.ค.๔๓)
 กิจการร่วมค้า ที่จดทะเบียน
o คุณสมบัตจิ ะต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข
o คุณสมบัตดิ า้ นผลงานก่อสร้าง ..... ให้ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่วมค้าได้
 กิจการร่วมค้า ที่ไม่จดทะเบียน
o คุณสมบัตทิ ุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข
o ต้องมีหนังสือบันทึกตกลงกันเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ว่า
ให้ใครเป็ นผูร้ บั ชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐาน
พร้อมซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค
124
ให้ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่วมค้าหลักได้
กรณีที่เป็ นงานซื้อ / จ้าง ทั่วไป
ไม่มีเรือ่ งการให้ตอ้ งกาหนดผลงานผูเ้ สนอราคา
หากจาเป็ นต้องกาหนด ก็เป็ นดุลยพินิจของส่วนราชการที่จะ
อนุ โลมนาหลักเกณฑ์ของงานก่อสร้างมาใช้ได้
กล่าวคือ
กาหนดผลงานได้ไม่เกิน ๕๐% ของวงเงินงบประมาณ
(แนววินิจฉัยของ กวพ.)
125
(ตัวอย่าง)ส่วนราชการมีการกาหนดSpecเรือ่ งผลงาน
มาแสดงว่าต้องเป็ นผลงานที่ทาเสร็จย้อนหลังไม่เกิน ๕ ปี
(แนววินิจฉัยที่ กค ๐๔๒๑.๓/๓๒๔๓๐/๑๔/๑๒/๕๒)
ในประกาศประกวดราคางานก่อสร้าง ได้กาหนดเงื่อนไข
ว่าต้องมีผลงานย้อนหลังงานก่อสร้างประเภทเดียวกัน
ไม่นอ้ ยกว่า ๕ ปี
ก็สามารถกาหนดได้
แต่การกาหนด Spec ดังกล่าวจะต้องไม่เป็ นการกีดกัน
หรือไม่เปิ ดโอกาสให้มีการแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม
126
ประกาศจ้างก่อสร้างอาคารสถานียอ่ ยและบ่อพักท่อร้อย
สายใต้ดิน โดยจะกาหนดมูลค่าผลงานแยกกัน ไม่ได้
(กวพ.อ ๐๔๒๑.๓/๒๐๗๖๔/๑๐/ก.ย/๕๒)
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ. ๑๑๔๔๑ ลว. ๒๘ พ.ย.
๒๕๓๙) ให้กาหนดผลงานของผูร้ บั จ้างไว้ว่าต้องเป็ นผลงานก่อสร้าง
ประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาในวงเงินไม่นอ้ ยกว่า...บาท นัน้
มีวัตถุประสงค์นอกจากจะให้ได้ตวั ผูร้ บั จ้างที่มีประสบการณ์
ของงานก่อสร้างประเภทเดียวกันแล้ว ยังคานึงถึงมูลค่าของ
ราคาค่างานที่ผรู ้ บั จ้างเคยดาเนินการมาแล้ว ซึ่งการจะได้เห็นถึง
ความสามารถได้ ก็ย่อมจะต้องเป็ นการบริหารภายใต้การจ้าง
เดียวกัน มิใช่การจ้างหลายๆ สัญญามารวมกัน ดังนัน้
ผูเ้ ข้าเสนอราคา จึงต้องเสนอผลงานในสัญญาเดียวเท่านัน้
127
ประกาศจ้างติดตัง้ ระบบสุขาภิบาลและป้องกันอัคคีภยั
ต้องไม่กาหนดแยกรายชนิดผลงาน
(แนววินิจฉัยด่วนที่สุด ที่กค(กวพอ)๐๔๒๑.๓/๐๓๖๖๐ ลว.๑๓ ก.พ.๒๕๕๑)
• หน่วยงานกาหนดในประกาศว่า ผูเ้ ข้าเสนอราคาต้องมีผลงาน
ติดตัง้ ระบบสุขาภิบาลและหรือระบบป้องกันอัคคีภยั และหรือ
ระบบไฟฟ้าและสื่อสาร ที่มีวงเงินค่าก่อสร้างไม่นอ้ ยกว่า
๗,๕๐๐,๐๐๐ บาท ต่อหนึ่งสัญญา เป็ นการกาหนดข้อความที่
แตกต่างจากเงื่อนไขตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที่กาหนดไว้
• เนื่องจาก คาว่า“ต้องเป็ นผลงานก่อสร้างประเภทเดียวกันกับ
งานที่ประกวดราคา” หมายถึงการใช้เทคนิคเดียวกันกับงานที่
ประกวดราคาจ้างก่อสร้างนัน้
128
ดังนั้น ผลงานก่อสร้างที่ผเู ้ สนอราคาจะยืน่ จึงไม่จาต้องมี
เนื้องานครบถ้วนตามที่งานประกวดราคาจ้าง
และการกาหนดเงื่อนไขในเรื่องผลงานก่อสร้าง
จะต้องพิจารณาผลงานรวมทัง้ สัญญา โดยไม่สมควรแยก
รายชนิดของผลงานตามสัญญาอีก
 การกาหนดเงื่อนไขดังกล่าว อาจเป็ นการกีดกันผูเ้ สนอ
ราคารายใดมิให้มีโอกาสเข้าแข่งขันกันในการเสนอราคา
อย่างเป็ นธรรม
129
การกาหนด Spec
ที่ตวั พัสดุ
ที่ใช้ในงานจ้างก่อสร้าง
130
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๒๓ มี.ค.๒๕๒๐
หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่
สร ๐๒๐๓/๕๒ลว. ๒๘ มี.ค.๒๕๓๗ กาหนดเกี่ยวกับ
“คุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคาต้องให้มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม”
เรื่อง การกาหนดรายการพัสดุในการก่อสร้าง
2.
กรณี
ย
ง
ั
ไม่
ม
ี
ม
าตรฐานตามข้
อ
1.
1. ถ้ามี มอก. หรือ กระทรวง
ถ้
า
ส่
ว
นราชการจ
าเป็
นต้
อ
งใช้
ส
่
ิ
ง
ของ
อุตสาหกรรมรับรองแล้ว หรือ
ที่เห็ นว่ามีคุณภาพดี เป็ นที่นิยมใช้
มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น
้
ในขณะนั
น
ต้
อ
งระบุ
ใ
ห้
ม
าก
เปิ
ดกว้
า
ง
กาหนดไว้
ก็ให้ระบุตามมาตรฐานนัน้ ได้ มากยี่หอ้ ที่สุดเท่าที่จะสามารถระบุได้
และสิ่งของที่มีคณ
ุ ภาพเทียบเท่ากัน
ตามความจาเป็ น
ก็ให้ใช้ได้ดว้ ย
131
ข้อควรรูเ้ กี่ยวกับ
การออกแบบ และ
ควบค ุมงาน
จ้างก่อสร้าง
13
2
การออกแบบและควบคุมงานจ้างก่อสร้าง
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อ ๑๖ มี.ค.๒๕๓๖
หนังสือสลค.ที่นร๐๒๐๕/ว ๔๔ลว.๒๒มี.ค.๒๕๓๖
•กาหนดวิธีปฏิบตั เิ รื่องหลักเกณฑ์ การออกแบบอาคารไว้ดงั นี้
๑.หน่วยงานที่ไม่มีหน่วยออกแบบ
หรือมีแต่ไม่สามารถออกแบบก่อสร้างได้
๒.ให้แจ้งขอความร่วมมือกรมโยธาธิการ กรมศิลปากร และส่วน
ราชการอื่นที่มีหน่วยงานออกแบบก่อสร้างอย่างน้อย อีกหนึ่ง
แห่งอย่างช้า ภายใน ๓๐ วันนับแต่พรบ.งบประมาณรายจ่าย
มีผลใช้บงั คับ
๓.ให้กรมโยธาธิการ กรมศิลปากร หรือส่วนราชการอื่นที่มี
หน่วยงานออกแบบก่อสร้างที่ได้ตดิ ต่อ แจ้งตอบกลับมา
ภายใน ๑๕ วัน ว่าออกแบบให้ได้ ให้สว่ นราชการเจ้าของ
งบประมาณ แจ้งตอบรับภายใน ๗ วัน นับแต่ได้รบั แจ้ง
๔.ถ้าหน่วยงานออกแบบแจ้งว่าไม่สามารถออกแบบได้ หรือ
ไม่แจ้งกลับภายใน ๑๕ วัน ให้ทวงถาม เมื่อพ้นกาหนด๑๕ วัน
นับแต่ทวงถาม ยังไม่ได้รบั คาตอบ /ให้จา้ งเอกชนออกแบบได้
โดยขอตกลงกับสานักงบประมาณจัดสรรค่าออกแบบให้ตอ่ ไป
๕.ให้แจ้งขอความร่วมมือกรมโยธาธิการ เป็ นผูว้ ่าจ้างออกแบบก่อสร้าง
อาคารให้ก็ได้
134
กรณีส่วนราชการไม่มีผคู ้ วบคุมงาน
หรือไม่สามารถควบคุมงานก่อสร้างได้เอง
๖.กรณีส่วนราชการที่ไม่สามารถควบคุมงานก่อสร้างได้เอง
หากกรมโยธาฯ..รับออกแบบให้ ให้ขอความร่วมมือ
ให้สง่ เจ้าหน้าที่มาควบคุมงานก่อสร้างด้วย/
โดยให้แจ้งตอบภายใน ๑๕ วัน
และให้สว่ นราชการแจ้งโยธาฯ..ภายใน ๗ วัน
๗.กรณีที่แจ้งว่าไม่สามารถควบคุมงานให้ได้
ให้จา้ งเอกชนผูอ้ อกแบบเป็ นผูค้ วบคุมงาน โดยขอตกลง
ด้านการเงินกับสงป.หรือจะให้โยธา..เป็ นผูว้ ่าจ้างแทนก็ได้
135
ข้อควรระวัง
ก่อนการออกแบบก่อสร้าง
ไม่ว่าจะเป็ นการจ้าง
หรือออกแบบเอง
136
ก่อนเริ่มดาเนินการ จะต้องสารวจสภาพดิน
ในสถานที่ก่อสร้างให้แน่นอน ชัดเจนเสียก่อน
ทัง้ นี้ เป็ นไปตามหนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร
(กวพ) ๑๒๐๔/ว ๑๑๕๔๒ ลว ๒ ธ.ค.๒๕๓๙
เรือ่ ง การกาหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก และ
ฐานรากในการจ้างก่อสร้าง
๑.ให้ส่วนราชการสารวจสภาพดินในสถานที่ก่อสร้าง เพื่อ
กาหนดแบบรูป/รายการละเอียดในงานฐานรากให้แน่นอน
ชัดเจนเสียก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัน้ -ยาวของเสาเข็ม
137
๒.ให้
ส่วนราชการ
สารวจ
ตรวจสอบ
กาหนดปริมาณ
ดินถม
งานดินตัก
ในแบบรูป
รายละเอียด
ให้ใกล้เคียง
กับข้อเท็จจริง
๓. กรณีไม่อาจการ
กาหนดแบบรูปและ
รายละเอียดของงานฐาน
รากได้แน่นอน จาเป็ นต้อง
ให้มีทางเลือกในการ
เปลี่ยนแปลงฐานราก
-ให้กาหนดเงื่อนไขไว้
ในชัน้ เสนอราคาในส่วน
ต่างๆให้ชัดเจนตัง้ แต่ตน้
และระบุไว้ในสัญญาด้วย
เช่น ต้องตอกเสาเข็ม
หรือใช้ฐานแผ่ / ขนาด
ความสัน้ -ยาวของเสาเข็ม
๔. หากระหว่าง
ดาเนินการตามสัญญา
มีความจาเป็ นต้อง
เปลี่ยนแปลงฐานราก
 ให้แก้ไขสัญญา
ตามระเบียบฯพัสดุ
โดยตกลงในเรือ่ ง
เนื้องานที่
เปลี่ยนแปลง
 และราคาค่าจ้าง
 รวมทัง้ ระยะเวลาที่
เปลี่ยนแปลง
พร้อมกันไปด้วย
138
วิธีปฏิบตั ิ
ในการซื้อ / การจ้าง
แต่ละวิธี
139
การซื้อ / การจ้าง มี ๖ วิธี
ขึ้นอยูก่ บั วงเงิน และเงื่อนไขของแต่ละวิธี
ข้อ ๑๙ วิธีตกลงราคา
วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท
ข้อ ๒๐ วิธีสอบราคา
วงเงินเกิน ๑ แสน-๒ ล้านบาท
ข้อ ๒๑ วิธีประกวดราคา วงเงินเกิน ๒ล้านบาทขึ้นไป
ข้อ ๒๓ ชื้อโดยวิธีพิเศษ
วงเงินเกิน๑ แสนบาทขึ้นไป
ข้อ ๒๔ จ้างโดยวิธีพิเศษ
- แต่มีเงื่อนไข
ข้อ ๒๖ วิธีกรณีพิเศษ
ไม่กาหนดวงเงิน
ข้อ ๑๘(๖) วิธีประมูลทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ตามประกาศกระทรวงการคลัง วงเงินเกิน ๒ล้านขึ้นไป
(ระเบียบฯ 49วิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ วงเงินตัง้ แต่ ๒ ล้านขึ้นไป )
140
หลักการของระเบียบ(ข้อ ๒๒ วรรคแรก)
การซื้อ หรือจ้าง โดยวิธีตกลง ผูส้ ั ่งซื้อ-สั ่งจ้าง จะสั ่งให้ทา
ราคา หรือ สอบราคาตามข้อ โดยวิธีที่สูงกว่าก็ได้
๑๙,๒๐
ข้อ ๒๒ วรรคสอง ห้ามมิให้แบ่งซื้อหรือแบ่งจ้าง
ข้อห้ามแบ่งซื้อ หรือ แบ่งจ้าง/
-ให้พิจารณาก่อน/หรือขณะดาเนินการ หากมีเจตนา ที่จะลด
วงเงินที่จะซื้อ หรือจะจ้างในครั้งเดียวกันให้ต ่าลงโดยไม่มี
เหตุผลความจาเป็ น ทั้งนี้มีเจตนาเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลง
๑) วิธีจดั หา ตามข้อ ๑๙ และ ๒๐ ให้ลดลง
๒) หรือให้ผมู ้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง เปลี่ยนแปลงไป
141
เหตุที่หา้ มแบ่งซื้อ /แบ่งจ้าง(มติกวพ.มิ.ย.๓๑)
เนื่องจากการจัดหาพัสดุ คราวละจานวนมากๆ จะทาให้มีการ
แข่งขันราคาอย่างเสรี /ทางราชการจะได้ประโยชน์สูงสุด
วิธีปฏิบตั ิ
งบประมาณที่ได้รบั จัดสรรมาในโครงการหนึ่งๆมีพสั ดุหลายประเภท
ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ
คัดเลือกพัสดุใดที่มีลักษณะพัสดุประเภทเดียวกัน/อยูใ่ นกลุม่ ผูค้ า้
ประเภทเดียวกัน มีความต้องการในการใช้พสั ดุในระยะเวลาเดียวกัน
“ก็ควรให้ดาเนินการจัดหาในคราวเดียวกัน”
หากเป็ นสินค้า/กลุม่ ผูค้ า้ /ต่างประเภทกัน จะจัดหารวมในครั้งเดียวกัน
โดยตัดสินแยกแต่ละรายการ ก็ได้ หรือ จะแยกไปจัดหาต่างหากก็ได้
โดยให้เหตุผลแนบไว้ในรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง
142
ในกรณีการรวมจัดซื้อพัสดุประเภทเดียวกัน
• วิธีปฏิบตั ิ (๑) กรณีพสั ดุที่จดั ซื้อ เป็ นประเภทชนิดเดียวกันแม้ตา่ ง
ขนาด ต่างราคากัน ควรรวมการจัดซื้อในคราวเดียวกัน
• หากความต้องการใช้งานรวมทั้งปี มีวงเงินเกินกว่า ๑๐๐.๐๐๐
บาทแล้ว หน่วยงานก็จะต้องดาเนินการสอบราคาหรือประกวดราคา
วิธีปฏิบตั ิ(๒) เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ทั้งใน
การเก็บรักษา หรือควบคุมคุณภาพและปริมาณของพัสดุที่จดั ซื้อ
• หน่วยงานสามารถกาหนดเงื่อนไขการจัดซื้อ โดยใช้สญ
ั ญาจะซื้อ
จะขายแบบราคาคงที่ไม่จากัดปริมาณ เพื่อออกใบสั ่งซื้อเป็ นคราว ๆ
ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานจริง ของแต่ละช่วงเวลาได้
143
ลักษณะของ สัญญาจะซื้อจะขายแบบ
ราคาคงที่ไม่จากัดปริมาณ
เป็ นสัญญาที่กวพ.กาหนดขึ้นมา เพื่อใช้กบั การซื้อขาย
ที่มีราคาพัสดุตอ่ หน่วยที่คงที่ แน่นอนตลอดอายุสญ
ั ญา
แต่การจัดซื้อตามสัญญา ผูซ้ ้ ือจะทะยอยการสั ่งซื้อตาม
ความต้องการของผูซ้ ้ ือ/ผูข้ ายสัญญาว่าจะเตรียมพัสดุ
ไว้ให้เพียงพอตามจานวนที่ได้ประมาณการไว้ในสัญญา
โดยมีวงเงินตามสัญญา ประมาณไว้ไม่เกินกว่าวงเงิน
ที่ดาเนินการจัดหาในครั้งนั้น
144
(ตัวอย่าง)การแบ่งซื้อ พัสดุประเภทเดียวกัน
• (มติกวพ.ก.ย. ๔๗) โรงพยาบาล ส. จัดซื้อ เครื่องมือ-วัสดุ
การแพทย์ หรือการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ได้แยกจัดซื้อ
หลายครั้ง
• แนวทางปฏิบตั ิ
• เมื่อเป็ นพัสดุประเภท ชนิดเดียวกัน แม้จะต่างขนาดและ
ต่างราคากันก็ตาม เมื่อมีการประมาณความต้องการ ในการใช้งาน
ของทั้งปี แล้ว จึงต้องจัดซื้อรวมกันในครั้งเดียว
• เว้นแต่
• โรงพยาบาล จะมีเหตุผลโดยชัดเจนที่ทาให้ตอ้ ง
ดาเนินการแยกซื้อ
145
กรณีตอ่ ไปนี้ไม่ถือว่า
แบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง
เงินงบประมาณที่แยกออกเป็ น แต่ละรายการ
ไม่ถือว่าแบ่งซื้อ /แบ่งจ้าง.
• ส่วนราชการได้รบั การจัดสรรเงินงบประมาณ โครงการจ้างก่อสร้าง
อาคาร ซึ่งมีหลายอาคาร โดยเงินระบุจาแนกเป็ นรายอาคาร
• ถือว่า เงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารของแต่ละอาคารแยกออก
จากกัน การดาเนินการจัดจ้างก่อสร้างอาคาร สามารถดาเนินการ
ได้ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดดังนี้
1. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละอาคาร
2. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละกลุม่ อาคาร
3. ประกวดราคาเป็ นรายครั้ง ๆ ละหลายกลุม่ อาคาร
4. ประกวดราคาครั้งเดียวกันทุกอาคาร
147
การแบ่งวงเงินและกระจายอานาจ
ในการจัดซื้อ/จัดจ้างไปให้หน่วยงานย่อยแต่ละแห่ง
ในสังกัดไปจัดหาเอง ไม่ถือว่าแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง
• แต่เมื่อหน่วยงานย่อยที่ได้รบั มอบอานาจมาแล้ว หรือได้รบั
อนุมตั เิ งินประจางวดมาในคราวเดียวกัน
• ก็สมควรจัดซื้อจัดจ้างรวมเป็ นครั้งเดียวกันด้วย
•
แต่เพื่อสะดวกในการพิจารณาราคา
• อาจกาหนดเงื่อนไขในการตัดสินราคาว่า จะพิจารณาราคา
รวม หรือราคาต่อหน่วย หรือต่อรายการ แล้วแต่กรณี ตาม
ความจาเป็ นได้ดว้ ย (มติกวพ.๓๐ก.ย.๔๕)
148
(กรณีศึกษา)กรณีมีเหตุผลความจาเป็ นเร่งด่วน
ล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ ไม่ถือว่าแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง
ส่วนราชการ ก. จะจ้างทาวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในวงเงินสอบราคา
 แต่เนื่องจากมีความจาเป็ นต้องให้วารสารออกทันใน
เดือนตุลาคมและพฤศจิกายน
 หากใช้วิธีสอบราคาจะไม่ทนั การ ทาให้ราชการเสียหาย
จึงขอจ้างโดยวิธีตกลงราคา ๒ เดือนไปก่อน ส่วนทีเ่ หลือ
อีก ๑๒ เดือน วงเงินเกิน ๑ แสนจะใช้วิธีสอบราคาต่อไป
ถือว่า มีเหตุผลความจาเป็ น โดยมิได้มีเจตนาที่จะลดวงเงิน
ให้ต ่ากว่าที่กาหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด จึงสามารถดาเนินการได้
โดยไม่ถือว่าแบ่งจ้าง
149
กรมประมงหารือแนวทางปฏิบตั ใิ นการจ้างเหมาเอกชน
ดาเนินงานว่าเป็ นการแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง หรือไม่ ?
มติกวพ.ครัง้ ที่๔๙/๒๕๕๓
๑.กรมประมงจาเป็ นต้องบุคคลที่มีความรู ้ ความสามารถ มี
ประสบการณ์ และมีความชานาญเฉพาะตัว เพื่อให้ทางาน
เฉพาะอย่าง ตามที่แผนงานกาหนดไว้ โดยเห็ นผลงานของผู ้
นัน้ มาก่อนแล้ว ถือว่าเป็ นการจ้างผูม้ ีความชานาญเฉพาะตัว
เพื่อให้ทางานเฉพาะอย่างตามระเบียบฯข้อ ๒๔(๑)
ดังนัน้ ในการทาสัญญาจ้าง กรมฯจึงสามารถจ้างเหมาเป็ น
รายบุคคลได้โดยไม่ถอื ว่าเป็ นการแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง
ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๒ วรรคสอง
สาหรับวิธีการจ้างเหมาเอกชนดาเนินงาน
๒.วิธีการจ้าง
หากวงเงินตามสัญญาแต่ละราย ครั้งหนึ่งมีวงเงิน
-ไม่เกิน ๑ แสนบาท ก็ชอบที่จะจ้างโดยวิธีตกลงราคาได้
 -เกิน ๑ แสนบาท ก็ชอบที่จะจ้างโดยวิธีพิเศษได้ตามระเบียบฯ
ข้อ ๒๔(๑) โดยอนุโลม
๓.การจ่ายค่าจ้างเพิ่มเติม กระทาได้ ๓ แนวทางดังนี้
แนวทางที่ ๑ หากได้กาหนดเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทนอื่น
โดยคิดเป็ นค่าจ้างเพิ่มเติมไว้ในสัญญานอกเหนือจากเนื้องาน
ปกติแล้ว ก็กระทาได้
แนวทางที่๒
หากไม่ได้ระบุเงื่อนไขการจ่ายค่าจ้างเพิ่มเติมไว้ใน
สัญญาตัง้ แต่แรกตามแนวทางที่๑ ก็สามารถแก้ไข
สัญญาจ้างได้ แต่ตอ้ งเป็ นเรือ่ งที่อยู่ภายใต้เนื้องานหรือ
ขอบวัตถุประสงค์เดิม
แนวทางที่ ๓
หากเป็ นกรณีท่ีจะให้ทางานเพิ่มเติมที่ไม่ได้อยู่ในขอบ
วัตถุประสงค์ของเนื้องานตามสัญญาจ้างที่ทาไว้เดิม
-กรณีน้ ีย่อมไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาได้
กรมฯจะต้องจัดหาใหม่ และหากมีเหตุผลที่ตอ้ งจ้าง
รายเดิมก็สามารถจ้างโดยวิธีพิเศษตามระเบียบฯข้อ
๒๔(๕)ได้โดยอนุ โลม
วิธีปฏิบตั ิ
ก่อนการจัดหาพัสดุแต่ละวิธี
-ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ จัดทาบันทึก
รายงานขอซื้อ/ ขอจ้าง
เสนอขอความเห็ นชอบต่อ
หัวหน้าส่วนราชการก่อนทุกครัง้
(ระเบียบฯ ข้อ ๒๗)
153
(ตัวอย่าง๑)การไม่ทารายงานขอซื้อ/ขอจ้าง
ก่อนการจัดหาตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗
ปั ญหา ผอ.โรงพยาบาล ก. สั ่งให้หน.เจ้าหน้าที่พสั ดุจา้ งบริษทั ฯ ต่อ
เติม ปรับปรุงอาคารฯเป็ นห้องประชุมและห้องปฏิบตั กิ ารโดยมิได้
จัดทารายงานขอจ้างและมิได้จา้ งโดยวิธีสอบราคาตามระเบียบฯข้อ
๒๗,ข้อ ๒๐ จังหวัดมีคาสั ่งลงโทษข้าราชการทั้งสองแล้ว
แนวทางแก้ไข(มติกวพ.ปี ๕๐)
ให้แจ้งให้โรงพยาบาลจัดทาสัญญากับบริษทั ฯในส่วนของงานที่ได้
ทาไปแล้วและทาการตรวจรับตามระเบียบฯ
►ส่วนเนื้องานที่ยงั ไม่ได้ก่อสร้าง -ต้องแต่งตั้งคกก.กาหนดราคากลาง
เพื่อคานวณราคางานก่อสร้างส่วนที่เหลือ และจัดหาพัสดุใหม่ตอ่ ไป
154
(ตัวอย่าง๒)การไม่ทารายงานขอซื้อ/ขอจ้าง
โรงพยาบาล ก. เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ กับพวก ได้จดั ซื้อ
น้ ายา ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบตั กิ ารไปโดยพลการ
โดยมิได้จดั ทารายงานขอซื้อเพื่อขอความเห็นชอบต่อ
หัวหน้าส่วนราชการก่อน แม้จะได้นาไปใช้ในราชการจริง
แต่เป็ นการปฏิบตั ทิ ี่ไม่ถูกต้องตามระเบียบฯข้อ ๒๗
กรณีน้ ีไม่ปรากฏว่า เป็ นกรณีจาเป็ นต้องซื้อโดยวิธีตกลง
ราคาหรือเป็ นกรณีจาเป็ นเร่งด่วน ล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ
ตามระเบียบฯข้อ ๓๙ วรรคสอง ที่ให้สามารถจัดซื้อไปก่อน
แล้วรีบรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการภายหลังได้ แต่อย่างใด
155
เมื่อปรากฏว่าหัวหน้าส่วนราชการได้ลงโทษทางวินยั ไปแล้ว
และมีการตรวจรับน้ ายาฯไว้ใช้ในราชการจริง
โรงพยาบาลจึงต้องรับผิดชอบหนี้ค้างชาระค่าน้ ายาให้แก่
บริษทั ฯ จานวน ๑ ล้านบาทเศษ
ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้น สามารถเบิก
จ่ายเงินไปชาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ได้
จึงอนุมตั ผิ ่อนผันการไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ พัสดุ ให้เป็ น
กรณีพิเศษเฉพาะราย
????????????????
156
การซื้อ/จ้าง
โดยวิธีตกลงราคา
วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท
(วิธีการอยูใ่ นระเบียบฯ ข้อ ๓๙)
157
การซื้อ/จ้างโดยวิธีตกลงราคา(ข้อ ๓๙วรรคแรก)
(กรณีปกติ) มีวิธีปฏิบตั ติ ามขั้นตอนดังนี้
๑.สารวจ/รวบรวมความ
ต้องการพัสดุ กาหนด Spec
๒.จนท.พัสดุ จัดทาบันทึก
รายงานขอซื้อ/จ้าง(ข้อ ๒๗)
๓.เสนอขอความเห็นชอบ
ต่อหัวหน้าส่วนราชการ
๓.หัวหน้าส่วนราชการ
ให้ความเห็นชอบ
รายงานที่เสนอ(ข้อ๒๙)
๔.ให้จนท.พัสดุไปติดต่อ
ตกลงราคากับผูข้ าย/รับจ้าง
-แจ้งผลต่อหน.จนท.พัสดุ
๕.ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ
ออกใบสั ่งซื้อ/ใบสั ่งจ้าง
๖.ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง ส่งมอบ
ของ/งาน
๗.คกก.ตรวจรับพัสดุ/เบิกเงิน
ชาระค่าสินค้า/งาน ต่อไป
158
ข้อสังเกต การซื้อ/จ้างโดยวิธีตกลงราคา
หัวหน้าส่วนราชการไม่ตอ้ งมอบอานาจลงนามผูกพันสัญญา
หรือข้อตกลงให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุอีกแต่อย่างใด
เหตุผล เนื่องจากระเบียบฯข้อ ๓๙ วรรคแรกได้กาหนดให้ถอื
เป็ นหน้าที่ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ เป็ นผูล้ งนามในสัญญา
หรือข้อตกลงเป็ นหนังสือ(ใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง) ได้โดยตรงเป็ น
การเฉพาะอยู่แล้ว ทัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อลดขัน้ ตอนการ
ดาเนินงานในเกิดความรวดเร็วยิ่งขึ้น ในกรณีวงเงินไม่สูง
แนววินิจฉัยของกวพ.ครัง้ ที่ ๔๕/๒๕๕๓ เมื่อ ๑๑ พ.ย.๒๕๕๓
159
การซื้อ/จ้าง วิธีตกลงราคา ที่มีความจาเป็ นเร่งด่วน
ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้าได้ (ข้อ๓๙วรรค ๒)
ใช้กบั กรณีจาเป็ น/เร่งด่วน/ที่ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้า
โดยให้ทารายงานขอซื้อ/จ้างภายหลังได้
วิธีปฏิบตั ิ ขั้นตอนที่ (๑)
-ให้จนท.พัสดุ/จนท.ผูร้ บั ผิดชอบ ในการปฏิบตั งิ าน
นั้น จัดซื้อ/จ้างไปก่อนได้
ขั้นตอนที่(๒)
-ให้จดั ทารายงานขอซื้อ/จ้าง ขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วน
ราชการในภายหลัง โดยมีสาระสาคัญเท่าที่จาเป็ น
ขั้นตอนที่(๓)
-ให้ใช้รายงานที่หวั หน้าส่วนราชการเห็นชอบนั้นเป็ น
หลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม
160
การซื้อ/จ้าง
โดยวิธีสอบราคา
ระเบียบฯข้อ ๒๐, ๔๐-๔๓
(วงเงินเกิน๑ แสน – ไม่เกิน๒ ล้านบาท)
วิธีแข่งขันราคาทุกวิธี
-ต้องมีการตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน
161
การจัดทาประกาศสอบ/ประกวดราคา/และประกวดราคาด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ e-Government Procurement ( e-GP )
มติครม. เมือ่ วันที่ ๒๙ พ.ย.๒๕๔๘ ตามหนังสือสลค.ที่นร๐๕๐๕/
๑๘๑๖๖ลว.๘ ธ.ค.๒๕๔๘ และหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๔/
ว ๑๒๐ ลว.๓๑ มี.ค. ๒๕๕๓ กาหนดหลักเกณฑ์ไว้ดงั นี้
๑. ให้ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ/องค์การมหาชน/และหน่วยงานของรัฐ ทุก
แห่ ง ลงประกาศจัดซื้อจัดจ้าง/การประกวดราคาทุกรายการ ทุกวงเงิน และลง
ผลการคัดเลือกในเว็บไซต์ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง
www.gprocurement.go.th ด้วย
๒. -ให้การจัดทาประกาศสอบราคา/ประกวดราคา/และประกวด
ราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ e-Government
Procurement ( e-GP ) ตัง้ แต่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เป็ นต้นไป
โดยให้ลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผูใ้ ช้และรหัสผ่านเข้าสู่ระบบ และศึ กษา
การใช้งานในระบบผ่านทางwww.gprocurement.go.th ของกรมบัญชีกลาง
162
ในการจัดทาเอกสารสอบราคา
อย่างน้อยให้แสดงรายการดังต่อไปนี้ (ข้อ ๔๐)
163
วิธีปฏิบตั ใิ นการรับซองสอบราคา
ของเจ้าหน้าที่ผรู ้ บั เอกสารสอบราคา(ข้อ ๔๑(๒))
กาหนด
ให้ผเู ้ สนอ
ราคายืน่ ซอง
ได้ตงั้ แต่ปิด
ประกาศถึง
วันปิ ดซอง
และออกใบ
รับให้ดว้ ย
กรณี
กาหนดให้ยื่น
ทางไปรษณีย ์
ลงทะเบียน
-ให้ถือวันที่
ทางราชการ
ลงรับจาก
ไปรษณียเ์ ป็ น
เวลา
รับซอง
เจ้าหน้าที่
ลงทะเบียน
รับซองโดย
ไม่เปิ ดซอง
แล้ว
-ส่งซองให้
หัวหน้า
เจ้าหน้าที่
พัสดุเก็บ
รักษาไว้
หัวหน้า
เจ้าหน้าที่พสั ดุ
ไม่เปิ ดซอง
-บันทึกรับซอง
-เมื่อถึงเวลา
เปิ ดซองส่งมอบ
ซองและ
รายงานผลการ
รับซองส่งให้
คกก.เปิ ดซอง
ต่อไป
164
เมื่อรับเอกสารสอบราคาแล้ว (ข้อ ๔๒)
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคามีหน้าที่
นาเอกสารส่วนที่ ๑ มาดาเนินการดังนี้
๑.ตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์รว่ มกัน
ก่อนถึงวันเปิ ดซอง
ใบเสนอราคาตามข้อ
๑๕ ตรี ว.๒
(ดูวิธีตรวจสอบตาม
หนังสือที่ นร (กวพ)
๑๓๐๕/ว๗๒๘๖ ลว.
๒๐ส.ค.๔๒)
๒.ประกาศรายชื่อผู ้
ผ่านการตรวจสอบ
ตามข้อ ๑ ไว้
ณ สถานที่ทาการ
ของส่วนราชการ
- ถ้าผูผ้ ่านการ
คัดเลือกอยู่ ณ ที่น้นั
ให้แจ้งให้ทราบด้วย
๓.ถ้าพบว่ามีผมู ้ ี
ผลประโยชน์ร่วมกัน
-ให้ตดั ชื่อออกทุก
ราย/แจ้งผูน้ ้นั ทราบ
-มีสิทธิ์อุทธรณ์ตอ่
ปลัดกระทรวง ใน
๓ วันนับแต่รบั แจ้ง
-คาวินิจฉัยของ
ปลัดกระทรวงเป็ น
ที่สุด
165
ข้อควรรู ้
การกาหนดวัน เวลา เปิ ดซอง ใบ
เสนอราคา ให้กาหนดวันใด วัน
หนึ่งหลังจากวันปิ ดการรับซอง
แล้ว ทั้งนี้ ให้คานึงถึงระยะเวลาที่
คณะกรรมการเปิ ดซองฯ
ต้องใช้ในการตรวจสอบ
ผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน ด้วย
เช่น ปิ ดการรับซอง
วันที่ 1
ควรกาหนดวันเปิ ด
ซองใบเสนอราคา
เฉพาะผูม้ ีชื่อผ่านการ
ตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์รว่ มกัน
วันที่ 4 เป็ นต้น
หนังสือเวียน สานักนายกฯ ด่วนมาก ที่นร(กวพ)
๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ลว.๒๐ส.ค.๒๕๔๒ เรือ่ งการตรวจสอบ
ผูเ้ สนอราคาหรือผูเ้ สนองานที่มีผลประโยชน์รว่ มกัน
166
ข้อสังเกต วิธีสอบราคา
--ไม่มีการขายเอกสารสอบราคา-และไม่มีการวางหลักประกันซอง
-ให้แจกจ่าย/หรือให้เอกสารได้ ตั้งแต่วนั ที่ลงประกาศสอบราคา
-กาหนดวันยืน่ ซอง ถึงวันปิ ดรับซองต้องไม่นอ้ ยกว่า ๑๐วัน
-จะกาหนดให้ยนื่ ซองสอบราคาทางไปรษณียก์ ็ได้
-ผูร้ บั ซองได้แก่จนท.งานสารบรรณ/หรือผูท้ ี่ได้รบั แต่งตั้งให้รบั ซอง
โดยเฉพาะ
-เมื่อรับซองแล้วให้สง่ ให้หวั หน้าจนท.พัสดุ เก็บรักษาไว้
-เมื่อปิ ดรับซองให้หน.จนทพัสดุทาบันทึกส่งคกก.เปิ ดซองสอบราคา
-หากมีผเู ้ สนอราคามีคณ
ุ สมบัตถิ ูกต้องรายเดียว
-ให้ตรวจสอบคุณภาพของสิ่งของ/ว่า มีคณ
ุ ภาพ/คุณสมบัติและ
เป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการหรือไม่
-หากเห็นว่าสมควรซื้อ/จ้างจากรายเดียวนั้น ก็ให้ดาเนินการต่อไป
ได้ โดยไม่ตอ้ งยกเลิกการสอบราคา
167
หน้าที่ของคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา (ต่อ)
เมือ่ ถึงกาหนดวันเปิ ดซองใบเสนอราคา
นาเอกสารส่วนที่ ๒ มาดาเนินการดังนี้
๔.เปิ ดซองคุณสมบัติทางเทคนิค/ราคา
เฉพาะผูม้ ีชื่อผ่านการตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์
ร่วมกันเท่านั้น อ่านโดยเปิ ดเผยตามเวลาทีก่ าหนด
-อ่านเอกสาร/ สอบทานว่าเสนอเอกสารตรงตามบัญชีรายการ
เอกสาร หรือไม่ อย่างไร หากไม่มใี ห้บันทึกไว้ดว้ ย
-ลงชื่อกากับทุกแผ่น
-แล้วนาเอกสารส่วนที่ ๓ มาอ่านแจ้งราคา
168
การประชุมของคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
๕.คัดเลือกพัสดุ /งานจ้าง ที่ถูกต้องตามเงือ่ นไข
ในประกาศ และที่มีคุณภาพ/คุณสมบัติที่เป็ น
ประโยชน์ต่อทางราชการ
๖.การลงมติ
สรุปผล เสนอความเห็นต่อ
หัวหน้าส่วนราชการ เพือ่ ให้ซื้อ/จ้าง จากราย
ทีค่ ดั เลือกแล้ว ทีเ่ สนอราคาตา่ สุด
169
(กรณีศึกษา)
วิธีสอบราคา หากมีผเู ้ สนอราคารายเดียว/หรือมีสิทธิเสนอราคา
รายเดียว จะมีคาสั ่งยกเลิกการสอบราคาครั้งนี้ได้หรือไม่?
มติกวพ.ครั้งที่ ๓/๕๕ หากคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
พิจารณาตามระเบียบฯข้อ ๔๒(๔) แล้วเห็ นว่า มีผเู ้ สนอราคาที่มีสิทธิ
เสนอราคาที่ถูกต้องเพียงรายเดียว และเห็ นว่าไม่มีการแข่งขันราคา
ซึ่งจะทาให้ไม่เป็ นประโยชน์แก่ราชการ หากจะดาเนินการต่อไป
 คณะกรรมการฯจึงเสนอว่าควรยกเลิกการสอบราคา ซึ่งต่อมา
หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบตามความเห็นของคณะกรรมการ
และได้มีคาสั ่งยกเลิก โดยแสดงเหตุผลสนับสนุนไว้ในท้ายคาสั ่ง
ประกาศยกเลิกก็ได้
คาสั ่งยกเลิกการประกาศสอบราคา เป็ นคาสั ่งทางปกครอง ที่ตอ้ ง
ทาเป็ นหนังสือ โดยระบุเหตุผลไว้ในคาสั ่งหรือเอกสารแนบท้ายด้วย
170
การต่อรองราคา(ข้อ ๔๓)
กรณีผเู้ สนอราคารายทีส่ มควรซื้ อ/จ้าง
เสนอราคาสูงกว่าวงเงินงบประมาณ
ให้คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา ดาเนินการตามลาดับดังนี้
ลาดับที(่ ๑) ให้เรียกผูเ้ สนอราคารายตา่ สุดนั้นมาต่อรองราคาให้
ตา่ สุดเท่าทีจ่ ะทาได้
- หากรายนั้นยอมลดราคาแล้ว ราคาใหม่ไม่สูงกว่าวงเงินทีจ่ ะ
ซื้ อ/จ้าง หรือ สูงกว่าแต่ไม่เกิน ๑๐% ของวงเงินทีจ่ ะซื้ อ/จ้าง


หรือต่อรองแล้ว ไม่ยอมลดราคา แต่ส่วนทีส่ ูงกว่าวงเงินทีจ่ ะ
ซื้ อ/จ้าง ไม่เกิน๑๐%
ถ้าเห็นว่าเหมาะสมให้เสนอซื้ อ/จ้างจากรายนั้นได้
171
ลาดับที(่ ๒) ถ้าต่อรองตาม (๑)แล้วไม่ได้ผล
+ให้เรียกทุกรายมายืน่ ซองใหม่พร้อมกัน ภายในกาหนดเวลา สมควร
+หากรายใดไม่ยนื่ ให้ถอื ว่ายืนตามราคาเดิม
+หากมีผูเ้ สนอราคาตา่ สุด เสนอราคาไม่สูงกว่าวงเงิน
หรือสูงไม่เกิน๑๐%
 ถ้าเห็นว่าเป็ นราคาทีเ่ หมาะสม ให้เสนอซื้ อ/จ้างจากรายนั้น
ลาดับที(่ ๓) ถ้าดาเนินการตาม (๒)แล้วไม่ได้ผล
ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการว่าสมควรจะ
- ลดรายการ ลดจานวน หรือลดเนื้ องาน
- หรือขอเงินเพิม่
- หรือยกเลิกเพือ่ สอบราคา/ประกวดราคาใหม่
172
การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีประกวดราคา
(วงเงินเกิน๒ ล้านขึ้ นไป)ข้อ ๒๑/๔๔-๕๖
เป็ นวิธีแข่งขันราคา มีลาดับขั้นตอนดาเนินการดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑
กาหนดSpec
ของสิง่ ของทีจ่ ะ
ซื้ อ/งานทีจ่ า้ ง
TOR
งานก่อสร้าง/
ออกแบบ/หาราคา
กลาง(แต่งตั้งคกก.
กาหนดราคากลาง
ขั้นตอนที่ ๓
ขั้นตอนที่ ๒
จัดทาบันทึก
ให้จนท.พัสดุ
รายงานขอซื้
อ/
จัดทาร่างประกาศ
ขอจ้
า
ง
(ตาม
และเอกสารประกวด
ราคาตามแบบที่ ระเบียบฯข้อ ๒๗
พร้อมแต่งตั้ง
กวพ.กาหนด
ผูป้ ิ ด/ปลด
ประกาศด้วย
173
ขัน้ ตอนที๔่ .
ดาเนินการเผยแพร่เอกสารประกวดราคา
(ข้อ ๔๕, ๔๖)-ให้หัวหน้าจนท.พัสดุ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ
ควบคุม ดูแล และจัดทาหลักฐานการเผยแพร่
-และให้จนท.พัสดุดาเนินการดังนี้
ปิ ดประกาศ ณ สานักงาน -ส่งให้กรมประชาสัมพันธ์
วิทยุ/หนังสือพิมพ์/อ.ส.ม.ท. -ศูนย์รวมข่าว/ส.ต.ง
(มติครม. ๒๘ ธ.ค ๒๕๔๗ ให้ลงเว็ปไซต์ประกาศของ
หน่วยงานและของกรมบัญชีกลาง อีกทางหนึ่งด้วย
-ในการกาหนดวันเผยแพร่ให้ทาก่อนวันขาย/ให้เอกสารไม่นอ้ ยกว่า ๗ วัน
ทาการ
-วันขาย/ให้เอกสาร ต้องมีเวลาไม่นอ้ ยกว่า ๗ วันทาการ
-วันยืน่ ซองต้องห่างจากวันปิ ดการขาย/ให้ ไม่นอ้ ยกว่า๗ วันทาการ
174
ขัน้ ตอนที่ ๕ เมื่อถึงกาหนดวันรับซองประกวดราคา
หน้าที่ของคณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา
วิธีปฏิบตั ิ (ข้อ ๔๙)
ลาดับที๑่ .
-รับซอง/ลงทะเบียนรับซอง/ลงชื่อกากับซองกับบันทึกไว้
ที่หน้าซองว่าเป็ นของผูใ้ ด/
ลาดับที่ ๒.
- ตรวจหลักประกันซอง ร่วมกับจนท.การเงินพร้อมออกใบรับ
ให้แก่ผยู ้ นื่ ซองเป็ นหลักฐาน
-หากไม่ถูกต้อง ให้หมายเหตุ ในใบรับและบันทึกในรายงานด้วย
(ส่งสาเนาแจ้งให้ธนาคาร/บริษทั เงินทุนฯ/ธปท. ผูค้ ้าประกันทราบ
ทางไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับ)
175
หน้าที่ของคณะกรรมการรับ-เปิ ดซองประกวดราคา(ต่อ)
ลาดับที่ ๓. รับเอกสาร/หลักฐาน ตามบัญชีรายการ
-รับเอกสารส่วนที๑่ /ส่วนที่ ๒ /พร้อมทั้งพัสดุตวั อย่าง/
แค็ตตาล็อก หรือแบบรูปรายการละเอียด(ถ้ามี)
-หากไม่ถูกต้องให้บนั ทึกในรายงานไว้ดว้ ย
 ลาดับที่ ๔ เมื่อพ้นกาหนดเวลารับซองแล้วข้อ ๔๙(๔) กาหนด
ห้ามรับเอกสารหลักฐานใดๆเพิม่ เติมอีก
เว้นแต่ กรณีขอ้ ๑๖(๙)การอยู่ระหว่างขอรับรองมาตรฐานสินค้า
ลาดับที่ ๕.ส่งมอบเอกสารส่วนที่๑ ให้คณะกรรมการพิจารณาผลฯ
-เพื่อให้ตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกันก่อน
176
หน้าที่ของคณะกรรมการรับ-เปิ ดซองประกวดราคา(ต่อ)
ลาดับที่ ๖. เปิ ดซองใบเสนอราคา/ อ่านแจ้งราคาพร้อมบัญชี
รายการเอกสารหลักฐานต่างๆ ของผูเ้ สนอราคา ทุกราย
โดยเปิ ดเผย ตามเวลาทีก่ าหนด
ลาดับที่ ๗ .ให้กรรมการทุกคน ลงชื่อกากับไว้ในใบเสนอราคา/
เอกสารประกอบใบเสนอราคาทุกแผ่น
ลาดับที่ ๘. ทาบันทึกการดาเนินการเสนอต่อคณะกก.พิจารณา
ผลฯ ส่งมอบเอกสารทั้งหมดให้คกก.พิจารณาผลในวันนั้น
177
หน้าที่คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา (ข้อ๕๐)
๑)ตรวจสอบผูเ้ สนอราคาที่มีผลประโยชน์ ร่วมกันก่อนเปิดซองราคา
๒)คัดเลือกสิ่ งของ/งานจ้ างทีถ่ ูกต้ องตามประกาศ
๓)ปกติยกเลิก/เมื่อมี
-สอบถามข้ อเท็จจริงได้ /ห้ ามมิให้ เปลีย่ นสาระสาคัญ -ผูถ้ กู ต้อผูงรายเดี
เ้ สนอยว (๕๑)
ที่เคยเสนอไว้ /ผ่ อนปรนได้ ที่มิไช่ สาระสาคัญ
-ไม่มีผเู้ สนอราคาหรือมีแต่
๓) ถ้าถูกต้องพิจารณาราคา
ไม่ถกู ต้องตามspec (๕๒)
เกณฑ์ปกติ
เลือกรายตา่ สุด
๔)เสนอเท่ากันหลายราย
๔)ประกวดราคาใหม่
๕)เสนอสู งกว่ าวงเงิน ให้ยื่นซองใหม่
-ถ้าเห็นว่าไม่ได้ผลดี
๖)ต่อรอง ข้อ๔๓
๗)รายงานผล หส.ราชการ
ผ่านหน.จนทพัสดุ
ใช้วิธีพิเศษได้
178
ข้ อควรร้ ู
ในส่ วนของงานก่ อสร้ าง
เมื่อคณะกรรมการคัดเลือกได้ รายตา่ สุดแล้ ว
ก่ อนเสนอผู้มีอานาจอนุมัตสิ ่ังจ้ าง
คณะกรรมการฯจะต้ องดาเนินการ
ประเมินเปรียบเทียบราคาทีเ่ สนอ
ในใบแจ้ งปริมาณวัสดุและราคา( BOQ)กับราคากลาง
ของทางราชการ ว่ าเหมาะสม หรื อไม่ อีกครั้ งหนึ่ง
179
****ขัน้ ตอนการประเมินราคา***
มีหนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๐๐๒/ว ๖ ลว ๑๖
ก.พ.๒๕๓๒ กาหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่า
การจ้างก่อสร้าง- เมื่อคัดเลือกผูเ้ สนอราคาได้แล้ว การ
จะพิจารณาว่าราคาที่เสนอ เหมาะสมหรือไม่ เป็ นเรือ่ งของคณะ
กรรมการฯที่จะต้องทาการประเมินราคา
๑.ต้องตรวจสอบความ
ถูกต้องของราคาที่เสนอ
โดยคานวณจากตัวเลขของ
ราคาที่เสนอ ต่อหน่วยในบัญชี
รายการที่เสนอเป็ นหลัก (BOQ)
๒.หากไม่ถูกต้อง จะต้อง
ขอปรับตัวเลขลงมา แล้ว
แก้ไขยอดรวมให้ตรงกัน
การปรับลดดังกล่าว
ไม่ถอื ว่าเป็ นการต่อรองราคา
180
การประเมินราคาในงานประกวดราคาจ้างก่อสร้าง(ต่อ)
ดังนัน้ การประกวดราคาซื้อ/จ้าง กรณีคดั เลือกผูเ้ สนอราคา
ไว้แล้ว รวมถึงการปรับลดราคาหลังจากประเมินราคาแล้ว
หากราคาอยู่ในวงเงินงบประมาณ
 ให้ถอื เป็ นหลักการว่าไม่สมควรให้มี
การต่อรองราคาในระดับใดอีก
หรือ เรียกรายตา่
นอกจาก
ถัดไปเข้าทา-สัญญา
จะเกินวงเงิน
เนื่องจากรายตา่ สุดไม่
งบประมาณ
มาทาสัญญา
(ต่อรองได้)
(ให้ตอ่ รองราคาได้)
ข้อสังเกตวิธี
e-Auction
เรียกราย
ตา่ สุดมา
ต่อรองราคา
ได้อย่างเดียว
เท่านัน้
181
การประเมินราคาในงานประกวดราคาจ้างก่อสร้าง(ต่อ)
(ขอบเขตและวิธีปฏิบต
ั ใิ นการประเมินราคางานก่อสร้าง)
หลักเกณฑ์
๑.การประเมินราคา
-ให้ใช้เฉพาะการ
ประกวดราคาจ้าง
ก่อสร้างเท่านัน้
โดยจะต้องเป็ นการ
ประเมินราคาเฉพาะผู ้
เสนอราคารายที่คดั เลือก
ไว้แล้ว ซึ่งเป็ นผูเ้ สนอ
ราคารวมตา่ สุด
และ ราคาที่เสนอไว้ตอ้ งอยู่ใน
วงเงินงบประมาณที่จะจ้าง
เท่านัน้
182
๒.วิธีการประเมินราคา
-ให้คกก.พิจารณาผลประกวดราคา ตรวจสอบราคา
ที่ผเู ้ สนอราคา ได้เสนอไว้ ในรายการที่เป็ นหัวข้อใหญ่
ของส่วนการก่อสร้าง
ให้เชิญผูเ้ สนอราคาราย
นั้นมาเจรจา
เพื่อปรับลดราคาลงมา
แล้วแก้ไขยอดรวมให้
ตรงกัน
ซึ่งเมื่อประเมินราคาปรับลดแล้ว จะทาให้ยอดรวม
ใหม่ต ่ากว่ายอดรวมที่ผเู ้ สนอราคาเสนอไว้เดิม
183
วิธีปฏิบัติ
ในการซื้อ/การจ้าง
โดยวิธีพิเศษ
184
วิธีปฏิบตั ิในการซื้ อ/จ้างโดยวิธีพเิ ศษ
เป็ นการจัดหาพัสดุทีม่ ีวงเงินเกิน ๑ แสนบาท ขึ้ นไป
มีขอ้ สังเกต - ไม่ใช่วิธีแข่งขันราคา
จึงไม่ตอ้ งตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน
ให้แต่งตัง้ คกก.จัดซื้ อ/จัดจ้างโดยวิธีพเิ ศษขึ้ นมาคณะหนึง่
เพือ่ ทาหน้าทีเ่ จรจาต่อรองราคากับผูข้ าย/รับจ้าง
ตามข้อ ๕๗ หรือข้อ ๕๘ แล้วแต่กรณี
►เมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วต้องรายงานผล
ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั ่งการ
(ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ)
185
การซื้ อโดยวิธีพิเศษ มีเงือ่ นไขดังนี้
ข้อ ๕๗ให้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้ อ
โดยวิธีพเิ ศษ เพือ่ ทาหน้าทีด่ งั นี้
เงือ่ นไขการซื้ อ
๑)ซื้อพัสดุทจี่ ะขายทอดตลาด
๒)พัสดุทจี่ าเป็ นต้ องซื้อ
เร่ งด่ วน/ล่ าช้ าจะเสี ยหาย
๓) พัสดุที่ตอ้ งใช้ใน
ราชการลับ
ให้ ดาเนินการเจรจาตกลงราคา
ให้ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคา
/ถ้ าราคาสู งกว่ าท้ องตลาดให้ ต่อรอง
ให้ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาต่ อรอง
๔)พัสดุทซี่ ื้อไว้ แล้ ว-จาเป็ นต้ อง
-ซื้อเพิม่ ในสถานการณ์ จาเป็ น
- หรือเร่ งด่ วน(Repeat Order)
ให้ เจรจากับผู้ขายรายเดิมตาม
สั ญญาเดิมทีย่ งั ไม่ สิ้นสุ ด
ระยะเวลาส่ งมอบ ใช้ เงื่อนไข,
ราคาเดิม, หรือดีกว่ า
186
การซื้อโดยวิธีพิเศษ/ หน้าที่คณะกรรมการ (ต่อ)
๕)ต้องซื้อจากต่างประเทศ
ให้เสนอหน.ส่วนราชการติดต่อสั ่งตรง
โดยให้หน่วยงานต่างประเทศสืบราคาให้
๖)พัสดุมีขอ้ จากัดทาง
เทคนิค/จาเป็ นต้องระบุยี่หอ้
ให้เชิญผูผ้ ลิต/ผูแ้ ทนจาหน่ายมา
เสนอราคาและต่อรอง
๗) ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ให้เชิญเจ้าของมาตกลงราคา
๘)ดาเนินการซื้อโดยวิธี
สืบราคาจากผูม้ ีอาชีพขายและผูเ้ สนอ
ราคาที่ถูกยกเลิก (ถ้ามี) ต่อรองราคา
อื่นแล้วไม่ได้ผลดี
เมื่อคกก.ดาเนินการเสร็จแล้ว ให้สรุปรายงานผลเสนอ
ความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ
187
การจ้างโดยวิธีพิเศษ มีเงื่อนไขดังนี้
ข้
อ
๕๘ให้
แ
ต่
ง
ตั
้
ง
คณะกรรมการจั
ด
จ้
า
ง
เงือ่ นไขการจ้าง
โดยวิธีพเิ ศษ เพือ่ ทาหน้าทีด่ งั นี้
๑) การจ้างตามข้อ ๒๔(๑)-(๔)
-ให้เชิญผูม้ ีอาชีพโดยตรงมา
(จ้างช่างฝี มือ,ซ่อมที่ไม่ทราบ
เสนอราคา-ต่อรองเท่าที่จะทาได้
ความเสียหาย ,กรณีเร่งด่วน,
เป็ นงานจ้างเพื่อใช้ในราชการลับ
-ให้เจรจากับผูร้ บั จ้างรายเดิม
๒) การจ้ างตามข้ อ๒๔(๕)
ตามสัญญาที่ยงั ไม่ส้ นสุ
ิ ดเวลาส่ง
จ้ างเพิม่ (Repeat Order)
มอบราคา/เงื่อนไขเดิม/ดีกว่า
๓) การจ้ างตามข้ อ๒๔(๖) ให้เชิญผูม้ ีอาชีพโดยตรง/และรายที่ถูก
ใช้ วธิ ีอนื่ แล้ วไม่ ได้ ผลดี
ยกเลิกไป/มาเสนอราคา/ต่อรองราคา
188
ข้ อควรระวัง
กำรซือ้ หรือกำรจ้ ำงเพิ่ม(Repeat Orderตำมข้ อ ๒๓ (๔)
หรือ ข้ อ๒๔(๕) มีเงื่อนไขดังนี ้
๑. ต้ องเป็ นเรื่องซือ้ ของอย่ ำงเดิม หรือเป็ นงำนเดิม ที่ต้องทำ
เพิ่มขึน้ ถ้ ำเป็ นคนละเนือ้ งำนมิใช่ Repeat Order
๒. ต้ องเจรจำต่ อรองกับรำยเดิม เงื่อนไขเดิมหรือดีกว่ ำ และ
สัญญำเดิมต้ องยังไม่ สนิ ้ สุดเวลำส่ งมอบ
๓. ต้ องทำสัญญำกันใหม่ จะทำสัญญำแก้ ไขเพิ่มเติมไม่ ได้
เนื่องจำก เป็ นเพียงกำรผ่ อนปรนให้ หน่ วยงำนไม่ ต้อง
จัดซือ้ จัดจ้ ำงใหม่ เท่ ำนัน้
189
(กรณีศึกษำ)กำรจ้ ำงเพิ่มตำมระเบียบฯ ข้ อ ๒๔(๕) Repeat Order
มติกวพ.(ครั ง้ ที่ ๑๒/๒๓เม.ย.๕๕)ปี พ.ศ.๒๕๕๑ มหำวิทยำลัย ส.จ้ ำงก่ อสร้ ำงอำคำร
เรี ยนระยะที่๑. ต่ อมำปี พ.ศ. ๒๕๕๔ได้ รับงบประมำณเพิ่มระยะที่ ๒.จึงหำรื อว่ ำจะ
จ้ ำงเพิ่มจำกรำยเดิมโดยวิธีพเิ ศษตำมข้ อ ๒๔(๕) Repeat Orderได้ หรื อไม่ ?
มติ การจัดหาตามระเบียบข้ อ ๒๔(๕) จะต้ องพิจารณาว่ างานจ้ างที่
จะต้ องดาเนินงานนั้นมีความจาเป็ นต้ องจ้ างกับผู้รับจ้ างรายเดิม โดยผู้รับจ้ างราย
อื่นไม่ อาจดาเนินการต่ อไปได้ หรื อมีความจาเป็ นต้ องรี บดาเนินการ หากล่ าช้ า
อาจเกิดความเสียหายได้ หรื อหากจ้ างผู้รับจ้ างรายเดิมแล้ วจะเป็ นประโยชน์ ต่อ
ส่ วนราชการมากกว่ า ทั้งนี้ จะต้ องพิจารณาข้ อ ๕๘(๒) ประกอบด้ วย คือ ให้ เจรจำ
กับผู้รับจ้ ำงรำยเดิมตำมสัญญำหรื อข้ อตกลงซึ่งยังไม่ สนิ ้ สุดระยะเวลำกำรส่ งมอบ
เพื่อขอให้ มีกำรจ้ ำงตำมรำยละเอียดและรำคำที่ต่ำกว่ ำหรื อรำคำเดิม โดยคำนึงถึง
รำคำต่ อหน่ วยตำมสัญญำเดิม(ถ้ ำมี) เพื่อให้ บังเกิดผลประโยชน์ สูงสุดที่ส่วน
รำชกำรจะได้ รับ สำหรั บกรณีของมหำวิทยำลัยฯ หำกเห็นว่ ำมีควำมจำเป็ นต้ อง
จ้ ำงจำกผู้รับจ้ ำงรำยเดิมในกำรดำเนินกำรดังกล่ ำว ย่ อมอยู่ในดุลพินิจของ
190
มหำวิทยำลัยฯที่จะพิจำรณำตำมนัยหลักเกณฑ์ ของระเบียบฯได้
วิธีการซื้อ/จ้าง โดยวิธีกรณี พิเศษ
(ไม่จากัดวงเงิน) (ข้อ ๒๖)
เป็ นการซื้อ/จ้าง/จาก..ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/
ท้องถิ่น/หน่วยอื่น(ทีไ่ ด้รบั
สิทธิพิเศษดูรายชื่อได้จาก
ที่เป็ นผูท้ า/ผลิตเอง/จาหน่ าย/ให้บริการ
และนายกรัฐมนตรี/มีกฎหมาย/มติ
คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิ ให้ซื้อ/จ้างได้โดย
ไม่ต้องสอบ/ประกวดราคา
www.gprocurement.go.th หน.ส่วนราชการ อนุมตั สิ ั ่งซื้อ/สั ่งจ้าง
ลำดับขัน้ ตอนวิธีปฏิบตั ิ
๑.ทำรำยงำนขอซื้อ/จ้ำง
๒.ให้ติดต่อตกลงราคา
กับผูข้ าย หรือผูร้ บั จ้าง
ได้โดยตรง
ได้ไม่จากัดวงเงิน
-วงเงินไม่เกิน๑ แสนบาท ให้จนท.พัสดุ
สั ่งซื้อ/จ้างได้ภายในวงเงินที่ได้รบั
ความเห็นชอบจากหน.ส่วนราชการ
191
การซื้อ/จ้างโดยใช้วิธีกรณีพิเศษ ปั จจุบนั มีหน่วยงานที่ได้รบั สิทธิ
พิเศษอยู่ ๒ ประเภทคือประเภทบังคับ/กับไม่บงั คับ
ประเภทบังคับ หมำยควำมว่ ำ
ประเภทไม่ บังคับ หมำยควำมว่ ำ
ส่ วนรำชกำรต้ องซือ้ /จ้ ำงจำกหน่ วยงำน
ส่ วนรำชกำรจะซือ้ หรื อจ้ ำงจำก
ที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษนัน้ ก่ อน ขณะนี ้
หน่ วยงำนที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษ
มี ๓ หน่ วยงำน ได้ แก่
หรื อไม่ กไ็ ด้
ข้ ำรำชกำรเดินทำงไปตปท. ต้ องซือ้
หำกประสงค์ จะซือ้ หรื อจ้ ำงจำก
หน่ วยงำนที่ได้ รับสิทธิพเิ ศษ ก็ไม่
ตั๋วจำกบมจ.การบินไทยก่ อนเว้ นแต่
ให้ บริกำรไม่ ได้ หรื อรำคำสูงเกิน 25%
ต้ องสอบรำคำ หรื อประกวดรำคำ
แต่ อย่ ำงใด
ส่ วนรำชกำรต้ องซือ้ น้ามันเชื้อเพลิงฯ
ตั้งแต่ ๑ หมื่นลิตรขึน้ ไปต้ องซือ้
จำก.ปตท,สถำนีบริกำรของปตท
ต้
อ
งดู
เ
งื
่
อ
นไขกำรได้
ส
ท
ิ
ธิ
ส่ วนรำชกำรต้ องซือ้ นมโรงเรี ยน
พิเศษของแต่ ละเรื่องด้ วย
สำหรั บเด็กอนุบำล-ป ๖ จำกอสค.
192
ข้อควรรู ้
หากส่วนราชการจาเป็ นต้องยกเลิก
ประกาศสอบราคา /ประกาศประกวดราคา
ประกาศประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ
การประมูลราคาที่มีผไู ้ ด้รบั การคัดเลือกจากคณะกรรมการแล้ว
เนื่องจาก คาสั ่งดังกล่าว เป็ นคาสั่งทางปกครอง
ดังนั้น จะต้องระบุเหตุผลไว้ในคาสั ่ง/หรือในเอกสารแนบท้ายคาสั ่ง
เพื่อประกอบเหตุผลในการใช้ดุลยพินิจด้วย
ทั้งนี้ เป็ นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๔๓)ออกตาม
ความในพระราชบัญญัตวิ ิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
193
การจัดหาพัสดุโดยวิธีอื่น
194
การจัดหาพัสดุโดยวิธีแลกเปลีย
่ น (ข้อ๑๒๓-๑๒๗)
หลัก แลกเปลีย่ นได้เฉพาะจาเป็ น - ครุภณ
ั ฑ์ กับ ครุภณ
ั ฑ์
- วัสดุ กับ วัสดุ
วิธีการ ให้หัวหน้าจนท.พัสดุแสดงเหตุผล/ความจาเป็ นทีข่ อแลก
 กรณีแลกเปลีย่ นกับส่วนราชการด้วยกัน/ รัฐวิสาหกิจ/ท้องถิน่
-ให้เป็ นดุลพินิจของหัวหน้าหน่วยงานนั้น ทีจ่ ะตกลงกัน
 กรณีแลกกับเอกชน ให้นาวิธีซื้อมาใช้โดยอนุโลม
 ข้อยกเว้น – หากพัสดุทีจ่ ะแลก มีราคาซื้ อ /ได้มารวมกัน
ไม่เกิน ๑ แสน ให้ใช้วิธีตกลงได้
ให้หวั หน้าส่วนราชการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้ นมาคณะหนึง่ หรือหลายคณะ
ตามความจาเป็ น ให้ทาหน้าทีแ่ ลกเปลีย่ น(ข้อ ๑๒๕ )
195
หน้าที่ของคณะกรรมการแลกเปลี่ยนพัสดุกบั เอกชน
(๑)ตรวจสอบ
และประเมิน
ราคาพัสดุ
ทีต่ อ้ งการ
แลกเปลีย่ น
กับสภาพ
ปั จจุบนั
(๒)
ตรวจพัสดุที่จะได้รบั
จากการแลกเปลี่ยนว่า
เป็ นของใหม่ ที่ยงั ไม่เคย
ใช้มาก่อน
เว้นแต่ พัสดุที่จะรับแลก
นั้น เป็ นพัสดุเก่า ซึ่งมี
ความจาเป็ นที่จะรับ
แลกเปลี่ยนโดยมิได้ทา
ให้ทางราชการเสีย
ประโยชน์ หรือเพื่อ
ประโยชน์แก่ทางราชการ
(๓) เปรียบเทียบ
ราคาพัสดุที่จะ
แลกเปลี่ยน
โดยให้พิจารณาจาก
ราคาประเมินตาม
(๑) และราคาพัสดุ
ที่จะรับแลกเปลี่ยน
ซึ่งถือตามราคา
กลาง หรือราคา
มาตรฐาน หรือ
ราคาในท้องตลาด
โดยทั ่วไป
196
หน้าที่คณะกรรมการแลกเปลี่ยนพัสดุกบั เอกชน(ต่อ)
(๔)
ต่อรองราคากับ
ผูเ้ สนอราคา
รายที่
คณะกรรมการ
เห็นสมควร
แลกเปลี่ยน
(๕)
เสนอความเห็น
ต่อหัวหน้าส่วน
ราชการเพื่อ
พิจารณาสั ่งการ
(๖)
ตรวจรับพัสดุโดย
ปฏิบตั ติ ามข้อ
๗๑ โดยอนุโลม
197
การจัดหาพัสดุโดย วิธีการเช่า (ข้อ๑๒๘-๑๓๐)
หลัก ๑. เช่าสังหาริมทรัพย์
ให้นาวิธีซ้ ือมาใช้โดยอนุ โลม
๒.เช่าอสังหาริมทรัพย์ ให้ใช้วิธีตกลงราคา ทาได้กรณีดงั นี้
เช่าที่ดิน เพื่อใช้ประโยชน์ของส่วนราชการ
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็ นที่ทาการ
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็ นที่พกั สาหรับผูม้ ีสิทธิเบิกค่าเช่าที่พกั
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็ นที่เก็บพัสดุ
๓. อัตราจ่ายค่าเช่าล่วงหน้า จ่ายเฉพาะสัญญาเช่าไม่เกิน ๓ ปี
- เช่าจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ จ่ายล่วงหน้าได้ไม่เกิน ๕๐%
- เช่าเอกชน
จ่ายล่วงหน้าได้ไม่เกิน ๒๐%
198
(ตัวอย่าง)เช่าสถานที่ของเอกชนไว้เพื่อ
ใช้เป็ นที่เก็บพัสดุของทางราชการ
เป็ นการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ตามข้อ ๑๒๙ (๔)
ระเบียบฯข้อ ๑๒๙ วรรคสอง กาหนดให้ใช้วิธีตกลงราคา
โดยส่วนราชการสามารถเจรจาต่อรองราคากับผูใ้ ห้เช่าได้
โดยตรง ภายใต้เงื่อนไขข้อ ๑๓๐ ได้แก่
๑.ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุทารายงานเสนอหน.ส่วนราชการขอเช่า
๒.ราคาที่ผใู ้ ห้เช่าเสนอ /รายละเอียดอสังหาริมทรัพย์ที่เช่า/
สถานที่เช่า/ราคาค่าเช่าครั้งหลังสุด
๓.อัตราค่าเช่าซึ่งมีขนาด /สภาพใกล้เคียงกับที่เช่า(ถ้ามี)
การจัดหาพัสดุ โดยวิธีการยืม (ข้อ๑๔๖-๑๕๐)
การให้ยืม/นาพัสดุไปใช้ ทีม่ ิใช่ประโยชน์ทางราชการ ทาไม่ได้
หลักเกณฑ์การยืม-ผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ
►ยืมใช้ระหว่างส่วนราชการ-หัวหน้าส่วนราชการ เป็ นผูอ้ นุมตั ิ
►ยืมใช้ในหน่วยงานเดียวกัน-หน.หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบพัสดุอนุมตั ิ
►หน่วยงานเดียวกันยืมไปใช้นอกหน่วยงาน-หน.ส่วนราชการอนุมตั ิ
ทาหลักฐานการยืมไว้ดว้ ย - ผูใ้ ห้ยมื มีหน้าทีท่ วงคืน
การส่งคืน - ส่งคืนในสภาพทีใ่ ช้การได้เรียบร้อย
- หาก ชารุดต้องซ่ อมให้อยู่ในสภาพเดิม หรือ
ชดใช้เงิน ตามสภาพทีเ่ ป็ นอยู่ในขณะยืม
200
ระยะที่ ๔
การทาสัญญา
การบริหารสัญญา
และ หลักประกันสัญญา
201
หลักการทาสัญญาตามระเบียบฯ มี ๓ แบบ
ทาตามตัวอย่าง
(แบบ)ที่ กวพ.
กาหนด
(ข้อ๑๓๒)
ทาข้อตกลง
เป็ นหนังสือ
ไว้ต่อกัน
(ข้อ ๑๓๓)
ไม่ทาเป็ นหนังสือ
ไว้ต่อกัน ก็ได้
(ข้อ ๑๓๓ วรรค
ท้าย)
สัญญาทีม่ ขี อ้ ความแตกต่างไปจากแบบทีก่ วพ.กาหนด
ให้ส่งให้สานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน
 ผูม้ อี านาจลงนามสัญญา/ข้อตกลง ได้แก่
หัวหน้าส่วนราชการ หรือผูท้ ไี่ ด้รับมอบอานาจให้ลงนามแทน
202
กรณีทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน (ข้อ ๑๓๓)
หลัก -เป็ นดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ




5.
จะทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน โดยไม่ตอ้ งทา
สัญญาตามแบบในข้อ ๑๓๒ ก็ได้ ในกรณีดงั นี้
ซื้ อ/จ้าง/แลกเปลีย่ นโดยวิธีตกลงราคา /การจ้างปรึกษา
วงเงินไม่เกิน๑แสน
คู่สญ
ั ญา ส่งของได้ครบถ้วนภายใน ๕ วันทาการ
นับจากทาข้อตกลง
การซื้ อ/จ้างโดยวิธีกรณีพเิ ศษและการจัดหาจากส่วนราชการ
การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ ๒๓หรือ ๒๔ (๑)-(๕)
การเช่า ทีไ่ ม่ตอ้ งเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า
203
กรณีที่ไม่ตอ้ งทาข้อตกลงเป็ นหนังสือ ไว้ตอ่ กันก็ได้
(ระเบียบข้อ ๑๓๓ วรรคท้าย)
ได้แก่
(๑)การจัดหาซึ่งมีราคาไม่เกิน ๑ หมื่นบาท หรือ
(๒) การซื้อ/จ้าง ซึ่งใช้วิธีดาเนินการตาม
ระเบียบข้อ ๓๙ วรรคสอง
(ได้แก่ วิธีตกลงราคา กรณีจาเป็ นเร่งด่วน
ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และ
ไม่อาจดาเนินการตามปกติได้ทนั )
204
(กรณีศึกษา๑.) การทาสัญญาที่ตอ้ งการผลสาเร็จของงาน
ที่แบ่งออกเป็ นหลายส่วน ให้ทาสัญญาแยกกันออกเป็ นแต่ละฉบับ
ทั้งนี้ เพื่อป้องกันปั ญหาการบริหารสัญญา
ข้อหารือ จังหวัดชลบุรี
มติ อกพ.ครัง้ ที่ ๔๗/๒๕๕๔ตัวอย่ าง
ทาสัญญาจ้างก่อสร้าง
บ้านพักข้าราชการ ระดับ
๗-๘ จานวน ๘ หลัง วงเงิน
๘ ล้านบาทเศษ แบ่งงวด
งาน/งวดเงิน ๕ งวดทาเป็ น
สัญญาฉบับเดียว
เมื่อผิดสัญญา จะขยาย
สัญญา/จะคิดค่าปรับ
อย่างไร
สั ญ ญาที่ ก วพ.ก าหนด มี เ จตนารมณ์
ให้ส่วนราชการใช้สัญญาจ้างหนึ่ งฉบับ
ล ง น า ม ผู ก พั น เ พี ย ง ง า น เ ดี ย ว
มิ ไ ด้มุ่ ง หมายให้มี ห ลายๆงานรวมกั น
และรวมถึงงานที่ อ าจแบ่ งหรือ ก าหนด
ผลส าเร็จ ของงานออกได้ห ลายๆส่ ว น
โดยแต่ ล ะส่ ว นเป็ นอิ ส ระแยกต่า งหาก
จากงานส่วนอื่นๆด้วย (ต่อ)
เหตุผล
ทัง้ นี้ เป็ นไปเพื่อป้องกันการบริหารสัญญาที่อาจ
เกิดขึ้น เช่น การส่งมอบพื้นที่ก่อสร้าง การควบคุมงาน
ก่อสร้าง การตรวจรับงาน การคานวณค่าปรับ การงด
หรือลดค่าปรับ และการขยายระยะเวลาทาการตาม
สัญญา ตลอดจนการเบิกจ่ายเงินให้แก่คูส่ ญ
ั ญา เป็ นต้น
สัญญาที่จงั หวัดชลบุรีทาไว้ ไม่แยกบ้านพักเพื่อทาสัญญาแต่ละ
หลัง ในสัญญาก็ไม่ได้กาหนดเงื่อนไขการจ่ายเงินตามผลสาเร็จ
ของงานในแต่ละหลังเป็ นเกณฑ์ แต่กาหนดจ่ายเงินตามผลสาเร็จ
ของรายละเอียดของก่อสร้างบ้านพักทุกหลัง เมื่อสัญญาให้คิดค่าปรับ
เป็ นรายวัน วันละ ๘,๑๔๗.๒๐ บาท โดยคานวณจากค่าจ้างทั้งสัญญา
 ดังนัน้ การคิดค่าปรับจึงมีผลให้ตอ้ งคิดค่าปรับทัง้ สัญญา
กรณีศึกษา ๒. สานักงานตารวจแห่ งชาติ ก่อสร้างอาคารที่
ทาการสถานีตารวจ ๓๙๖ หลัง แต่ละหลังอยู่ตา่ งท้องที่กนั
ทาประกวดราคาครัง้ เดียว และทาสัญญาฉบับเดียว
จะมีปัญหาในการบริหารสัญญา
มติ กวพ. ..(RF๐๐๕๙๘/๑๐/๑๒/๒๕๕๔) ในหลักการจัดจ้าง
๑. ต้องกระจายการจัดซื้อจัดจ้างไปยังหน่วยงานตามพื้นที่ท่ีจะดาเนินการเพื่อให้
โครงการสาเร็จเร็วขึ้น
๒. ในการกาหนดเงื่อนไขในประกาศประกวดราคา มีกาหนดวันชี้แจงการกรอก
ปริมาณวัสดุ ให้ผเู ้ สนอราคาทราบ ควรมีการบันทึกการชี้แจงเป็ นลายลักษณ์
อักษร เพื่อที่จะใช้เป็ นหลักฐานการชี้แจง หากมีกรณีเกิดการร้องเรียนต่อไป
๓. วิธีการคานวณราคากลางของสานักงานฯ ไม่สอดคล้องกับหนังสือสานัก
นายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๒๐๔/ว ๑๑๕๔๒ ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๓๙
เรือ่ ง การกาหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก ฐานราก ในงานจ้าง
ก่อสร้าง กล่าวคือ สานักงานฯไม่ได้สารวจและกาหนดปริมาณงานดังกล่าวใน
แบบรูปรายการละเอียดให้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง
เป็ นการกาหนดตามแบบมาตรฐาน โดยไม่ได้ไปสารวจในพื้นที่จริ ง
 และการคานวณราคากลางรวมทัง้ ๓๙๖ แห่ ง อาจคลาดเคลื่อนจาก
ความเป็ นจริง เนื่องจากการคานวณราคากลางตามที่สานักงานฯ
คานวณโดยการนาต้นทุนของแต่ละหลัง ทัง้ ๓๙๖ หลัง มารวมกัน
แล้วไปหาค่า F เมื่อได้คา่ F แล้วจึงนาค่า F มาคูณ ซึ่งตามหลักแล้ว
จะต้องคานวณราคากลางแต่ละงาน คือแต่ละสถานีตารวจฯ จึงจะ
ถูกต้อง
๔.รูปแบบการทาสัญญาเป็ นฉบับเดียว จึงเป็ นการดาเนินการที่ไม่เป็ นไป
ตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เนื่องจากการ
ก่อสร้างสถานีตารวจฯ ทัง้ ๓๙๖ หลัง ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เดียวกัน
จะก่อให้เกิดความยุ่งยากในการบริหารสัญญา กล่าวคือ
หากผูว้ ่าจ้างไม่สามารถส่งมอบพื้นที่ให้แก่ผรู ้ บั จ้างพร้อมกันได้ท้งั
๓๙๖ แห่ง จึงเป็ นเหตุให้ผรู ้ บั จ้างไม่สามารถส่งมอบงานภายในกาหนด
ของสัญญา ทาให้ตอ้ งมีการขยายระยะเวลาทั้งสัญญา
กรณีผรู ้ บั จ้างส่งมอบงานไม่ทนั ตามสัญญาเพียง ๑ หลัง การปรับ
จะต้องปรับตามจานวนเงินตามสัญญาทัง้ หมดทัง้ สัญญา
ซึ่งเหตุขา้ งต้น จะก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรม
และไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ
อย่างไรก็ดี เห็ นควรให้สานักงานฯเตรียมวิธีการในการบริหาร
สัญญาให้รดั กุมที่สุด และจะต้องไปตรวจสอบในพื้นที่การ
ก่อสร้างแต่ละแห่ งว่า ขณะนี้แต่ละพื้นที่ มีปัญหาใดในการ
บริหารสัญญา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายกับทาง
ราชการในอนาคต หากจะต้องมีการแก้ไขสัญญา
การทาสัญญาจ้างก่อสร้างทุกประเภท
ต้องมีเงื่อนไขให้มีการปรับราคาได้ (ค่าK)
มติคณะรัฐมนตรี หนังสือของสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ที่นร ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒กาหนดให้ความ
ช่วยเหลือผูป้ ระกอบอาชีพก่อสร้าง
โดยให้ทุกส่วนราชการมีขอ้ กาหนดในประกาศสอบ
ราคา ประกวดราคา ไว้ดว้ ยว่า จะทาสัญญาแบบปรับ
ราคาได้ และในขั้นตอนทาสัญญาต้องการทาสัญญา
แบบปรับราคาได้ (ค่าK)
กรณีมีปัญหา ให้หารือสานักงบประมาณ
210
(ตัวอย่าง)การแก้ไขสัญญาจ้างก่อสร้าง เป็ นสัญญาแบบ
ปรับราคาได้(ค่าK)ตามเจตนารมณ์เดิมที่ประกาศ ได้
ตอบข้อหารือของกวพ/๐๘๘๔๓
ลว.๒๒ มี.ค.๕๓
ในประกาศประกวดราคา มีขอ้ กาหนดในการทาสัญญา
แบบปรับราคาได้ แต่ในสัญญาไม่มีเงื่อนไขดังกล่าว
คู่สญ
ั ญาร้องขอให้แก้ไขสัญญาให้ถูกต้อง
มติกวพ. ส่วนราชการกาหนดการปรับราคาค่างานก่อสร้างไว้ใน
ประกาศแล้ว การแก้ไขสัญญาให้เป็ นสัญญาแบบปรับราคาได้ตาม
เจตนารมณ์เดิม จึงไม่เป็ นเรือ่ งที่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
อย่างไรก็ดี แม้ผรู ้ บั จ้างจะส่งงานงวดสุดท้ายแล้ว และ
คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจรับงานเสร็จสิ้นแล้ว หากเป็ นการ
แก้ไขรายละเอียดของงานเท่านั้นที่ไม่สามารถแก้ไขได้
211
การจ่ายเงินล่วงหน้า
หากกาหนดเงื่อนไขไว้ก่อนการทาสัญญา/ข้อตกลง
ให้จา่ ยได้ไม่เกินอัตราดังนี้(ส่วนราชการข้อ ๖๘)
๑. จ้าง กับส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานส่วนท้องถิ่น
จ่ายไม่เกิน ๕๐ %
๒. งานจ้าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา จ่ายไม่เกิน ๑๕%
(ต้องกาหนดเงื่อนไขไว้ในประกาศสอบ/ประกวดราคา ด้วย)
๓. จ้าง โดยวิธีพิเศษ (แจ้งขณะเจรจาราคา) จ่ายไม่เกิน ๑๕%
กรณีไม่ตอ้ งเรียกหลักประกันการจ่ายเงินล่วงหน้า(ข้อ ๗๐ )
หากคู่สญ
ั ญาเป็ นส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ/อปท
นอกจากนี้ /ต้องเรียกให้ผรู ้ บั จ้างนาพันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ
หนังสือค้าประกันธนาคารในประเทศมาวางค้าประกันเงินล่วงหน้า
การกาหนดค่าปรับไว้ในสัญญา
กรณีสญ
ั ญาจ้างที่ตอ้ งการผลสาเร็จของงานพร้อมกัน
(ข้อ ๑๓๔)
อัตราค่าปรับฐานผิดสัญญาจ้าง
ให้กาหนดค่าปรับเป็ นรายวัน เป็ นจานวนเงินตายตัว
ในอัตราร้อยละ ๐.๐๑-๐.๑๐ ของราคาค่าจ้างนั้น
แต่ไม่ต ่ากว่าวันละ ๑๐๐ บาท
►สาหรับงานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร
ให้กาหนดค่าปรับอัตราร้อยละ ๐.๒๕ ของราคาค่าจ้างนั้น
แต่อาจกาหนดขั้นสูงสุดของการปรับได้
213
ผลของสัญญา
หลักการ
สัญญามีผลนับตัง้ แต่วนั ที่ค่สู ญ
ั ญาได้ลงนามในสัญญา
ยกเว้น
 คู่สญ
ั ญามีขอ้ ตกลงกาหนดเงื่อนไขกันไว้ในสัญญา
เป็ นอย่างอื่น
ระเบียบข้อ๑๓๕
สัญญา/ข้อตกลงที่มีมูลค่า ๑ ล้านบาทขึ้นไป
ให้สง่ สาเนาให้สตง.และกรมสรรพากรภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วนั ทาสัญญา หรือ ข้อตกลงด้วย
214
การบริหารสัญญา
215
ใคร ? เป็ นผูม้ ีหน้าที่บริหารสัญญา
คาวินิจฉัยกวพ.ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๒๘๕๑๔ลว.๑๒ ต.ค.๔๘
เจ้าหน้าที่พสั ดุ/ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
โดยปกติ ต้องมีหน้าที่บริหารสัญญา กล่าวคือ เมื่อสัญญา
ครบกาหนด จะต้องแจ้งให้ผขู ้ ายหรือรับจ้างส่งมอบงาน
ตามสัญญา เจ้าหน้าที่ดงั กล่าว จะต้องเสนอหัวหน้าส่วน
ราชการให้มี หนังสือแจ้งเตือน แจ้งปรับ แล้วแต่กรณี
หากมิได้ดาเนินการ จะถือว่าละเลยไม่ดาเนินการตามหน้าที่
216
กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา(ข้อ๑๓๖)
หลัก *สัญญาทีล่ งนามแล้ว ห้ามแก้ไขเปลีย่ นแปลง
ข้อยกเว้น -กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข
เป็ นอานาจหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา
การแก้ไขจะต้องเป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ราชการ
หรือไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
หากต้องเพิม่ /ลดวงเงิน /ขยายเวลาการส่งมอบ/
ก็ให้ตกลงไปพร้อมกัน
ระยะเวลาทีจ่ ะแก้ไข :“จะแก้ไขเมือ
่ ไดก็ได้
แต่ตอ้ งก่อนการตรวจรับงวดสุดท้าย
(กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๒๔๓๗๙ ลว.๑กย.๔๘)
”
217
การแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา (ต่อ)
การแก้ไขสัญญา ถ้าจาเป็ นต้อง:-เพิม่ /ลดวงเงิน /ขยายเวลาการส่งมอบ/
ก็ให้ตกลงไปพร้อมกัน
กรณีงานเกีย่ วกับความมันคงแข็
่
งแรง/งาน
เทคนิคเฉพาะอย่าง
-ต้องได้รบั การรับรองจากสถาปนิก/วิศวกรฯ ที่
รับผิดชอบ ก่อนการแก้ไข
218
กรณีศึกษา
วิธีแก้ไขสัญญาเนื่องจากผูข้ ายผิดสัญญา
และขอเปลี่ยนพัสดุรุน่ ใหม่ เนื่องจากรุน่ เดิมเลิกผลิ ตแล้ว
และส่งมอบเกินกาหนดสัญญา(RF.0421.3/33489./พ.ย./2553)
๑.กรณีผิดสัญญำ(ฉบับเดิม)ไปแล้ ว(ส่ วนแรก)
-ให้คดิ ค่าปรับนับถัดจากวันครบกาหนดสัญญาจนถึงวันที่ผูข้ ายส่งมอบ
สิ่งของถูกต้อง หักด้วยจานวนวันที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ได้ใช้
ไปในการตรวจรับออกจากจานวนวันที่ตอ้ งถูกปรับด้วย
(เช่น ครบอายุสญ
ั ญา๓๑ ม.ค. ค่าปรับเริ่มคิดวันที่ ๑ ก.พ. เป็ นต้นไป
--ถ้าผูข้ ายส่งมอบพัสดุวันที่ ๒๐ ก.พ. คกก.ตรวจรับใช้เวลาตรวจรับ
เสร็จสิ้นวันที่ ๒๓ ก.พ. ค่าปรับนับ ๑ ถึง ๒๓ ลบด้วย ๓ ค่าปรับ
เท่ากับ๒๐ วัน)
219
๒.กรณีนีเ้ มื่อผู้ขำยแจ้ งขอแก้ ไขเปลี่ยนพัสดุร่ ุ นใหม่
-หากส่วนราชการเห็นว่ามิได้ทาให้ทางราชการ
เสียประโยชน์ สมควรรับไว้
-ถือได้ว่า เป็ นการยกเลิกสัญญาเดิม หรือแปลงหนี้ใหม่
กรณีน้ ีสัญญาเดิมย่อมระงับไป ตามปพพ.มาตรา ๓๔๙
-ส่วนราชการผูซ้ ้ ือ ต้องสงวนสิทธิเรียกร้องค่าปรับที่มีอยู่
ตามสัญญาเดิมไว้ดว้ ย
-โดยต้องกาหนดรายละเอียดให้ชดั เจนว่า มีค่าปรับ
ที่คานวณได้ตามสัญญาเดิม เป็ นจานวนเท่าใด
-และจะต้องกาหนดระยะเวลาส่งมอบของใหม่ให้ชดั เจน
รวมไว้ในสัญญาที่ได้แก้ไขใหม่ดว้ ย
220
คู่สญ
ั ญาขอแก้ไขงวดงาน และงวดเงินใหม่
ให้เหมาะสม กระทาได้(RF๐๕๐๗๙/๑๗/๐๒/๒๕๕๓)
หากมีความจาเป็ นต้องแก้ไขสัญญา เป็ นดุลพินิจของ
ส่วนราชการ ที่จะต้องพิจารณา ตามนัยระเบียบฯพัสดุ ข้อ ๑๓๖
กล่าวคือ
 ต้องเป็ นการแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
–หรือไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
โดยการแก้ไขต้องไม่กระทบต่อวัตถุประสงค์ของสัญญาเดิม
แต่ท้งั นี้ งวดงาน และงวดเงินที่แก้ไขใหม่ตอ้ งสัมพันธ์กนั ด้วย
และกรณีใดจะเป็ นประโยชน์ตอ่ ทางราชการหรือไม่ นัน้
ให้ คำนึงถึงควำมเป็ นธรรมด้ วย
221
การแก้ไขสัญญา เพื่อเปลี่ยนหลักประกันสัญญา กระทาได้
คูส่ ญ
ั ญาขอเปลี่ยนหลักประกันสัญญา เป็ นอย่างใดตามข้อ
๑๔๑(๑)-(๔)ย่อมแก้ไขสัญญาได้ ทางราชการมิได้เสีย
ประโยชน์
เนื่องจากระเบียบข้อ ๑๔๑ กาหนดว่า หลักประกันซอง
หรือหลักประกันสัญญา ให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่ง อย่างใด
ดังต่อไปนี้
เงินสด /เช็คที่ธนาคารเซ็นสั ่งจ่ายซึ่งเป็ นเช็คลงวันที่ใช้เช็คนั้น
ชาระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทาการ/ หนังสือ
ค้าประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอย่างที่ กวพ.
กาหนด/ หนังสือคา้ ประกันของบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ตาม
รายชื่อที่ธปท.แจ้งเวียน/ พันธบัตรรัฐบาลไทย
222
ข้อควรระวัง
การเปลี่ยนหลักประกัน
สัญญา ที่เป็ นหนังสือค้า
ประกันธนาคาร หรือของ
บริษทั เงินทุนหลักทรัพย์
ให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงว่า... การเปลี่ยนหลักประกัน
เกิดจากหลักประกันเดิม มีการปลอมแปลงเอกสาร หรือ
ทาเอกสารอันเป็ นเท็จ หรือกระทาโดยปราศจากอานาจ
หรือไม่ หากเป็ นกรณีดงั กล่าวให้หารือไปยัง
สานักงานอัยการสูงสุด ต่อไป
223
การตรวจรับงานก่อนการแก้ไขสัญญา
เมื่อนาของมาใช้แล้ว จึงอนุมตั ใิ ห้แก้ไขสัญญาหลังการ
ตรวจรับได้เป็ นกรณีพิเศษ(มติกวพ.ครั้งที่๒๖/๒๕๕๔ -๒๒/๑๒/๕๔)
กรม จ. จ้างติดตั้งปรับปรุง/ระบบกล้อง CCTV ระหว่างสัญญา มีการ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงเนื้องาน/ปรับลดเงินค่าจ้างให้สอดคล้องกับเงิน
งบประมาณ
ซึ่งตามระเบียบฯข้อ ๑๓๖ กาหนดให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
จะต้องรายงานหัวหน้าส่วนราชการแก้ไขสัญญาก่อนตรวจรับ
แต่คณะกรรมการฯไม่ได้แก้ไขสัญญา กลับไปตรวจรับงานดังกล่าว
จึงถือว่ามิได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบ
อย่างไรก็ดี เมื่อทางราชการนาสิ่งของมาใช้ในราชการแล้ว จึงอนุ มตั ิ
ผ่อนผันการไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบฯเพื่อประโยชน์ราชการต่อไป
ใคร ?
เป็ นผูเ้ สนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ
แก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา หรือข้อตกลง การงด
ลดค่าปรับ/ขยายเวลาสัญญา/ข้อตกลง
• หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร
(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลว.๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓
ข้อ ๓ กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของ : คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
• แล้วแต่กรณีเป็ นผูเ้ สนอความเห็นในแต่ละครัง้ ด้วย
225
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสัญญา (ข้อ๑๓๙)
ให้พิจารณาได้เฉพาะเหตุดงั ต่อไปนี้
(๑) เหตุเกิดจากความผิด/ความบกพร่องของส่วนราชการ
(๒) เหตุสุดวิสยั
(๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ตอ้ งรับผิด
เงื่อนไข
• คู่สญ
ั ญาของทางราชการจะต้องมีหนังสือแจ้งเหตุ
ที่เกิดขึ้นตาม ข้อ ๑๓๙ (๒)หรือ(๓) ให้ทราบ
ภายใน ๑๕ วัน นับแต่เหตุน้นั สิ้นสุดลง
นับแต่
อานาจอนุ
มตั เิ หตุส้ ินสุด
•ให้
ารณาให้
ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึน้ จริง
• หัพวิ จหน้
าส่วนราชการ
226
ผูร้ บั จ้างขอขยายสัญญามาก่อนถึงวันครบอายุสญ
ั ญา
แต่หวั หน้าส่วนราชการอนุมตั ใิ ห้ขยายสัญญาล่าช้า
จนล่วงเลยวันครบอายุสญ
ั ญาไปแล้ว...มีวิธีปฏิบตั อิ ย่างไร?
มีวธิ ีปฏิบัตดิ ังนี ้
เมื่อครบกาหนดสัญญา
๑. ให้ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับตามสัญญา และ
สงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับ ตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๔ วรรคท้ำย
๒.ต่ อมำ เมื่อส่ วนรำชกำรได้ อนุมัตใิ ห้ ขยำยเวลำทำกำรตำมสัญญำ/
ข้ อตกลงตำมที่ผ้ ูรับจ้ ำงร้ องขอแล้ ว
-ก็ให้ นำระยะเวลำดังกล่ ำวมำพิจำรณำงด หรือลดค่ ำปรับให้ ต่ อไป โดยไม่
ต้ องแก้ ไขกำหนดวันครบสัญญำใหม่ อีกแต่ อย่ ำงใด
227
สรุ ป
วันครบกาหนดสัญญา
ผูร้ บั จ้างขอขยายเวลา
ทาการตามสัญญาออกไปอีก
๑. ถ้าหัวหน้าส่วนราชการ
อนุมตั ทิ นั ภายในอายุสญ
ั ญา
ให้ใช้วิธีขยายสัญญาออกไป
๒. ถ้าหัวหน้าส่วนราชการ
ให้ใช้วิธีงด/หรือลดค่าปรับ
อนุมตั ใิ ห้ขยายไม่ทนั โดย
อนุมตั หิ ลังจาก
ผูร้ บั จ้างยื่นขอ/งด หรือลดค่าปรับ หลังจากครบ
ครบกาหนดสัญญาไปแล้ว กาหนดสัญญาไปแล้ว เพราะเหตุสุดวิสยั
ผล /อนุมตั ใิ ห้ได้
228
การพิ
จ
ารณาอนุ
ม
ต
ั
ใ
ิ
ห้
ง
ด/
ลดค่
า
ปรั
บ
ข้อ
หรือการขยายระยะเวลาสัญญา
ควรรู ้
ไม่ตอ้ งทาสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม
• วิธีปฏิบตั ิ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาให้งด หรือลด
ค่าปรับ หรืออนุมตั ใิ ห้ค่สู ญ
ั ญาขยายระยะเวลาการส่งมอบ
พัสดุหรืองานจ้างตามสัญญาแล้ว
ส่วนราชการไม่จาต้องแก้ไขสัญญาเพิ่มเติมแต่อย่างใด
เนื่องจากเป็ นสัญญาฝ่ ายเดียว ไม่จาต้องให้คูส่ ญ
ั ญายินยอม
เพียงแต่เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการแจ้งให้ค่สู ญ
ั ญาทราบการงด /ลด
ค่าปรับ /หรืออายุสญ
ั ญาขยายเวลาสิ้นสุดเมื่อใด
เพื่อให้คูส่ ญ
ั ญาทราบเท่านัน้
229
กรณีศึกษาผูร้ บั จ้างของด /ลดค่าปรับ โดยอ้างเหตุ
สุดวิสยั ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากผิดสัญญาแล้ว
ผูว้ ่าจ้างสามารถนามางด/ลดค่าปรับได้
(คาวินิจฉัยของสานักงานอัยการสูงสุดที่ ๑๒๙,๑๓๐/๒๕๔๐)
กรณีเหตุสุดวิสยั เกิดขึ้นหลังจากครบกาหนดเวลาตามสัญญาจ้าง
แล้ว ผูร้ บั จ้างย่อมไม่อาจอ้างปพพ.มาตรา ๒๐๕ เพื่อให้พน้ ความ
รับผิดชอบตามสัญญาได้
แต่อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงในเรือ่ งนี้ได้ความว่า ผูร้ บั จ้างยังมิได้
บอกเลิกสัญญา ผูร้ บั จ้างซึ่งเป็ นฝ่ ายผิดสัญญา จะต้องชาระค่าปรับ
นับถัดจากวันที่กาหนดแล้วเสร็จตามสัญญา จนถึงวันที่ทางานแล้ว
เสร็จจริงตามสัญญา ข้อ ๑๗
230
ดังนัน้ การที่ผรู ้ บั จ้างยังคงทางานต่อไป แม้จะล่วงเลย
กาหนดระยะเวลาตามสัญญา ซึ่งแสดงว่า คูส่ ญ
ั ญา
ยังผูกพันต่อกันตามสัญญาจ้าง
แต่ในระหว่างนี้ มีเหตุอทุ กภัยซึ่งเป็ นภัยธรรมชาติมา
ขัดขวาง เป็ นเหตุให้ไม่สามารถทางานต่อไปได้
จึงถือได้ว่า เป็ นเหตุสุดวิสยั ที่ผรู ้ บั จ้างไม่ตอ้ งรับผิด
และเมื่อผูร้ บั จ้างได้แจ้งให้ผวู ้ ่าจ้างทราบแล้วตามระเบียบฯ
พัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ ข้อ ๑๓๙(๒)และให้อานาจหัวหน้าส่วน
ราชการผูว้ ่าจ้างที่จะพิจารณางด หรือลดค่าปรับ ดังนัน้
จึงพิจารณางด ลดค่าปรับได้ตามจานวนวันที่มีเหตุอุทกภัยจริง
คาวินิจฉัยสานักงานอัยการฯ ที่ ๑๓๐ ให้เหตุผลต่อไปว่า
ระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ ข้อ ๑๓๙ มิได้กาหนดว่า
“เหตุสุดวิสยั ” จะต้องเป็ นเหตุที่เกิดขึ้นก่อนสิ้นสุดระยะเวลา
ตามสัญญา จึงเห็นว่า ผูว้ ่าจ้างมีอานาจงด หรือลดค่าปรับ
ตามระเบียบ ข้อ ๑๓๙ ได้
นอกจากนี้ “ เหตุเป็ นความผิด/บกพร่องของทางราชการ ” ก็
ถือได้ว่าเป็ นเหตุที่จะนามางด /ลดค่าปรับ หลังจากสัญญาสิ้นสุด
แล้วด้วย
ส่วนกรณีที่ผรู ้ บั จ้างขออนุมตั ใิ ห้มีการหยุดงานนั้น เห็นว่า
ผูร้ บั จ้างได้หยุดงานโดยเหตุน้ าท่วม ซี่งเป็ นเหตุสุดวิสยั อยูแ่ ล้ว
จึงไม่มีกรณีตอ้ งให้ผวู ้ ่าจ้าง อนุมตั ใิ ห้หยุดงานแต่อย่างใด ###
ผูร้ บั จ้างของดค่าปรับ อ้างว่า
ส่วนราชการใช้เวลาพิจารณาอนุมตั ขิ ยายเวลา
ทาการตามสัญญา ล่าช้า
• ปั ญหางานจ้างก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างมีหนังสือขอขยายเวลาสัญญา
• กรมฯ ใช้เวลาพิจารณาอนุ มตั ใิ ห้ขยายเวลาสัญญาล่าช้า
แต่ในระหว่างที่ กรม ฯ.ใช้เวลาพิจารณาคาขอขยายเวลา กรม ฯ
มิได้ส่งั ให้บริษทั หยุดงานแต่อย่างใด บริษทั ยังคงสามารถทางาน
ตามสัญญาได้ตามปกติ
 การใช้เวลาพิจารณาขยายเวลา มิได้มีส่วนสัมพันธ์ หรือส่งผล
กระทบต่อการดาเนินการตามสัญญาแต่อย่างใด
ดังนั้น กรณีน้ ีจึงมิไช่เหตุที่จะนามาอ้างให้งด ลดค่าปรับ
ตามระเบียบฯข้อ ๑๓๙ (๑) แต่อย่างใด
233
ส่วนราชการจ่ายเงินล่าช้า
ทาให้บริษทั ขาดสภาพคล่องทางการเงิน จะอ้างเป็ นเหตุ
ที่จะงด ลดค่าปรับ ขยายเวลาสัญญาไม่ได้
เหตุที่กรม ส. จ่ายเงินล่าช้า มิไช่ ผลกระทบโดยตรงต่อการ
ปฏิบตั งิ านตามสัญญาที่ทาให้ผรู ้ บั จ้างต้องหยุดการทางาน
 เนื่องจาก ในระหว่างการปฏิบตั งิ านตามสัญญา ผูร้ บั จ้างมีหน้าที่
จะต้องเตรียมความพร้อมในการจัดหาเงินทุนหมุนเวียนมาใช้ในการ
ทางานให้เพียงพอ
ดังนั้น ปั ญหาที่ผรู ้ บั จ้างขาดสภาพคล่องทางการเงิน ในกรณีน้ ี จึงไม่
อาจนามาอ้างเป็ นเหตุที่จะงด หรือลดค่าปรับ ตามระเบียบฯ ข้อ
๑๓๙(๑) แต่ผรู ้ บั จ้างมีสิทธิ์เรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดจากการ
ผิดนัดไม่ชาระหนี้ตามสัญญาได้
234
๑.
วิธีคิดค่าปรับ
การจัดหาสิ่งของที่ประกอบกันเป็ นชุด ถ้าขาดส่วนใด
ส่วนหนึ่งแล้วไม่อาจใช้งานได้ หากส่งมอบเกินกาหนดสัญญา
ให้ถือว่าไม่สง่ มอบสิ่งของนั้นเลย -ให้ปรับเต็มราคาของทั้งชุด
๒.
การจัดหาสิ่งของ-ที่คิดราคารวมค่าติดตั้ง/ทดลองด้วย
ถ้าส่งของเกินกาหนดสัญญาเป็ นจานวนวันเท่าใด
ให้ปรับเป็ นรายวัน ในอัตราที่กาหนดของราคาทัง้ หมด
เมื่อครบกาหนดส่งมอบพัสดุตามสัญญา/ข้อตกลง
ให้ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับจากคู่สญ
ั ญา และ
เมื่อคู่สญ
ั ญาได้ส่งมอบพัสดุให้ส่วนราชการบอกสงวนสิทธิ์การเรียก
ค่าปรับในขณะที่รบั มอบพัสดุนนั้ ด้วย
235
ความรู ้
เกี่ยวกับหลักประกัน
-ซองเสนอราคา
-หลักประกันสัญญา
236
ความหมายของ
หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา
• หลักประกันซอง
• ได้แก่ หลักประกันที่ผเู ้ ข้าเสนอราคายอมผูกพันตนที่จะปฏิบตั ติ าม
เงื่อนไขในประกาศประกวดราคา และจะไม่ถอนการเสนอราคา
จนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น
• หลักประกันซอง จึงต้องมีระยะเวลาตั้งแต่วนั ยืน่ ซองเสนอราคา
จนถึงวันสิ้นสุดการยืนราคา หรือ จนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น
• หลักประกันสัญญา
• ได้แก่ หลักประกันที่ผผู ้ ่านการคัดเลือกให้เข้าทาสัญญากับทาง
ราชการ นามาเพื่อเป็ นประกันการปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขของสัญญา
ส่วนราชการจะคืนให้เมื่อพ้นข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว
237
หลักประกันซอง และ หลักประกันสัญญา
กาหนดให้ผเู ้ สนอราคาในวิธีประกวดราคา หรือคู่สญ
ั ญาต้อง
นาหลักประกันมาวาง(ระเบียบฯข้อ ๑๔๑มี๕อย่าง)
ให้ใช้หลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้
๓.
๒.
๑.
เช็ค
เงินสด
ที่ธนาคาร
เซ็นสั ่งจ่าย
๔.
หนังสือ หนังสือค้า
ประกันของ
ค้าประกัน บริษทั เงินทุน
ธนาคาร หลักทรัพย์ตาม
ภายใน รายชื่อที่ธปท.
ประเทศ แจ้งเวียนชื่อ
๕.
พันธ
บัตร
รัฐบาล
238
กวพ.อนุมตั ผิ ่อนผันให้นาหลักประกันซอง ที่เป็ นเงินสด
หรือเช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย มาใช้เป็ นหลักประกันสัญญา ได้
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่กค(กวพ)
๐๔๐๘.๔/ว ๑๓๐ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๔๙ กาหนดวิธีการไว้ดงั นี้:ในชั้นเสนอราคา กรณีผเู ้ สนอราคานาเงินสด หรือเช็คที่ธนาคาร
เซ็นสั่งจ่าย ตามระเบียบฯข้อ ๑๔๑(๑)และ(๒) มาเป็ นหลักประกันซอง
ในชั้นทาสัญญา ต่อมาผูเ้ สนอราคาได้รบั การคัดเลือกเข้าทาสัญญา
และประสงค์จะขอนาหลักประกันซองดังกล่าวมาเป็ นหลักประกันสัญญา
ก็ได้
ในวันทาสัญญา ให้ส่วนราชการทาหลักฐานการคืนหลักประกันซอง
พร้อมทั้งจัดทาหลักฐานการรับหลักประกันสัญญาให้แก่ค่สู ญ
ั ญา ให้เสร็จ
สิ้นในวันเดียวกันโดยต้องมีเงินเพิ่ม-ลด ให้เท่ากับหลักประกันสัญญาด้วย
239
แนวปฏิบตั ทิ ี่ถูกต้องในการออกหนังสือค้าประกันธนาคาร
(เพื่อใช้เป็ นหลักประกันสัญญา)
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว
๓๖๕๙ ลว. ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๑ กาหนดวิธีปฏิบตั ไิ ว้ดงั นี้
(๑.)
ส่วน
ราชการ
ต้อง
จัดพิมพ์
ร่างสัญญา
ให้
สมบูรณ์
(๓.)
(๒.)
นัดหมาย
กาหนดวัน ผูข้ าย/
ทาสัญญา ผูร้ บั จ้าง
ล่วงหน้า
ซื้อขาย
ว่าจะทา
หรือ
สัญญาจ้าง สัญญาใน
วันใด
(๔.) กาหนดเลขที่สญ
ั ญา
เพื่อให้ผขู ้ าย/ผูร้ บั จ้างนา
ร่างสัญญาไปออกหนังสือ
ค้าประกันของธนาคาร
-เพื่อให้ธนาคารผูอ้ อกหนังสือ
ค้าประกัน กรอกข้อความ
ในหนังสือค้าประกันได้อย่าง
สมบูรณ์ ครบถ้วน
240
อัตราการคิดหลักประกันซองและหลักประกันสัญญา
(ระเบียบข้อ ๑๔๒) คิดร้อยละ ๕ ในวงเงินเต็มของ
หลักประกันซอง
• คิดร้อยละ๕ ของวงเงิน
งบประมาณ
หลักประกันสัญญา
• คิดร้อยละ ๕ ของวงเงิน
ที่ทาสัญญา
เว้นแต่ การจัดหาที่สาคัญพิเศษ กาหนดสูงกว่าได้ไม่เกิน ๑๐%
ข้อ ๑๔๓ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ-หน่วยงานของรัฐ
เป็ นผูเ้ สนอราคา หรือเป็ นคู่สญ
ั ญา –ได้รบั ยกเว้น
ไม่ตอ้ งวางหลักประกันซอง/หรือหลักประกันสัญญา
ตัวอย่างปั ญหา เรือ่ ง การคิดหลักประกันซอง
ให้คดิ มูลค่าเป็ นจานวนเต็มในอัตราร้อยละ ๕ ของวงเงิน
หรือราคาพัสดุที่จดั หาในครั้งนั้น มิใช่คดิ จากราคากลาง
มติกวพ.อ. เมื่อ ๖ ม.ค.๒๕๕๓ (Rf.271)
ส่วนราชการ พ. จ้างก่อสร้าง
คิดหลักประกันซองร้อยละ ๕ ของราคากลาง
จึงเป็ นการปฏิบตั ทิ ี่ไม่ถูกต้อง
เนื่องจาก ในการคิดหลักประกันซองจะต้องถือปฏิบตั ติ ามระเบียบ
พัสดุฯ พ.ศ.๒๕๓๕ ข้อ ๑๔๒ วรรคหนึ่ง ที่กาหนดให้คดิ มูลค่าเป็ น
จานวนเต็มในอัตราร้อยละ ๕ ของวงเงิน หรือราคาพัสดุที่จดั หาครั้งนั้น
เว้นแต่ การจัดหาที่มีความสาคัญพิเศษ จะกาหนดสูงกว่าได้
แต่ไม่เกินร้อยละ ๑๐ “ มิใช่คดิ จากราคากลาง ”
242
วิธีการใช้พนั ธบัตรรัฐบาลเป็ นประกันซอง/สัญญา
มี ๓ กรณี
1. ให้ผปู ้ ระสงค์จะใช้พนั ธบัตรรัฐบาลไทยเป็ นหลักประกันซอง
หรือสัญญา ไปจดทะเบียนในการเป็ นหลักประกัน ที่
ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท)ก่อน(กค 0502/38308 ลว. 27 ก.ย. 25)
หรื อ 2.ให้สว่ นราชการมีหนังสือแจ้ง ธปท. ให้จดทะเบียน
ในการใช้เป็ นหลักประกัน
(กค 0507/48405 ลว. 27 ก.ย. 26)
3. หากชื่อผูถ้ ือครองพันธบัตร ไม่ตรงกับ ชื่อผูเ้ สนอราคา
ต้องมีหนังสือยินยอมจากเจ้าของพันธบัตรก่อน
243
ข้อควรระวังในการ
รับหลักประกันที่เป็ นพันธบัตรรัฐบาล
หนังสือกระทรวงการคลัง ที่กค๐๕๐๗/๔๘๔๐๕ลว. ๒๗ กันยายน
๒๕๒๖
๑. ให้หน่วยงานผูร้ บั พันธบัตรรัฐบาลไว้เป็ นหลักประกัน มีหนังสือแจ้ง
ธนาคารแห่ งประเทศไทย(ธปท.)ทราบ
-เพื่อธปท.จะได้ลงทะเบียนบันทึกการรับหลักประกันไว้ แล้วมี
หนังสือตอบรับการแจ้งให้ทราบ
๒. การถอนหลักประกัน ให้ผรู ้ บั หลักประกันมีหนังสือแจ้งธปท.
ทราบ เพื่อจะได้ลงทะเบียนบันทึกการถอนหลักประกัน
เมื่อคูส่ ญ
ั ญาผิดสัญญา กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรยังไม่ตกเป็ นของผูร้ บั
หลักประกัน จะต้องฟ้องบังคับตามสัญญาค้าประกันก่อน
244
วิธีปฏิบตั ใิ นการรับหลักประกันที่เป็ นพันธบัตรรัฐบาล (กรณี
เป็ นพันธบัตรของบุคคลธรรมดา)
• มติกวพ.ครั้ งที่ ๒๖/๒๕๕๒ พ.ย.
๕๒
• กรณีพันธบัตรที่เป็ นชื่อของ
บุคคลธรรมดำ ซึ่งมิใช่ ช่ อื ของ
นิตบิ ุคคลผู้เสนอรำคำ หรือ
คู่สัญญำ
• ที่ผ้ ูเสนอรำคำ หรือคู่สัญญำ
นำมำวำงเป็ นประกัน ระเบียบ
ยังไม่ เคยวำงหลักเกณฑ์ ไว้
• อย่างไรก็ดี
• เพื่อป้องกันปั ญหาโต้แย้งกัน
ในภายหลัง
• เห็นควรกาหนดให้มีหนังสือ
ยินยอมจากผูท้ รงพันธบัตร
ให้นามาวางเป็ นหลักประกัน
ได้โดยปราศจากเงื่อนไขใด ๆ
245
การนาหลักประกันซอง
มาใช้เป็ นหลักประกันสัญญา ก็ได้
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่กค(กวพ)
๐๔๐๘.๔/ว ๑๓๐ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๔๙ กาหนดวิธีการไว้ดงั นี้:ในชั้นเสนอราคา กรณีผเู ้ สนอราคานาเงินสด หรือเช็คที่ธนาคาร
เซ็นสั ่งจ่าย ตามระเบียบฯข้อ ๑๔๑(๑)และ(๒) มาเป็ นหลักประกันซอง
ในชั้นทาสัญญา ต่อมาผูเ้ สนอราคาได้รบั การคัดเลือกเข้าทาสัญญา
และประสงค์จะขอนาหลักประกันซองดังกล่าวมาเป็ นหลักประกันสัญญา
ก็ได้
ในวันทาสัญญา ให้ส่วนราชการทาหลักฐานการคืนหลักประกันซอง
พร้อมทั้งจัดทาหลักฐานการรับหลักประกันสัญญาให้แก่ค่สู ญ
ั ญา ให้เสร็จ
สิ้นในวันเดียวกันโดยต้องมีเงินเพิ่ม-ลด ให้เท่ากับหลักประกันสัญญาด้วย
246
วิ ธี ป ฏิ บั ติ ก่ อ นการคื น หลั ก ประกั น สั ญ ญา
หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ทีน่ ร (กวพ)
๑๐๐๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๒
๑.ให้หน.หน่วยงานผู ้
ครอบครองพัสดุ
หรือผูไ้ ด้รบั มอบหมายให้
ดูแล บารุงรักษา มีหน้าที่
ตรวจสอบความชารุด
บกพร่อง
๒.กรณีไม่มีผรู ้ บ
ั ผิดชอบตาม
ข้อ ๑
-ให้หน.เจ้าหน้าที่พสั ดุ
เป็ นผูด้ แู ล บารุงรักษา
และตรวจสอบความ
ชารุดบกพร่อง
247
๓. กรณีพบความชารุดบกพร่อง
ในระหว่างเวลาประกันตามสัญญา
ให้เจ้าหน้าที่
ผูร้ บั ผิดชอบตามข้อ ๑
-รีบรายงานหัวหน้า
ส่วนราชการ
-เพื่อแจ้งให้ผขู ้ าย หรือ
ผูร้ บั จ้างแก้ไข/
ซ่อมแซมทันที
และแจ้ง
ผูค้ ้าประกัน(ถ้ามี)
ทราบด้วย
248
๔.ก่อนสิ้นสุดเวลาประกันความชารุดบกพร่อง
ภายใน ๑๕ วัน กรณีประกันไม่เกิน ๖ เดือน
ภายใน ๓๐ วัน กรณีประกันเกิน ๖ เดือนขึ้นไป
ให้ผมู ้ ีหน้าที่รบั ผิดชอบ
• ทัง้ นี้ ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ
ตรวจสอบความชารุด
แจ้งกาหนดเวลาประกัน
บกพร่องของพัสดุ และให้
ความช
ารุ
ด
บกพร่องตาม
รายงานหส.ราชการทราบอีก
สัญญาให้หัวหน้า
ครั้งหนึ่ง
หน่
ว
ยงาน
หรื
อ
หั
ว
หน้
า
หากตรวจพบให้หวั หน้าส่วน
เจ้าหน้าที่พสั ดุทราบ
ราชการรีบแจ้งให้แก้ไขก่อน
พร้อมกับการส่งมอบพัสดุ
สิ้นสุดเวลาประกันและแจ้งผูค้ ้า
ทุกครัง้
ประกัน(ถ้ามี)
249
การบอกเลิก
และ การตกลงกันเลิก
สัญญา/ข้อตกลง
250
การบอกเลิก/ตกลงกันเลิกสัญญา หรือข้อตกลง
หลักการ (ข้อ ๑๓๗) เป็ นดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ
๑.)การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาจ้าง
เมื่ อ ผิ ด สั ญ ญา
มี เ หตุ เ ชื่ อ ได้ว่ า ผู ้ รั บ จ้า งไม่ ส ามารถทา งานได้แ ล้ ว
เสร็ จ ภายในระยะเวลาที่ กาหนด
๒.) การตกลงบอกเลิกสัญญา/ ข้อตกลง ให้ทาได้แต่เฉพาะ
ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ก่ ท างราชการโดยตรง หรื อ
เพื่ อ แก้ ไ ขข้ อ เสี ย เปรี ย บของทางราชการ
(หากจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา /ข้ อ ตกลงต่ อ ไป )
251
คู่สญ
ั ญาส่งมอบไม่ตรงงวดงาน ในสัญญา
ยังไม่ถือว่าผิดสัญญา จึงปรับระหว่างงวดงานไม่ได้
สัญญากาหนดเงื่อนไขการปรับว่า
หากผูร้ บั จ้างไม่สามารถทางานให้แล้วเสร็จตามที่กาหนดไว้ใน
สัญญา ผูร้ บั จ้างจะต้องชาระค่าปรับให้แก่ผรู ้ บั จ้างนับถัดจากวันที่
กาหนดแล้วเสร็จตามสัญญา
คาวินิจฉัย
การแบ่งงวดงานแต่ละงวดในสัญญา
เป็ นเงื่อนไขที่ค่สู ญ
ั ญาตกลงแบ่งงวดงาน เพื่อประโยชน์ในการ
จ่ายเงินค่าจ้างเป็ นงวด ตามผลงานที่ดาเนินการไปแล้ว
 มิใช่เป็ นการกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงานตามสัญญา
►เมื่อผูร้ บั จ้างส่งงานไม่เป็ นไปตามงวด จึงไม่อาจนามาคิด
ค่าปรับตามสัญญาได้
252
ข้อควรระวัง
เรื่องการบอกเลิกสัญญา
ปั ญหา ถ้าส่วนราชการคู่สญ
ั ญา มีหนังสือแสดงเจตนาใช้
สิทธิบอกสัญญาไปยังผูข้ าย หรือผูร้ บั จ้างแล้ว
 ย่อมมีผลให้สญ
ั ญาสิ้นสุดลงทันที และไม่อาจถอน
การบอกเลิกสัญญาได้(ประมวลกฎหมายแพ่งฯม.๓๘๖)
แนวทางปฏิบตั ิ คาวินิจฉัยกวพ.
คู่สญ
ั ญาที่เป็ นผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง จะขอผ่อนปรนการปฏิบตั ติ าม
สัญญาอีกไม่ได้
หากส่วนราชการประสงค์จะซื้อ/จ้าง รายเดิม ต้องดาเนินการ
จัดหาใหม่ จะแก้ไขสัญญาก็มิได้
253
(ตัวอย่าง) ผลของการบอกเลิกสัญญา จะถอนไม่ได้
• มหาวิทยาลัยนครพนม มีหนังสือแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญากับห้างฯก.
ผูร้ บั จ้างก่อสร้าง เมื่อ ๘ มิ.ย.๒๕๕๓ /กรณีจงึ เป็ นไปตามปพพ.มาตรา
๓๘๖ คือ การแสดงเจตนาดังกล่าว ย่อมไม่อาจถอนได้ และเมื่อสัญญา
เลิกกันแล้ว คู่สญ
ั ญาแต่ละฝ่ ายจะต้องให้อีกฝ่ ายหนึ่งกลับคืนสูฐ่ านะเดิม
ตาม ปพพ.มาตรา ๓๙๑
• กรณีมหาวิทยาลัยฯ ให้หา้ งฯ ก กลับเข้าทางานตามสัญญาอีก ถือว่าได้
ตกลงทาสัญญากันขึ้นมาใหม่ มิได้จดั หาพัสดุตามปกติไม่ชอบด้วยระเบียบฯ
• กรณีมหาวิทยาลัยฯบอกเลิกสัญญาครั้งแรก หากมีค่าปรับ ต้องคิด
ค่าปรับ และฟ้องเรียกค่าเสียหายได้ดว้ ย
• กรณีมหาวิทยาลัยฯยอมให้ผรู ้ บั จ้างกลับเข้าทางานภายหลังบอกเลิก
สัญญาแล้ว จะถือว่าเป็ นการก่อนิตสิ ัมพันธ์หรือไม่ ให้หารือส.อัยการสูงสุด
•
254
การผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง
หลักการ (ระเบียบฯ ข้อ๑๓๘)
กรณีค่สู ญ
ั ญาปฏิบตั ผิ ิดสัญญา/ข้อตกลง
หากจานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อยละ ๑๐ ของวงเงินค่าพัสดุ/
ค่าจ้าง
วิธีปฏิบตั คิ อื -ให้ส่วนราชการบอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง นัน้
เว้นแต่ คู่สัญญาจะได้ยินยอมเสียค่าปรับให้
โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆทัง้ สิ้น ให้หัวหน้าส่วนราชการ
ผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญาได้เท่าที่จาเป็ น
255
วิธีปฏิบตั ใิ นการบริหารสัญญา กรณีค่าปรับจะเกิน๑๐ %
กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๓๓๑๕๘ลว.๕พ.ย.๕๓
ข้อหารือ
จังหวัด ล.จ้างปรับปรุงภูมิทศั น์วงเงิน ๙.๗ ล้านบาท มีงาน
ก่อสร้างรวมอยูด่ ว้ ย งวดสุดท้ายผูร้ บั จ้างส่งลิฟท์ไม่ถูกต้องแจ้งให้แก้ไข
แล้ว แต่ไม่ยอม เมื่อครบสัญญา จังหวัดแจ้งเรียกค่าปรับ จานวณ
๘๙๔,๙๐๐บาท จะเกิน ๑๐% ของวงเงินค่าจ้าง จึงหารือว่า เงินค่าจ้าง
งวดสุดท้ายเหลืออีก ๑.๙๙๕ ล้านบาทกรณีน้ ีจะบอกเลิกสัญญา ตามข้อ
๑๓๘ จะมีวิธีปฏิบตั อิ ย่างไร เพื่อประโยชน์ของทางราชการ
มติ กวพ.-การจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาตามข้อ ๑๓๗ หากมีงานที่รบั ไว้
และใช้ประโยชน์ในราชการได้ตามสัญญาแล้ว จังหวัดในฐานะผูว้ ่าจ้าง
ก็จะต้องชดใช้ราคาให้แก่ผรู ้ บั จ้าง โดยจะต้องหักค่าปรับและค่าเสียหาย
อื่นๆ (ถ้ามี)ออกก่อน
256
ข้อยกเว้น ถ้างานที่รบั ไว้ หากผูว้ ่าจ้างไม่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ในราชการตามสัญญาได้ ให้ถอื ว่า งานนัน้ ไม่ควรค่า
แห่ งการชดใช้เงินตาม ปพพ.มาตรา ๓๙๑
สาหรับในส่วนที่จะเกิน ๑๐% นั้น ให้ถือวงเงินทั้งสัญญา
ไม่ใช่ค่าจ้างงวดใดงวดหนึ่ง
หากจังหวัดจะผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญา
เพื่อให้ผรู ้ บั จ้างทางานให้แล้วเสร็จเพื่อประโยชน์ตอ่ ทางราชการ
จะต้องแจ้งให้ผรู ้ บั จ้างยินยอมเสียค่าปรับในส่วนที่
เกินกว่า๑๐% ของวงเงินค่าจ้างทั้งสัญญา โดยไม่มีเงื่อนไข
ใดๆทั้งสิ้น ตามระเบียบข้อ ๑๓๘
257
การบังคับตามสัญญา
ภายหลังบอกเลิกสัญญา
258
ส่วนราชการจะนาค่าจ้างของสัญญาหนึ่ง ไปหักกลบลบหนี้กับ
ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นกับอีกสัญญาหนึ่งซึ่งเป็ นคนละสัญญาไม่ได้
มหาวิทยาลัยศ.ทาสัญญาจ้างก่อสร้างอาคารเรืยน กับ บริษทั ก. ไว้
๒ สัญญา /สัญญาที่ ๑ ผิดสัญญา จึงบอกเลิกสัญญาและอยูร่ ะหว่าง
พิจารณาสั ่งทิ้งงาน ส่วนสัญญาที่ ๒ ได้ส่งมอบงานงวด ที่ ๑ ถูกต้อง
แต่ยงั ไม่ได้จา่ ยค่าจ้างให้ จึงหารือว่า จะไม่จา่ ยค่างานตามสัญญาที่ ๒
โดยจะนามาหักชาระค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากการบอกเลิกสัญญาที่ ๑
ได้หรือไม่?
มติ บริษทั ก. ย่อมมีสิทธิได้รบั สินจ้างตามผลแห่ งการงาน
มหาวิทยาลัย ศ. จึงมีหน้าที่ตอ้ งจ่ายค่าจ้างดังกล่าวให้แก่บริษทั ฯ
ตามสัญญาต่อไป ทัง้ นี้ มหาวิทยาลัย ศ. ย่อมไม่อาจอาศัยเหตุท่ี
มหาวิทยาลัย ศ.ได้บอกเลิกสัญญากับบริษทั ก. ในอีกสัญญาหนึ่ง
มาอ้างเหตุเพื่อที่จะไม่เบิกจ่ายเงินให้แก่บริษทั ก.ในอีกสัญญาหนึ่งได้
259
สิทธิหลังจากการบอกเลิกสัญญา/จะริบหลักประกัน
สัญญาทั้งหมด/หรือริบแต่เพียงบางส่วน ได้หรือไม่?
• กรณีศึกษา(มติกวพ.)
เมื่อบอกเลิกสัญญาแล้ว ส่วนราชการผูซ้ ้ ือจะใช้สิทธิริบ
หลักประกันสัญญาตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ข้อ ๘
เต็มจานวนหลักประกันทัง้ หมด หรือเพียงบางส่วน ก็ได้
แต่การจะริบทัง้ หมด หรือ บางส่วน นัน้ ขึ้นอยู่กบั ว่า จานวน
ค่าปรับ และค่าเสียหายอื่น (ถ้ามี) รวมกันแล้วไม่เกินกว่า
จานวนเงิน ตามหลักประกัน
ส่วนราชการผูซ้ ้ ือ อาจใช้ดลุ พินิจริบหลักประกัน
เพื่อชดใช้ได้ตามจานวนค่าเสียหายที่แท้จริง
260
การใช้สิทธิตามสัญญา ภายหลังบอกเลิกสัญญาแล้ว
มติกวพ. ๔๗/พ.ย.๕๒ กรม ว. ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามเงื่อนไขของ
สัญญาซื้อเครือ่ งตรวจวิเคราะห์ทางอิมมูโนเอสเสย์ แบบอัตโนมัตไิ ป
แล้ว ย่อมมีสิทธิดงั นี้
๑. ริบหลักประกันสัญญา หรือเรียกร้องจากธนาคารผูค้ ้าประกัน
๒.กรณีมีคา่ ปรับ ให้เรียกร้องจากคูส่ ญ
ั ญาให้ชาระค่าปรับโดยคิดตัง้ แต่
วันถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญา จนถึงวันบอกเลิกสัญญา
หักด้วยจานวนวันที่ส่วนราชการใช้ไปในการตรวจรับ
๓. หากต้องซื้อใหม่ และมีราคาเพิ่มขึ้นจากวงเงินตามสัญญาเดิม
ย่อมเรียกให้ชดใช้ราคาส่วนที่เพิ่มขึ้นได้ดว้ ย
๔. ค่าเสียหายอื่น ๆ (ถ้ามี) ได้แก่ ค่าขาดรายได้ หรือขาดประโยชน์
จากการรับจ้างวิเคราะห์
261
การใช้สิทธิตามสัญญาภายหลังบอกเลิกสัญญา
(ต่อ)
ทั้งนี้ ให้นาค่าเสียหายข้างต้นทั้งหมดมาหักจากเงิน
ประกันสัญญา ถ้าเหลือให้คืนบริษทั ฯคู่สญ
ั ญา
หากมีค่าเสียหายท่วมจานวนหลักประกันให้ยดึ ไว้
ทั้งหมดโดยไม่ตอ้ งคืนหลักประกันสัญญา และใช้
สิทธิเรียกร้องเพิ่มจนครบจานวนด้วย
262
การตรวจรับพัสดุ
และการควบคุมงานก่อสร้าง
ตามระเบียบฯ ข้อ ๗๑ ข้อ ๗๒ข้อ ๗๓
263
กาหนดระยะเวลาการตรวจรับพัสดุและ
การตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง
ส.เวียน สานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร.๑๓๐๕/ว.๕๘๕๕ ลว. ๑๑ กค.๔๔
เรือ่ ง ระยะเวลาตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง และการตรวจรับพัสดุ
หลักการ
ให้ตรวจรับวันที่มีหนังสือนาพัสดุมาส่งตามเงื่อนไขสัญญา
และต้องมีหลักฐานการส่งมอบเป็ นหนังสือด้วย เพื่อ:-
-ให้ใ ช้เ ป็ นหลัก ฐานยืน ยัน วัน ที่ ส่ ง มอบตามสัญ ญา
และเป็ นประโยชน์ในการคิดคานวณค่าปรับ
264
ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้ างก่ อสร้ าง
นร (กวพ) 1002/ว 9 -ให้ หน.ส่ วนราชการหรือผู้มอี านาจแต่ งตั้ง กาหนดระยะเวลา
-ปฏิบัตงิ านทุกครั้ง/ให้ คกก.ตรวจรับ / ตรวจการจ้ าง รายงานผล
ลว. 4 เม.ย. 33
-ภายในกาหนด + ถ้ าล่าช้ า ให้ ขอขยายเวลา
นร 1305/ว 5855 ลว. 11 ก.ค. 44 + สร 1001/ว 35 ลว. 30 ธ.ค. 25
ระยะเวลาตรวจรับพัสดุ
ระยะเวลาเริ่มตรวจ
ระยะเวลาตรวจการจ้ าง
ระยะเวลาการตรวจ ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ
ตรวจให้ เสร็จสิ้นโดยเร็วทีส่ ุ ด
วันทีส่ ่ งมอบ แต่ อย่ างช้ าไม่ เกิน5 วันทาการ
(ไม่รวมเวลาที่ใช้ทดลอง)
ตารางถัดไป
265
กาหนดระยะเวลาในการตรวจรับ/ตรวจการจ้ าง
งานจ้ างก่อสร้ างแบบราคาเหมารวม (Lump Sum)
ราคาค่ างาน
ทุกราคาค่ างาน
วันทาการ
ผู้ควบคุมงาน
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง
งวดงาน งวดสุ ดท้ าย งวดงาน
งวดสุ ดท้ าย
3 วัน
3 วัน
3 วัน
5 วัน
งานจ้ างก่อสร้ างแบบราคาต่ อหน่ วย (Unit Cost)
ราคาค่ างาน
วันทาการ
ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้ าง
รายงวด ครั้งสุ ดท้ าย รายงวด
ครั้งสุ ดท้ าย
ไม่ เกิน 30 ล้านบาท 4 วัน
ไม่ เกิน 60 ล้านบาท 8 วัน
ไม่ เกิน 100 ล้านบาท 12 วัน
เกิน 100 ล้านบาทขึน้ ไป 16 วัน
8 วัน
12 วัน
16 วัน
20 วัน
3 วัน
3 วัน
3 วัน
3 วัน
5 วัน
5 วัน
5 วัน
5 วัน
** ทาไม่ เสร็จภายในกาหนด ให้ รายงาน หน.ส่ วนราชการ + สาเนาแจ้ งค่ สู ัญญาทราบ **266
การนับระยะเวลาตรวจรับงานก่อสร้าง
ให้นบั ตัง้ แต่เมื่อใด ?
ผูค้ วบคุมงาน
งวดงานละ ๓ วันทาการ
ให้นบั ถัดจากรับ
หนังสือส่งมอบจาก
ผูร้ บั จ้าง
คกก.ตรวจการจ้าง
งวดงานละ ๓ วันทาการ
งวดสุดท้าย ๕ วันทาการ
ให้นบั ถัดจากวันที่
ผูค้ วบคุมงานตรวจเสร็จ
และรายงานให้ประธาน
กรรมการตรวจการจ้าง
ทราบแล้ว
267
วิธีการตรวจรับพัสดุ (ข้อ ๗๑)
กาหนดหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไว้ดังนี้
 ๑.ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน ตามสัญญา /ข้อตกลง
๒.กรณีจาเป็ น ไม่อาจตรวจนับเป็ นจานวนหน่วยได้ท้งั หมด
• ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ
> ๓. เมื่อตรวจแล้ วเห็นว่ าถูกต้ อง
ให้ ทำหลักฐำนกำรตรวจรับพัสดุไว้อย่างน้อย 2 ฉบับ (ให้ผขู ้ าย 1
ฉบับ/ ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ 1ฉบับ เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน )
ให้ถอื ว่าผูข้ าย,ผูร้ บั จ้าง ส่งมอบครบถูกต้องตัง้ แต่วันที่นาพัสดุมาส่ง
> มอบของให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ
>> รายงานผลให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีส่งมอบไม่ ถูกต้ องตามสัญญา
> ไม่ถูกต้องในรายละเอียด
* ให้รายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบเพื่อสั ่งการทันที
กรณีถูกต้ องแต่ ไม่ ครบจานวน/ หรื อครบแต่ ไม่ ถูกต้ องทัง้ หมด
*แจ้งผูข้ าย/ ผูร้ บั จ้าง ทราบภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั
ตรวจพบ
หากจะให้รบั เฉพาะที่ถูกต้อง รีบรายงาน หส.ราชการพิจารณา
แก้ไขสัญญาก่อน แล้วจึงตรวจรับส่วนที่ถูกต้อง
> >สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่สง่ ไม่ถูกต้อง)
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ (ต่ อ)
กรณีพสั ดเุ ป็ นชุด / หน่ วย
ให้ดวู ่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งจะใช้การ
ไม่ได้ อย่างสมบูรณ์
* ถือว่ายังไม่ได้สง่ มอบ

รีบรายงาน หส.ราชการภายใน 3 วันทาการนับแต่ตรวจพบ
กรรมการตรวจรั บบางคนไม่ ยอมรั บพัสดุ
ให้ทาความเห็นแย้งไว้
> ถ้ ำ หัวหน้ ำส่ วนรำชกำร สั่งกำรให้ รับพัสดุไว้
* ให้ ออกใบตรวจรับให้ ผ้ ูขำย/ผู้รับจ้ ำงและจนท.พัสดุ เป็ นหลักฐำน
วิธีการตรวจรั บงานจ้ างก่อสร้ าง
 ระเบียบฯ พัสดุ ข้ อ ๗๒
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ตรวจตามรายงานของผ้ คู วบคมุ งาน
 ดูการปฏิบต
ั งิ านของผูร้ บั จ้าง

ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์

รับทราบการสั่งการของผูค้ วบคุมงาน กรณีสั ่งผูร้ บั จ้างหยุด/
พักงาน
แต่ตอ้ งรายงาน หส.ราชการทราบ/สั ่งการ
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจการจ้ าง (ต่ อ)
กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่ าไม่ น่าจะเป็ นตามหลักวิชาการ



ให้ออกตรวจสถานที่ที่จา้ ง
ให้มีอานาจ
สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้
เพื่อให้เป็ นไปตามรูปแบบ /รายการ / ข้อตกลง
ตรวจผลงานที่สง่ มอบ
ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วน
ั ประธานกรรรมการ
รับทราบการส่งมอบงาน
ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
กรณีตรวจถูกต้ อง
 ทาใบรับรองผลงาน
 ทั้งหมด / เฉพาะงวด
 มอบให้ผรู ้ บ
ั จ้าง , จนท.พัสดุ
 รายงาน หส.ราชการ ผูว้ ่าจ้างทราบ
กรณีตรวจพบว่ าไม่ ถูกต้ อง
 ทั้งหมด / เฉพาะงวดใด
 ให้รายงาน หส.ราชการทราบ ผ่าน จนท.พัสดุเพื่อสั ่งการ
 ถ้า หส.ราชการสั ่งให้รบ
ั ไว้ ให้ทาใบรับรองผลงานได้
 หากมติกรรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน
ให้ทาความเห็นแย้งไว้
(ตัวอย่าง )หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
มีขอบเขตอย่างไร ?
มติกวพ.ครัง้ ที่ ๒๗/๒๕๕๓(๑๗/๐๖/๕๓)
๑.ปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดในระเบียบฯ ข้อ ๗๒
-กล่าวคือ หากคณะกรรมการดาเนินการตรวจสอบ
รายงานการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง และเหตุการณ์แวดล้อม
ที่ผคู ้ วบคุมงานรายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการ
ละเอียด และข้อกาหนดในสัญญาแล้วมีขอ้ สงสัย หรือ
มีกรณีท่ีเห็ นว่า ตามหลักวิชาช่างไม่น่าจะเป็ นไปได้
 -ให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ท่ีกาหนดไว้ใน
สัญญาหรือข้อตกลงให้ทางานจ้างนัน้ ๆ
274
โดยให้มีอานาจสั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม หรือตัด
ทอนงานจ้างได้ตามที่เห็ นสมควร และตามหลักวิชาช่ าง
เพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนด
ในสัญญา เท่านั้น
และหากคณะกรรมการตรวจการจ้างเห็ นสมควรแก้ไข
เปลี่ยนแปลง เนื้องานที่นอกเหนือจากที่กาหนดในแบบรูป
รายการละเอียดและข้อกาหนดในสัญญา
จะต้องนาเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อแก้ไขสัญญา
ก่อนดาเนินการต่อไป และหากหน่วยงานเห็ นว่า
จาเป็ นต้องแก้ไขสัญญา ย่อมต้องปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ
พัสดุ ข้อ ๑๓๖
275
ผูค้ วบคุมงาน มีหน้าที่ควบคุมงานอย่างไร?
ระเบียบฯ ข้อ ๗๓
1
ตรวจให้เป็ นไปตามแบบรูป /รายการละเอียด และ
ข้อตกลงในสัญญาทุกวัน
2
มีอานาจ
 สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ตาม
สมควรและตามหลักวิชาช่าง เพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูป
รายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญา
276
3
ถ้าผูร้ บ
ั จ้างขัดขืนไม่ปฏิบตั ติ าม
 ให้สั ่งหยุดงานนั้นเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือ /
ทั้งหมดไว้ก่อน จนกว่าผูร้ บั จ้างจะยอม
ปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องตามคาสั ่ง
และรีบรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทันที
4
กรณีเห็ นว่าแบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกาหนดสัญญา มี
ข้อความขัดกัน หรือคาดหมายได้ว่า
้ จะเป็ นไปตามแบบรูป รายการละเอียด หรือ
แม้ว่างานนัน
ข้อกาหนดสัญญา แต่เมื่อสาเร็จแล้วก็จะไม่ม่นั คง แข็งแรง /
ไม่เป็ นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือ ไม่ปลอดภัย ให้สามารถ
 สั่งพักงานไว้ก่อน แล้วรายงาน คกก. ตรวจการจ้างโดยเร็ว
277
5 จดบันทึกสภาพการปฏิบตั งิ านของผูร้ บ
ั จ้างเป็ นรายวัน
ไว้อย่างน้อย ๒ ฉบับ ดังนี้
 สภาพการปฏิบต
ั งิ าน / เหตุการณ์แวดล้อม/ ผลการ
ปฏิบตั งิ าน /การหยุดงาน/ สาเหตุที่มีการหยุดงาน
 เพื่อรายงานให้ คกก. ตรวจการจ้างทราบ ทุกสัปดาห์
 ให้เก็บรักษารายงานไว้ เพื่อมอบให้แก่ จนท.พัสดุ
เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด
โดยถือเป็ นเอกสารสาคัญ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ
ของผูม้ ีหน้าที่
ทัง้ นี้
ให้ระบุรายละเอียด
การบันทึกการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง
ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน และวัสดุท่ใี ช้ดว้ ย
278
ในวันกาหนดลงมือทาการของผูร้ บั จ้างตามสัญญา
และ วันถึงกาหนดส่งมอบงานแต่ละงวด
ให้ผคู ้ วบคุมงาน
รายงานผลการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างว่า เป็ นไปตาม
สัญญาหรือไม่ ?
►โดยให้รายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบ
ภายใน ๓ วันทาการ นับแต่วนั ถึงกาหนดนั้น ๆ
279
ระยะที่ ๕
การควบคุมและจาหน่ายพัสดุ
280
กำรลงทะเบียนควบคุมพัสดุของทำงรำชกำร
วัสดุ
อาคาร สิ่ งปลูกสร้ าง
ที่ดนิ สิ่งก่ อสร้ ำง
ครุภณ
ั ฑ์
หรือวัสดุทคี่ งทนถาวร
บัญชีวสั ดุ
ทะเบียนคุมทรัพย์ สิน ทะเบียนทีร่ าชพัสดุ
(ระเบียบฯ ข้ อ152 + ที่ นร(กวพ)
(ระเบียบฯ ข้ อ152 + ที่ นร(กวพ)
1202/ว 116 ลว. 1 เม.ย. 35)
0408.4/ว 129 ลว. 20 ต.ค. 49)
(ตาม พรบ. ทีร่ าชพัสดุ)
ตามที่กรมบัญชีกลาง ตำมที่กรมธนำรักษ์
ตามที่ กวพ. กาหนด
กำหนด
กาหนด
คา
อ
ธิ
บ
า
ย
คา
อ
ธิ
บ
า
ย
คา
อ
ธิ
บ
า
ย
การลงบัญชี/ทะเบียน ควบคุมพัสดุ (ข้อ ๑๕๑)
พัสดุไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีใดๆ
ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุม ตามตัวอย่างกวพ.
อะไรเป็ นวัสดุ /ครุภณ
ั ฑ์ ให้ดหู ลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตาม
หนังสือเวียนสานักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร๐๗๐๔/ว ๓๓ ลว.๑๘ ม.ค.๒๕๕๓
วิธีลงทะเบียน(ด่วนที่สุดที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว๑๒๙ ลว.๒๐ต.ค๔๙)
๑) วัสดุ- ลงบัญชีวสั ดุตามแบบที่ กวพ. กาหนดไว้เดิม
๒) วัสดุ ที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า ๑ ปี ซึ่งมีราคาต่อหน่วย
หรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และครุภณ
ั ฑ์
-ให้ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินตามแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนดไว้
แต่วสั ดุที่มีอายุใช้งานนานที่ไม่ถึง ๕ พันบาท ไม่ตอ้ งคิดค่าเสื่อมราคา
ตามส.ด่วนที่สุด ที่ กค๐๕๒๘.๒/ว ๓๓๕๔๕ ลว.๑๖ พ.ย. ๒๕๔๙

288
ผูม้ ีหน้าที่เบิก-จ่ายพัสดุ ไปใช้งาน (ข้อ ๑๕๓-๑๕๔)
ผูเ้ บิกพัสดุ ได้แก่
๑.ระดับกอง/หรือหน่วยงานแยกจากกรม/หน่วยงานในส่วน
ภูมิภาค
จะเบิกพัสดุกบั กรม -ให้หัวหน้าหน่วยงานเป็ นผูเ้ บิก
๒.หน่วยพัสดุของหน่วยงานในภูมิภาค/หรือหน่วยงานแยก
ต่างหากจากกรม – ให้หัวหน้างานที่ตอ้ งใช้พสั ดุ เป็ นผูเ้ บิก
ผูส้ ่งั จ่ายพัสดุ ได้แก่
หัวหน้าหน่วยพัสดุ/ระดับแผนกหรือตา่ กว่าแผนกแต่มีหน้าที่
ควบคุมพัสดุ หรือข้าราชการที่ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นหัวหน้าหน่วยพัสดุ
เป็ นผูส้ ่งั จ่ายพัสดุ
-ผูส้ ่งั จ่ายต้องตรวจสอบใบเบิก เอกสารประกอบแล้วลงบัญชี หรือ
ทะเบียนทุกครัง้ ที่มีการจ่าย เก็บใบเบิกจ่ายไว้เป็ นหลักฐานด้วย
289
“ การตรวจสอบพัสดุประจาปี ” (ข้อ ๑๕๕)
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส.ราชการ /หรือ
หน.งาน ตามข้อ ๑๕๓ แต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบพัสดุทาหน้าที่ดงั นี้
โดยให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงาน นั้น
ซึ่งมิไช่เจ้าหน้าที่พสั ดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน
ผูไ้ ด้รบั แต่งตั้งจะทาการตรวจสอบพัสดุ
“งวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปี ก่อน ถึง ๓๐ กันยายนปี ปั จจุบนั ”
- โดยให้เริ่มตรวจในวันเปิ ดทาการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า: มีพสั ดุ ชารุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด
หรือไม่จาเป็ นต้องใช้งานต่อไป
ให้ตรวจเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่แต่งตั้ง
แล้วให้รายงานผลการตรวจสอบ ต่อผูแ้ ต่งตัง้ ๑ชุ ด / สตง. ๑ ชุ ด
290
“ การตรวจสอบพัสดุประจาปี ” (ข้อ ๑๕๕)
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส.ราชการ /หรือ
หน.งาน ตามข้อ ๑๕๓ แต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบพัสดุทาหน้าที่ดงั นี้
โดยให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงาน นั้น
ซึ่งมิไช่เจ้าหน้าที่พสั ดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน
ผูไ้ ด้รบั แต่งตั้งจะทาการตรวจสอบพัสดุ
“งวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปี ก่อน ถึง ๓๐ กันยายนปี ปั จจุบนั ”
- โดยให้เริ่มตรวจในวันเปิ ดทาการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า: มีพสั ดุ ชารุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด
หรือไม่จาเป็ นต้องใช้งานต่อไป
ให้ตรวจเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่แต่งตั้ง
แล้วให้รายงานผลการตรวจสอบ ต่อผูแ้ ต่งตัง้ ๑ชุ ด / สตง. ๑ ชุ ด
291
การจาหน่ายพัสดุ (ข้อ ๑๕๗)
 พัสดุใดหมดความจาเป็ นในการใช้งาน /ใช้งาน
 จะสิ้นเปลือง ค่าใช้จา่ ยมาก
 ให้หส.ราชการ พิจารณาสั ่งจาหน่ายโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังนี้
 ขาย/ขายทอดตลาด (ถ้าขายให้ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ/
หน่วยงานอื่นของรัฐ ให้ขายโดยวิธีตกลงราคา)
(เว้นแต่ การขายครัง้ หนึ่งได้มารวมกันไม่เกิน ๑ แสน ใช้วิธีตกลงราคา)
 แลกเปลี่ยน
(ให้ทาตามข้อ ๑๒๓-๑๒๗)
 โอน ให้โอนแก่ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น องค์การ
สถานสาธารณกุศลตามมาตรา๔๗(๗)มีหลักฐานการโอนเป็ น
หนังสือไว้ดว้ ย
 แปรสภาพ หรือทาลาย (ให้ส่วนราชการเป็ นผูก้ าหนด)
( ข้อ๑๖๐ เมื่อดาเนินการตามระเบียบแล้ว ให้จา่ ยออกจากทะเบียน)
292
ปั ญหาและแนวทางปฏิบตั ใิ นการจาหน่ายพัสดุ
เรือ่ งที่ ๑
• มติกวพ.๔๗/๔๘ ส่วนราชการ ก. จะขอขายรถยนต์ประจาตาแหน่ง
ให้แก่ขา้ ราชการโดยไม่ขายทอดตลาด หรือเปิ ดประมูลให้แก่
ข้าราชการภายในหน่วยงานก่อน ย่อมกระทาไม่ได้ ขัดระเบียบพัสดุ
เรื่องที่ ๒
มติกวพ.๕๒ วิธีการขายทอดตลาด-ให้คณะกรรมการฯประเมินราคา
ทรัพย์สินที่จะขาย จากราคาในท้องตลาดปั จจุบนั
เรื่องที่ ๓ การขายทอดตลาดครั้งหนึ่ง หากมีวงเงินที่ได้มารวมไม่ถึง
๑๐๐,๐๐๐ บาท ให้ขายโดยตกลงราคากันได้ ไม่ตอ้ งรอให้มีวงเงิน
ที่ได้มารวมกัน ๑ แสนบาท ก่อนจึงจะขายทอดตลาดได้
293
หนังสือเวียนวิธีปฏิบตั ิเรื่องการจาหน่ายพัสดุโดย
วิธีการขายทอดตลาด
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๒๕๗ ลงวันที่
๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๒)
๑.ให้ส่วนราชการดาเนินการจาหน่ายพัสดุโดยวิธีการ
ขายทอดตลาด
โดยถือปฏิบตั ติ ามแนวทางการขายทอดตลาด ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๕๐๙-๕๑๗
294
๒. การประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศขายทอดตลาด
ให้ส่วนราชการทาการประเมินราคาทรัพย์สิน โดยอาศัยหลักเกณฑ์
อย่างหนึ่งอย่างใดในการประกอบการพิจารณา ดังนี้
๒.๑ ราคาที่ซ้ ือขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่น
ของสภาพปั จจุบนั พัสดุน้นั ณ เวลาที่จะทาการขาย และ
ควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม
๒.๒ ราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งาน
รวมทั้งสภาพและสถานที่ต้งั ของพัสดุ
กรณีไม่มีจาหน่ายทั่วไป
ทั้งนี้ ให้อยูใ่ นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการในการ
พิจารณาตามหลักเกณฑ์ขา้ งต้น และให้คานึงถึงประโยชน์ของทาง
ราชการด้วย
295
การลงโทษผ
้ ทู งิ้ งาน
อ)
การลงโทษผ
้ ทู งิ้ งาน
(ข้ อ(ต่๑๔๕)
หลักการ ห้ามก่อหนี้ผูกพันกับผูท้ ้ ิงงานที่มีการแจ้งเวียนชื่อแล้ว
ถ้าอยูร่ ะหว่างการพิจารณาให้เป็ นผูท้ ้ งงาน
ิ
๑.)ให้ผนู ้ ้นั
มีสิทธิเสนอ
ราคา/เสนอ
งาน ได้
๒.)ถ้าต่อมา ผลการ
พิจารณาผูน้ ้นั
ถูกสั ่งให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
ให้ปลัดกระทรวงของ
หน่วยงานนั้น
เว้นแต่ ปลัดกระทรวงเห็นว่า จะเป็ น
ประโยชน์แก่ทางราชการอย่างยิง่
ตัดรายชื่อออก
จากผูม้ ีสิทธิ
ได้รบั การ
คัดเลือก
ยกเลิก การเปิ ดซองสอบ
ราคา/ประกวดราคา/
เสนองาน /การลงนาม
สัญญา-ที่ได้กระทาก่อน
การถูกสั ่งให้เป็ นผูท้ ้ งงาน
ิ
หลักเกณฑ์การสั ่งลงโทษ
ให้เป็ นผูท้ ้ งงานของทางราชการ
ิ
1. ผูไ้ ด้รบั คัดเลือกไม่มาทาสัญญา
2. คู่สญ
ั ญา/ผูร้ บั จ้างช่วงไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา
3. คู่สญ
ั ญาไม่แก้ไขความชารุดบกพร่องหรือพัสดุตาม
สัญญา/ วัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐาน/ไม่ครบถ้วน
ทาให้งานเสียหายอย่างร้ายแรง
หลักเกณฑ์ การสั่งให้ เป็ นผ้ ทู งิ้ งาน (ต่ อ)
4. งานก่อสร้างสาธารณูปโภค
-ใช้ของที่มีขอ้ บกพร่อง/ไม่ได้มาตรฐาน/ไม่ครบถ้วน
5. ที่ปรึกษาที่มีผลงานบกพร่อง/ผิดพลาด/ก่อให้เกิด
ความเสียหายอย่างร้ายแรง
6. ผูก้ ระทาการขัดขวางการแข่งขันราคา/กระทาการ
โดยไม่สุจริตในการเสนอราคา
วิธีปฏิบัติในการสั่งให้ เป็ นผ้ ทู งิ้ งาน
ข้อ 145 ทวิ/ตรี/จัตวา
1. กรณีผไู ้ ด้รบั คัดเลือก/ผูจ้ าหน่าย/ผูร้ บั จ้าง/คู่สญ
ั ญา/ผูร้ บั จ้างช่วง
๑) ให้หวั หน้าส่วนราชการ
ทารายการ + ความเห็น
เสนอปลัดกระทรวงโดยเร็ว
๒)
ปลัดกระทรวง
พิจารณา ถ้าเห็นควรสั ่งทิ้งงาน
๓)ให้ส่งชื่อให้ผรู ้ กั ษาการระเบียบ(ปลัดกระทรวงการคลัง)พิจารณา
ต่อไป
วิธีปฏิบัติในการสั่งให้ เป็ นผ้ ทู งิ้ งาน
๔.) ผูร้ กั ษาการตามระเบียบฯ
จะส่งเรื่องให้ กวพ.
พิจารณาเสนอความเห็น
๕. กวพ. พิจารณาเห็นสมควร
สั ่งให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
๖. ผูร้ กั ษาการตามระเบียบฯ จะมีคาสั ่งให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานระบุใน
บัญชีรายชื่อผูท้ ้ ิงงานแจ้งเวียนทุกส่วนราชการทราบทางไปรษณีย ์
ลงทะเบียน/และ website ของกรมบัญชีกลาง
(www.gprocurement.go.th)
2. กรณีการจ้างที่ปรึกษา/จ้างออกแบบและควบคุมงาน
- ผลการปฏิบตั ติ ามสัญญาบกพร่อง ผิดพลาด ก่อให้เกิดความเสียหาย
อย่างร้ายแรงให้หส.ราชการเสนอปลัดกระทรวงตามวิธีการข้อ 145 ทวิ
3. กรณีสั ่งทิ้งงานด้วยเหตุ
เป็ นผูก้ ระทาการขัดขวางการแข่งขันราคา/หรือเป็ นผูก้ ระทาการ
โดยไม่สุจริตในการเสนอราคา
* ให้สว่ นราชการตรวจสอบข้อเท็จจริงว่าสมควรเป็ นผูท้ ้ งงานหรื
ิ
อไม่
* แจ้งเหตุสงสัยให้
ผูเ้ สนอราคา/ผูเ้ สนองาน/ผูม้ ีเหตุสงสัย ทราบ
ให้ช้ ีแจงข้อเท็จจริงกลับมาภายในเวลาที่กาหนดแต่ไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน
นับแต่วนั ที่ได้รบั หนังสือแจ้งจากส่วนราชการ
* ถ้าไม่ช้ ีแจง
ให้ถือว่ามีเหตุสมควรสั ่งให้เป็ นผูท้ ้ งงาน
ิ
ทั้งกรณีที่ 2 และ 3 ให้ดาเนินการแจ้งปลัดกระทรวง/และ
ผูร้ กั ษาการตามระเบียบฯ เช่นเดียวกับกรณีตามข้อ 1
ผลการถูกสั่งลงโทษให้ เป็ นผ้ ทู งิ้ งาน(ข้ อ145)
1. กรณีเป็ นนิตบิ ุคคล
- ถ้าการกระทาเกิดจากผูบ้ ริหาร ให้ลงโทษผูบ้ ริหารด้วย
- การลงโทษมีผลถึงนิตบิ ุคคลอื่นด้วย ถ้า-:
-ดาเนินธุรกิจประเภทเดียวกัน และ
-มีผบู ้ ริหารคนเดียวกัน
2. กรณีเป็ นบุคคลธรรมดา
- มีผลถึงนิตบิ ุคคล
ที่บุคคลนี้เป็ นผูบ้ ริหารด้วย
ผู้บริหาร
หมายถึง-: หุ้นส่ วนผู้จดั การ , กรรมการผู้จดั การ
ผู้บริหาร ,ผู้มีอานาจดาเนินการของนิตบิ ุคคลนั้น ๆ
การอทุ ธรณ์ คาสั่งลงโทษให้ เป็ นผ้ ทู งิ้ งาน
1. ให้ยนื่ อุทธรณ์โดยทาเป็ นหนังสือ ชี้แจงเหตุผล ข้อเท็จจริง
* ยืน่ ต่อผูร้ กั ษาการตามระเบียบภายใน 15 วัน นับแต่วนั รับแจ้ง
การลงโทษ
2. ผูร้ กั ษาการตามระเบียบฯ พิจารณาคาอุทธรณ์
* แจ้งผูอ้ ุทธรณ์โดยไม่ชกั ช้าแต่ไม่เกิน 30 วัน นับแต่รบั อุทธรณ์
ถ้าเห็ นด้วยกับคาอุทธรณ์
- ให้เปลี่ยนแปลงคาสั ่งทางปกครองภายในเวลาดังกล่าวด้วย
*ถ้าไม่เห็ นด้วยกับคาอุทธรณ์
- ให้แจ้งผูม้ ีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ตามที่กาหนดไว้ใน
พรบ. วิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (กฎกระทรวง)
ภายใน 30 วัน
การอทุ ธรณ์ คาสั่งลงโทษให้ เป็ นผ้ ทู งิ้ งาน (ต่ อ)
3. ถ้ายังไม่พอใจ ผูอ้ ุทธรณ์มีอานาจยืน่ ฟ้องต่อศาลปกครอง
ภายใน 90 วันนับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้ง
4. ผลของคาสั ่งให้เพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงาน เป็ นไปตาม
พรบ. วิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครองฯ
เช่น ให้คืนเงิน ทรัพย์สิน หรือทดแทนความเสียหาย
เป็ นต้น
=============
(ตัวอย่าง)กรณีศึกษา
ตามแนวทางการวินิจฉัยของ
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ(กวพ.)
ตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
305
วิธีการคัดเลือกคุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา
หลัก (มติกวพ. เม.ย ๕๒)การพิจารณาว่าเอกสารใดเป็ นสาระสาคัญ
หรือไม่ ต้องพิจารณาตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในประกาศสอบ/
ประกวดราคา ซึ่งเป็ นดุลยพินิจของส่วนราชการผูก้ าหนดเงื่อนไขนั้น
ส่วนของคุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคา “ยืน่ เอกสารไม่ครบ”
ถือว่าขาดคุณสมบัติ/ ไม่ประกาศชื่อ / ไม่เปิ ดซองรายที่ยื่นไม่ครบ
แจ้งรายนั้นให้ทราบ(ไม่อาจผ่อนปรนได้)
กรณีผิดเงื่อนไขที่ถือว่าเป็ นสาระสาคัญ ไม่กรอกวันส่งมอบ / ไม่
กาหนดวันยืนราคา/ เสนอพัสดุหลายยีห่ อ้ /กรอกราคาผิดพลาด/ส่วน
Specไม่ถูกต้อง/วิธีประกวดราคา กรอกเวลาค้าประกันไม่ครอบคลุม
ตั้งแต่วนั ยืน่ ซองถึงวันสิ้นสุดระยะเวลายืนราคา
306
.......การขอคืนค่าซื้อเอกสาร........
มติกวพ. ที่ กค(กวพ) ๐๔๒๑.๓/๓๒๙๘๓ ลว. ๑๙ ต.ค.๕๔
•การขอคืนค่าซื้อเอกสารตามระเบียบฯข้อ ๔๖ วรรคท้าย จะต้องมีสาเหตุ
จากการที่ส่วนราชการได้ยกเลิกการประกวดราคา โดยยังไม่ได้เข้าสู่
กระบวนการเสนอราคา ทาให้ผซู ้ ้ ือยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากเอกสารที่ซ้ ือ
เมื่อ ก.ท่องเที่ยวและกีฬา ได้ยกเลิกประกวดราคา
“ เนื่องจากผูเ้ สนอราคาตา่ สุดเสนอเกินวงเงินงบประมาณที่ได้รบั
จึงถือได้ว่า มีการใช้ประโยชน์ในเอกสารประกวดราคาแล้ว”
 แม้ตอ่ มา จะได้มีการประกวดราคาใหม่ซึ่งเป็ นงานโครงการเดิม
ก็ถือว่า เป็ นการดาเนินการจัดหาใหม่
ดังนัน้ ผูซ้ ้ ือเอกสารในครัง้ แรก จึงไม่มีสิทธิขอรับเอกสารประกวดราคา
ครัง้ ใหม่ และไม่มีสิทธิขอรับเงินส่วนต่างค่าเอกสาร และแบบประกวด
ราคาดังกล่าวด้วย
307
ผูเ้ สนอราคาเสนอหนังสือรับรองผลงานอันเป็ นเท็จ
• มติกวพอ.
ถือว่า เป็ นการกระทาการขัดขวางการแข่งขัน
ราคาอย่างเป็ นธรรม
• ห้าง ก.แสดงเอกสารหนังสือรับรองผลงานอันเป็ นเท็จ
• โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีจะแสวงหาผลประโยชน์ท่ีมิควรได้ใน
ระหว่างผูเ้ สนอราคา หรือผูเ้ สนองานด้วยกัน หรือ เพือ่ ให้
ประโยชน์แก่ผเู ้ สนอราคา /งาน รายใด รายหนึ่ง เป็ นผูม้ ี
สิทธิ์ทาสัญญา หรือเพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันราคาอย่างเป็ น
ธรรม หรือเพื่อให้เกิดการได้เปรียบส่วนราชการ โดยมิใช่
เป็ นไปในทางการประกอบธุรกิจปกติ
308
ผูเ้ สนอราคาไม่มาดูสถานที่วนั นัดชี้แจง จะตัดสิทธิ์ไม่ได้
(Rf.07918/3/50)
• การประกวดราคาซึ่งจาเป็ นต้องกาหนดเงื่อนไขให้มีการชี้แจง
รายละเอียด และดูสถานที่
ให้ถือเป็ นสิทธิประโยชน์ของผูเ้ ข้าเสนอ
ราคา ที่จะเข้ามารับฟั งคาชี้แจง หรือดู
สถานที่ หรือไม่ก็ได้ โดยไม่สมควรตัดสิทธิ
ผูไ้ ม่มาฟั งคาชี้แจง /ดูสถานที่
→ซึ่งถ้าไม่มา ฟั งคาชี้แจง/ ดูสถานที่ ก่อนเสนอราคา
ย่อมถือได้ว่า ผูเ้ สนอราคายินยอมสละสิทธิและประโยชน์
ในการรับฟั งคาชี้แจง /ดูสถานที่
309
การกรอกรายละเอียดไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขในประกาศ
งานก่อสร้าง ถ้ากรอกบัญชีรายการวัสดุไม่ครบถ้วน
 ข้อวินิจฉัยกวพ.
- คณะกรรมการฯ จะต้องเปรียบเทียบใบแจ้งปริมาณงาน /
ราคา(BoQ)ของผูเ้ สนอราคารายนัน้ กับปริมาณงาน และ
ราคากลางของทางราชการ และของผูเ้ สนอราคารายอื่นว่า
- จะสามารถนามาพิจารณาเปรียบเทียบปริมาณ และราคากันได้
เพียงใด หรือไม่
ผล - หากกรอกบัญชีวสั ดุไม่ครบเป็ นเหตุให้ไม่อาจเปรียบเทียบ
ราคาของส่วนราชการ และของผูเ้ สนอราคารายอื่นได้
 ย่อมถือว่า เป็ นการผิดในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญ
310
การเสนอราคางานก่อสร้าง ต ่ามาก
จนคาดว่าไม่สามารถทางานได้
• มติกวพ.ครั้งที่ ๒๓/๒๕๕๐
ปั ญหาผูเ้ สนอราคา เสนอราคาต ่าสุด จนคาดว่าไม่สามารถ
ทางานตามสัญญาได้
แนวทางแก้ไขปั ญหา ให้คณะกรรมการดาเนินการดังนี้๑) ให้เปิ ดโอกาสให้รายต ่าสุดนั้นมาชี้แจง
-หากยังยืนว่าสามารถทางานได้ภายในวงเงินที่เสนอ
 ให้ตรวจสอบพยานหลักฐานข้อเท็จจริงตามข้อกล่าว
อ้างว่าเป็ นความจริงหรือไม่ ประกอบความเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
หรือผูช้ านาญการในเรือ่ งการจัดหานั้น ๆ
๒) หากมีความเห็นของส่วนราชการและผูเ้ ชี่ยวชาญสอดคล้องกัน
-ให้สามารถใช้เป็ นดุลพินิจพิจารณาตามความเหมาะสมถูกต้องได้
311
การเสนอราคาต ่ามาก จนไม่สามารถทางานได้ (ต่อ)
•
เพราะหากไม่สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาได้ ระเบียบฯพัสดุ
ได้กาหนดบทลงโทษเรือ่ งการทิ้งงานไว้เป็ นการเฉพาะอยูแ่ ล้ว
และอาจถูกดาเนินคดีอาญาตามกฎหมายเกี่ยวกับการเสนอ
ราคา ต่อหน่วยงานของรัฐด้วย
๓) แต่หากฟั งคาชึ้แจงของทุกฝ่ ายแล้ว ไม่น่าเชื่อว่าจะทางานได้
-ส่วนราชการก็ชอบที่จะพิจารณาผูเ้ สนอราคาต ่ารายถัดไปได้
ตามข้อสงวนสิทธิ์ที่ระบุไว้ในประกาศฯ
312
.....การตัดไม่พิจารณาผูเ้ สนอราคารายต ่าสุด
เนื่องจากขาดคุณสมบัต.ิ .....
• แนวปฏิบตั ิ ข้อหารือของท้องถิ่น (ปี ๕๐)
• อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคาในการคัดเลือกผู ้
เสนอราคา (ประกวดราคาใช้เหมือนกัน)ให้พิจารณาตามลาดับ
ขั้นตอนที่กาหนดไว้ในระเบียบกล่าวคือ
• ขั้นตอนที่ ๑
–ตรวจคุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคา /ความถูกต้องครบถ้วนของเอกสาร
หลักฐานต่าง ๆ แล้วคัดเลือกรายที่ถูกต้อง
313
-การตัดไม่พิจารณาผูเ้ สนอราคารายต ่าสุด(ต่อ)

ถ้ารายละเอียดที่เสนอแตกต่างจากเงื่อนไขที่กาหนด ในส่วนที่
มิใช่สาระสาคัญ/ ไม่ได้เปรียบเสียเปรียบกัน/ ผิดพลาด
เล็กน้อย /ให้ผ่อนปรนได้
ขั้นตอนที่ ๒-นารายชื่อผูผ้ ่านคัดเลือกตามขั้นตอน ๑ มาคัดเลือก
พัสดุ/งานจ้าง ที่มีคณ
ุ ภาพ/ คุณสมบัตทิ ี่เป็ นประโยชน์ตอ่ ทางราชการ ซึ่ง
เป็ นเรื่องที่ไม่สามารถกาหนดไว้ในประกาศสอบราคา(ประกวดราคา)ได้
เช่น ประวัตกิ ารบริการหลังการขาย ประวัตกิ ารใช้ของสิ่งนั้น
 โดยในชั้นนี้ คณะกรรมการสามารถพิจารณาตัดสิทธิผเู ้ สนอราคาราย
ที่เสนอสิ่งของหรืองานจ้างที่มีคุณสมบัตไิ ม่เป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการออก
ได้
หลังจากนัน้ จึงพิจารณาเฉพาะผูท้ ่ีผา่ นการคัดเลือกคุณสมบัตทิ ่ีเสนอ
ราคารายตา่ สุด
314
ตัวอย่าง ไม่กาหนดSpec.ในการใช้พสั ดุที่ผลิตใน
ประเทศไทย
(หนังสือที่ กค(กวพ)0408.4/2390 ลงวันที่ 13 สิงหำคม 2547)
ปั ญหำส่วนราชการ ออกประกาศประกวดราคาซื้อรถบดสั ่นสะเทือน
ขับเคลื่อนด้วยตนเองขนาด 2-3 ตัน ซึ่งมีผผู ้ ลิตในประเทศไทยและ
ได้รบั การจดทะเบียนจากกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว
แต่ประกาศประกวดราคาไม่ได้ระบุความต้องการเฉพาะพัสดุท่ี
ทาในประเทศไทย ตามระเบียบพัสดุฯข้อ 16 (8) เนื่องจากมีความ
ต้องการให้มีการเปิ ดกว้าง และเกิดการแข่งขันในการเสนอราคา
 ปรำกฏว่ ำมีผ้ ูเสนอรำคำ 4 รำย ผู้เสนอรำคำต่ำสุด เสนอ
ผลิตภัณฑ์ ประเทศเยอรมัน จึงขอหำรือว่ ำสมควรพิจำรณำรับรำคำผู้
เสนอรำคำต่ำสุด หรือจะต้ องยกเลิกประกำศประกวดรำคำครัง้ นี ้
315
แนวคาวินิจฉัยของกวพ.
• คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) พิจารณาแล้ว เห็นว่า
เมื่อรถดังกล่าวมีผไู ้ ด้รบั การจดทะเบียนไว้กบั กระทรวง
อุตสาหกรรมแล้ว ในการประกวดราคาซื้อจึงต้องปฏิบตั ติ าม
ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 16(8) โดยระบุความต้องการเฉพาะพัสดุที่ทา
ในประเทศเท่านั้น
• การที่ส่วนราชการไม่ระบุความต้องการเฉพาะพัสดุท่ีทาในประเทศ
จึงเป็ นการกระทาที่ขดั กับระเบียบฯ
• ดังนัน้ หากจะพิจารณารับราคาผูเ้ สนอราคาที่มิใช่พสั ดุท่ีทาใน
ประเทศไทยแล้ว ย่อมขัดกับระเบียบฯดังกล่าว
• แต่หากจะพิจารณายกเลิกการประกวดราคา จะต้องสามารถชี้แจง
เหตุผลให้เป็ นที่เข้าใจแก่ผเู ้ สนอราคาทุกรายได้
316
อนึ่ง ตำมมติ ครม.ตำมหนังสือด่ วนมำกที่ นร 0205/ว212 ลงวันที่ 26
ตุลำคม 2544 ได้ กำหนดหลักเกณฑ์ ไว้ เป็ น 2 ส่ วนคือ
1. กำหนดให้ การจัดหาพัสดุที่มีผ้ ูผลิตในประเทศแล้ ว ให้ หน่ วยงาน
ของรั ฐใช้ พัสดุท่ผี ลิตในประเทศไทย และถือปฏิบัตติ ำมระเบียบพัดสุในส่ วนที่
เกี่ยวข้ องอย่ ำงเคร่ งครั ด
2. กำหนดให้ กรณีท่ ีมีพัสดุท่ ีผลิตในประเทศแล้ ว แต่ มีจานวนน้ อยราย
หรื อมีความจาเป็ นต้ องใช้ พัสดุท่ผี ลิตจากต่ างประเทศหรื อจะต้ องมีการนาเข้ า
จากต่ างประเทศกรณีการจัดหาครั้ งหนึ่ง มีราคาต่ อหน่ วยไม่ เกิน 2 ล้ านบาท ให้
เป็ นความรั บผิดชอบของหัวหน้ าหน่ วยงานของรั ฐที่จะพิจารณาจัดหาจาก
ต่ างประเทศ
 กรณีตำมข้ อ 2 เป็ นกำรยกเว้ นให้ จัดหำพัสดุท่ ผี ลิตใน
ต่ ำงประเทศได้ ในกรณีของพัสดุท่ วั ไป มิได้ รวมถึงกำรจัดหำพัสดุท่ มี ี
มำตรฐำนผลิตภัณฑ์ อุตสำหกรรม ซึ่งระเบียบฯกำหนดกำรจัดหำไว้
เป็ นกำรเฉพำะแล้ ว และหน่ วยงำนผู้จัดหำต้ องถือปฏิบัตติ ำม
ระเบียบฯอย่ ำงเคร่ งครัด
317
กรณีศึกษาปั ญหา
เกี่ยวกับการตรวจรับพัสดุ
การตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง
การควบคุมงาน
318
เรือ่ ง การตรวจสอบคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา
แนววินิจฉัย เมื่อ ๒๘ พ.ย.๒๕๕๑
(Rf.31793)
โรงพยาบาล ฉ. จ้างก่อสร้างอาคารผูป้ ่ วยใน ๑๔ ชัน้ วงเงิน ๓ ร้อยล้านบาท
เศษ กาหนดเงื่อนไขให้ผเู ้ สนอราคา เสนอบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา
ผูเ้ สนอราคาเสนอบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา(BOQ)
ไม่ตรงตามบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาของจังหวัด
ดังนัน้ การพิจารณาว่า ผูเ้ สนอราคาแสดงปริมาณวัสดุและราคาแตกต่าง
ไปจากของจังหวัด ฉ จะเป็ นการผิดเงื่อนไขในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญ ที่
จะต้องตัดสิทธิเสนอราคา หรือไม่ผิด เนื่องจาก เป็ นส่วนที่ไม่ใช่สาระสาคัญ
ย่อมเป็ นดุลยพินิจและอานาจของคณะกรรมการประกวดราคาที่จะเป็ น
ผูพ้ ิจารณาผ่อนปรนได้
319
เรือ่ ง การพิจารณาคุณสมบัติเรือ่ งผลงาน
แนววินิจฉัยเมื่อ ๙ มี.ค.๒๕๕๒ (Rf.04939)
โรงพยาบาล ม.ประกวดราคาซื้อ
วัสดุอาหาร วัตถุดิบ และเครือ่ ง
-ร้าน บ. ยื่นหนังสือรับรอง
บริโภค ๖ หมวด ๓๒๐ รายการ
ในประกาศฯกาหนดเงื่อนไขว่า ผลงานที่โรงเรียน ก. ออกให้
ต้องเคยมีผลงานการขายอาหาร โดยมิได้แนบสาเนาสัญญา
สด,แห้ง ฯ จากส่วนราชการ หรือ
มาด้วย จึงไม่ขดั ต่อประกาศฯ
รัฐวิสาหกิจมาแล้วไม่ตา่ กว่ า ๒ ล้าน เนื่องจำกในประกำศฯ กำหนด
ในเวลาไม่เกิน ๓ ปี นับถึงวันยื่นซอง เงื่อนไขกำรให้ ย่ นื เอกสำรรับรอง
-และต้องมีหนังสือรับรองของ
ผลงำนไว้ อย่ ำงกว้ ำงขวำง
หน่วยงานนั้น หรือ สาเนาสัญญา
ซื้อขายมาแสดง
320
การขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม
กรณีแต่งตัง้ ผูแ้ ทนบริษทั เป็ นคณะกรรมการร่าง TOR/
บริษทั ฯของผูน้ ้นั เข้าเสนอราคาไม่ได้(Rf 10225; ลว.๓๑ มี.ค. ๕๓)
จังหวัด ร. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของบริษทั ToT มาร่วมเป็ น คกก.ร่าง TOR
กาหนดSpec เพื่อจัดซื้อกล้องวงจรปิ ด(cctv)พร้อมติดตั้ง
มติกวพ.อ.
การที่บริษทั ToT มาร่วมเสนอราคาด้วย ระเบียบฯ๓๕ ข้อ ๑๕ ทวิ
และ ๑๕ ฉ กาหนด เรื่องการแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรมไว้
จึงถือได้ว่า เป็ นการกระทาการอันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันราคา
กันอย่างเป็ นธรรม
ย่อมตัดรายชื่อออกจากการประกวดราคาครั้งนี้ได้
321
หลักการพิจารณาผลงาน จะต้องพิจารณาผลงานรวมทัง้ สัญญา
ไม่แยกค่างานตามรายละเอียดปริมาณงาน
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๐(ระเบียบข้อ ๙(๓))
 ปั ญหา มหาวิทยาลัยจ้างก่อสร้างอาคารกาหนด spec ว่า
“ผูเ้ สนอราคาต้องมีผลงานติดตั้งระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้ า ระบบ
ป้องกันอัคคีภยั ไม่นอ้ ยกว่า ๗.๕ ล้านบาท”
 ห้างฯเสนอผลงานก่อสร้างอาคาร ซึ่งมีผลงานระบบสุขาภิบาล ระบบ
ไฟฟ้ าฯ .... รวมกันไม่ถงึ ๗.๕ ล้านบาท
 มหาวิทยาลัยฯ ตัดสิน ไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
 มติกวพอ.
 หากมหาวิทยาลัย.เห็นว่า เป็ นงานจ้างทีม่ ีลกั ษณะพิเศษ แตกต่างจาก
งานจ้างทัว่ ไป จะต้องกาหนดให้ชดั เจนเจาะจง
322
มีผรู ้ อ้ งเรียนให้ยกเลิกประกวดราคา เนื่องจาก
ผูเ้ สนอราคารายต ่าสุดอยูร่ ะหว่างถูกดาเนินคดี
ใช้/อ้างเอกสารผลงานปลอมของเทศบาล(๑๐ก.ย.๕๒)
-เรื่องนี้ส่วนราชการ น. ได้ทราบภายหลังจากที่
คกก.ประกวดราคาได้ตรวจคุณสมบัตผิ ่านแล้ว
อย่างไรก็ดี เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงภายหลังว่า
ผูเ้ สนอราคาตา่ สุดรายนี้ มีคุณภาพ/คุณสมบัติ
ไม่เป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการ ย่อมต้องใช้
ดุลพินิจที่จะพิจารณาว่า
สมควรยกเลิกการประกวดราคา
323
324
• ข้ อเท็จจริง
• กรมพัฒนาที่ดินจ้างบริษทั ฯ ทาแผนที่ภาพถ่ายตามโครงการ
จัดทาแผนที่เพื่อการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและ
ทรัพย์สินของกระทรวงเกษตรฯ
สัญญากาหนดว่า ผูร้ บั จ้างต้องสร้างหมุดหลักฐาน
ภาคพื้นดินทั้งประเทศ จานวนทั้งสิ้น ๒,๘๑๐ หมุด
และกระทรวงฯ ได้เลือกกรมแผนที่ทหารเป็ นหน่วยงาน
อิสระในการตรวจสอบคุณภาพหมุดหลักฐานตามสัญญา
325
การตรวจรับพัสดุ
บริษทั ฯ ส่งมอบงาน
ซึ่งเป็ นพื้นที่อนั ตรายจาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เหตุการณ์ความไม่สงบใน
ทาการตรวจสอบหลักหมุด
พื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดน
หลักฐานแล้ว จานวน
ภาคใต้ ที่การเข้าไป ตรวจ
๒,๗๑๖ หมุด คงเหลือ ๙๔
รับมีความเสีย่ งต่อการ
หมุด ในพื้นที่ ๓ จังหวัด
สูญเสียชีวิตสูง
ชายแดนภาคใต้ และ ๔
อาเภอในจังหวัดสงขลา
326
ข้อหารือ กรมฯ จะใช้ภาพที่ผรู ้ บั จ้างส่งมาประกอบ
ในการตรวจรับ ร่วมกับวิธีสุม่ ตรวจในอัตราร้อยละ ๒๐
โดยยกเว้นบริเวณที่มีความเสี่ยงสูงได้หรือไม่ ?
แนววินิจฉัยของ กวพ.
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ข้อ ๗๑(๒)
และตามสัญญาฯ ข้อ ๓.๙ เรือ่ งการรับมอบงานกาหนดว่า
จะพิจารณาจากผลงานที่ผรู ้ บั จ้างได้จดั ส่ง และจะมีการสุม่ ตัวอย่าง
จานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕ ของจานวนหมุดหลักฐานเพื่อตรวจสอบค่า
พิกดั และร้อยละ ๙๐ ของจานวนสุม่ ตัวอย่างจะต้องมีความคลาดเคลื่อน
ของค่าพิกดั ไม่มากกว่า ๕ เซนติเมตร โดยการสุม่ ตัวอย่างให้หน่วยงาน
อิสระเป็ นผูด้ าเนินการ
เมื่อกรมแผนที่ทหารได้ดาเนินการตรวจสอบและรายงานผลต่อ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แล้ว
327
ในการตรวจรับหมุดหลักฐานจานวน ๙๔ หมุด ที่เป็ น
ปั ญหาดังกล่าว
หากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุของกรมพัฒนาที่ดิน
ได้พิจารณาจากภาพที่ผรู ้ บั จ้างจัดส่งมาให้
และผลการตรวจสอบของกรมแผนที่ทหาร ประกอบกับ
การสุม่ ตรวจอีกครั้งหนึ่งในอัตราร้อยละ ๒๐ ของพื้นที่
ที่เป็ นปั ญหาแล้ว สามารถพิจารณาความถูกต้องครบถ้วน
ของงานที่ผรู ้ บั จ้างส่งมอบได้แล้ว
กรณีก็อยูใ่ นขอบข่ายที่สามารถดาเนินการได้
328
ผูร้ บั จ้างมีหนังสือส่งมอบงานย้อนหลัง
จะตรวจรับอย่างไร
ตัวอย่าง - มีหนังสือส่งมอบงาน ๖ ก.ค. ๒๕๔๘
- แต่แจ้งว่าส่งมอบงานจริงตัง้ แต่ ๑๖ กพ. ๒๕๔๘ แล้ว
กรณีเป็ นการทาหนังสือส่งมอบย้อนหลังในวันที่งานเสร็จ
ถ้าพิสูจน์ไม่ได้ว่างานเสร็จจริงในวันที่๑๖กพ.หรือไม่
ต้องถือวันส่งมอบเป็ นหนังสือเป็ นสาคัญ
กรณี นี้ ป ราก ฏว่ า คกก . ตรวจการจ้ า งยอมรั บ ว่ างานเสร็ จ
วันที่ ๑๖ กพ.๔๘ และยอมรับว่าส่งงานจริงวันที่ ๑๖ กพ. แล้ว
- จึงต้องถือวันส่งมอบงานจริง คือ ๑๖ กพ. ๔๘
329
การตรวจรับพัสดุไว้เป็ นของทางราชการแล้ว
นาไปฝากผูข้ ายไว้ก่อน
ข้อหารือ
 จังหวัดระยอง ได้มอบหมายให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์
จังหวัดระยองจัดซื้อพัสดุของโครงการตลาดกลางยางพาราภาค
ตะวันออก แต่มีการก่อสร้างอาคารของโครงการยังไม่แล้วเสร็จ
การส่ งมอบพัสดุ จึงจาเป็ นต้องเก็ บรักษาไว้ก่อนเพื่ อรอการ
ก่อสร้างให้แล้วเสร็จ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ทาหนั งสือฝาก
ไว้กับผูจ้ าหน่าย โดยมีเงื่อนไขว่ า เมื่อมีการส่ งคื นพัสดุท่ีฝากไว้
คณะกรรมการจะดาเนินการตรวจรับอีกครัง้
330
การฝากทรัพย์สินที่ตรวจรับแล้วไว้กบั ผูข้ ายก่อน
ผู ้ ข ายได้ส่ ง มอบสิ่ ง ของให้ แ ก่ จั ง หวั ด ระยองแล้ ว ภายใน
กาหนดเวลา และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้ดาเนิ นการ
ตรวจรับสิ่งของไว้แล้วโดยครบถ้วนถูกต้องตามหลักฐานที่ตก
ลงกันไว้ จึงถื อว่า สิ่งของดังกล่าวได้ตรวจรับเรียบร้อยแล้ว
ตามระเบียบฯ
ดั ง นั้ น การตรวจรั บ อี ก ครั้ ง ตามข้ อ ตกลงฝากครุ ภั ณ ฑ์
จึงไม่ใช่การตรวจรับพัสดุตามระเบียบพัสดุ แต่อย่างใด
แต่เป็ นการตรวจรับตามสัญญาฝากทรัพย์สิน ซึ่ งอยู่ภ ายใต้
บังคับตามปพพ.ลักษณะ ๑๐ ฝากทรัพย์
331
• มีประเด็นที่จะต้องพิจารณาว่า การที่จงั หวัดระยองได้ฝากพัสดุ
ซึ่งได้ทาการตรวจรับแล้วไว้กบั ผูข้ ายนั้น ชอบด้วยระเบียบฯ
ข้อ ๑๕๑ และ ข้อ ๑๕๒ เรื่อง การเก็บรักษาพัสดุ หรือไม่
• เนื่องจาก โดยหลักการ เมื่อส่วนราชการได้รบั พัสดุไว้แล้ว
ไม่ว่าจะได้มาด้วยประการใด และเจ้าหน้าที่พสั ดุได้รบั มอบแล้ว
เจ้าหน้าที่พสั ดุมีหน้าที่ตอ้ งลงบัญชีหรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ
แล้วแต่กรณี แยกเป็ นชนิด และแสดงรายการตามตัวอย่างที่
กวพ. กาหนด
• โดยให้มีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบรายการ
ด้วย และเก็บรักษาพัสดุให้เป็ นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย และ
ให้ครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามบัญชีหรือทะเบียน
332
• หากจังหวัดระยองไม่มีสถานที่เพียงพอสาหรับเก็บพัสดุ ก็ชอบที่
จะเช่าสถานที่เพื่อเก็บรักษาพัสดุได้ตามระเบียบฯ ข้อ ๑๒๙
• การที่ จัง หวั ด ระยองได้ฝ ากพัส ดุ ข องทางราชการไว้กั บ ผู ้ข าย
อั น อาจท าให้ ส่ ว นราชการไม่ ส ามารถท าการควบคุ ม และ
ตรวจสอบพัสดุได้ตามระเบียบฯ
• เป็ นเหตุให้พสั ดุของทางราชการเกิ ดการสูญหายหรือได้รั บคืน
ไม่ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานการฝาก
• จึงเป็ นการดาเนินการที่ไม่เป็ นไปตามระเบียบฯ ทั้งนี้ การกระทา
ดังกล่าวอาจเข้าข่ายเป็ นความผิดตามระเบียบฯ ข้อ ๑๐ ด้วย
333
ปัญหาข้อหารือเกี่ยวกับ
การตรวจรับพัสดุบางส่วน
334
• ข้ อเท็จจริง
• สานักงาน ศ.ได้ทาสัญญาซื้ อขายเครื่องปรับอากาศพร้อมติดตั้ง
จ า น ว น ๘ ๐ เ ค รื่ อ ง กั บ บ ริ ษั ท ฯ โ ด ย ผู ้ ข า ย ไ ด้ ส่ ง ม อ บ
เครื่ อ งปรั บ อากาศ จ านวน ๘๐ เครื่ อ งให้ แ ก่ ผู ้ ซ้ ื อภายใน
กาหนดเวลาตามสัญญา
• แต่ปรากฏว่า เครื่องปรับอากาศที่มีขนาดตา่ กว่า ๓๐,๐๐๐ บีทียู
จานวน ๓๔ เครื่อง ไม่ได้รบั มาตรฐานประหยัดพลังงานเบอร์ ๕
ตามเงื่อนไข ที่กาหนดไว้ในสัญญา
 จึงเป็ นการส่งมอบครบถ้วน แต่ไม่ถูกต้องตามสัญญาบางส่วน
• ข้อหารือ
• สานักงานฯ ควรบอกเลิกสัญญากับบริษทั ฯ หรือ ควรตรวจ
รับบางส่วนโดยแก้ไขสัญญาเพื่อให้รบั ในส่วนที่ถูกต้อง
จานวน ๔๖ เครื่อง และไม่ตรวจรับจานวน ๓๔ เครื่อง
335
แนววินิจฉัยของ กวพ..
• ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๗๑ (๕) กาหนดหน้าที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุไว้ว่า
• ในกรณี ที่ ผู ้ข ายหรื อ ผู ้รับ จ้า งส่ ง มอบพัส ดุ ถู ก ต้อ งแต่ ไ ม่ ค รบ
จานวน หรือส่งมอบครบจานวนแต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด ถ้าสัญญา
หรือข้อตกลงมิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ตรวจรับไว้เฉพาะ
จานวนที่ถูกต้อง
• และโดยปกติให้รบี รายงานหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแจ้งให้ผขู ้ าย
หรือผูร้ บั จ้างทราบภายใน ๓ วันทาการ นับแต่วนั ตรวจพบ
• แต่ท้งั นี้ ไม่ตดั สิทธิของส่วนราชการที่จะปรับผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง
ในจานวนที่สง่ มอบไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องนั้น
336
หากส่วนราชการจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามข้อ ๙
คู่สัญญาแต่ละฝ่ ายจาต้องให้อีกฝ่ ายหนึ่ ง ได้กลับคื นสู่ฐานะดังที่
เ ป็ น อ ยู่ เ ดิ ม แ ต่ ทั้ ง นี้ จ ะ ใ ห้ เ ป็ น ที่ เ สื่ อ ม เ สี ย แ ก่ สิ ท ธิ ข อ ง
บุคคลภายนอกหาได้ไม่ ตามปพพ.มาตรา ๓๙๑
 โดยผูซ้ ้ ือจะต้องชดใช้เงินคืนตามควรค่าแห่งงาน
หากมีการงานหรือพัสดุที่ได้รบั ไว้และใช้ประโยชน์ในราชการได้
ตามสัญ ญาแล้ว ผู ซ้ ้ ื อจะต้อ งมี ก ารชดใช้ร าคาให้แ ก่ ผู ข้ าย และ
จะต้องมีการหักค่าปรับและค่าเสียหายอื่นๆ (ถ้ามี) ออกก่อนด้วย
 เว้น แต่ ก ารงานหรื อ พั ส ดุ ที่ รั บ ไว้ ผู ้ซ้ ื อไม่ ส ามารถน าไปใช้
ประโยชน์ตามสัญญาได้ จึงต้องถือว่าพัสดุหรืองานนั้น ไม่ควรค่า
แก่การชดใช้เงินคืน
อนึ่ ง เมื่ อ หน่ วยงานได้มี การบอกเลิ กสัญญาไปแล้ว และหน่ วยงานได้
จัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่น ผูข้ ายจะต้องชดใช้ราคาที่เพิ่มขึ้นจากราคาที่
กาหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย
337
หากส่วนราชการผูซ้ ้ ือเห็นว่า การตรวจรับเฉพาะส่วนที่ถกู ต้องไว้ใช้
ในราชการ จะเป็ นประโยชน์แก่ทางราชการมากกว่าการบอกเลิก
สัญญา ก็ สามารถที่จะตรวจรับบางส่วนไว้ใช้ในราชการได้ ตาม
เงื่อนไขของสัญญา ข้อ ๕ วรรคสามดังกล่าว และเบิกจ่ายเงินให้แก่
ผูข้ ายตามจานวนที่ส่งมอบถูกต้องตามเงื่อนไขของสัญญา
 ทั้ง นี้ การตรวจรับ เครื่ อ งปรับ อากาศบางส่ ว นดัง กล่ า ว เนื่ อ งจาก
สัญญาฯ กาหนดให้มีการจ่ายเงินงวดเดียวเท่านั้น เมื่อผูข้ ายส่งมอบ
ของครบถ้วนถูกต้องตามสัญญา
ดังนั้น หากจะตรวจรับเฉพาะส่วนตามสัญญาข้อ ๕ จึงต้องแก้ไข
สัญญาตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๖ ด้วย
 เพื่อให้สามารถแบ่งจ่ายเงินเป็ นงวดได้ และจะต้องสงวนสิ ทธิการ
ปรับในจานวนที่ส่งมอบไม่ถูกต้องไว้ดว้ ย
สาหรับการคิดค่าปรับจะเริ่มคิ ดเมื่ อสิ้นสุ ดระยะเวลาตามสัญญา
แล้ว โดยเริ่มนับถัดจากวันสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญาไปจนถึงวันที่
ผูข้ ายส่งมอบสิ่งของถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้ หัก
ด้วยจานวนวันที่ส่วนราชการใช้ไปในการตรวจรับ
338
ตัวอย่างปั ญหาเกี่ยวกับ
การควบคุมงาน
และการตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง
339
(ตัวอย่าง)การแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมงานในงานก่อสร้าง
ตามระเบียบฯพัสดุ ต้องมีคุณสมบัตเิ ป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพ
วิศวกรควบคุมด้วยหรือไม่(มติกวพ. ครั้งที่ ๔๒/๒๕๕๓ /๒๑ ต.ค.๕๓)
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หารือกรณีเทศบาลเมือง ย. จะ
แต่งตั้งผูค้ วบคุมงานตามระเบียบฯซึ่งกาหนดให้แต่งตั้งจากผูม้ ี
ความรู ้ ความชานาญทางด้านช่าง ตามลักษณะงานก่อสร้างนั้น
กรณีน้ ี จะต้องนาการปฏิบตั ติ ามพรบ.วิศวกร พ.ศ.๒๕๔๒ มาใช้ใน
การแต่งตั้งด้วยหรือไม่ ?
ตอบ เนื่องจากระเบียบฯพัสดุ ได้กาหนดคุณสมบัตขิ องผูค้ วบคุมงาน
ไว้เป็ นการเฉพาะแล้ว ส่วนพรบ.วิศวกร พ.ศ.๒๕๔๒ เป็ นเรื่องของ
การกาหนดหลักเกณฑ์และคุณสมบัตขิ องผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกร
ควบคุม ซึ่งเป็ นคนละกรณีกบั การแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมงานก่อสร้างตาม
นัยระเบียบฯพัสดุดงั กล่าว
340
ผูค้ วบคุมงานจะต้องไปปฏิบตั หิ น้าที่ ณ สถานที่ที่ผูร้ บั จ้างทางาน
ตามสัญญาทุกวัน หรือไม่
และปฏิบตั ติ ามขั้นตอนที่ระเบียบฯ กาหนดหรือไม่ ?
หลัก การที่จะต้องอยูป่ ฏิบตั งิ านตลอดทั้งวันหรือไม่
ถือเป็ นดุลพินิจของผูป้ ฏิบตั งิ านว่าในขั้นตอนของการทางานในวันนั้น
จาเป็ นที่ตอ้ งควบคุม ดูแล ตลอดเวลาการทางานของผูร้ บั จ้างหรือไม่
หากข้าราชการหรือลูกจ้างประจา ต้องปฏิบตั งิ านหลายแห่งในวัน
และเวลาเดียวกัน เพราะเหตุที่สว่ นราชการมีบุคลากรไม่เพียงพอ
ย่อมขึ้นอยูท่ ี่การใช้ดลุ พินิจของส่วนราชการในการมอบหมายงาน
ซึ่งจะต้องคานึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบตามระเบียบฯ
341
ผูร้ บั จ้างฝ่ าฝื นคาสั ่งหยุดงานเฉพาะส่วน ของผูค้ วบคุมงาน
หรือของคกก.ตรวจการจ้าง และทางานต่อไปจนส่วนนั้นแล้ว
เสร็จ จะไม่ตรวจรับเฉพาะส่วนนั้น หรือทั้งหมด ได้หรือไม่ ?
แนววินิจฉัย กวพ.
ในสัญญาจ้างข้อ ๗ กาหนด
ว่า ถ้าผูร้ บั จ้างเพิกเฉย ไม่
ปฏิบตั ติ ามคาสั ่งคกก.ตรวจการ
จ้าง หรือผูค้ วบคุมงาน ผูว้ ่าจ้าง
มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ และมี
สิทธิให้ผรู ้ บั จ้างรายใหม่เข้า
ทางานของผูร้ บั จ้างให้ลลุ ่วงไป
ได้ดว้ ย
และสัญญาข้อ ๑๕ กาหนดให้
ผูค้ วบคุมงาน มีอานาจสั ่งแก้ไข
เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือ
ตัดทอน ซึ่งงานตามสัญญานี้ได้
หากผูร้ บั จ้างไม่ปฏิบตั ติ าม
คกก.ตรวจการจ้าง หรือผูค้ วบคุม
งานมีสิทธิสั ่งให้หยุดกิจการนั้น
ชั ่วคราวได้ ความล่าช้าไม่เป็ นเหตุ
ให้ขยายเวลาสัญญา
342
ดังนั้น หากส่วนราชการผูว้ ่าจ้าง
ไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญามีแนวทางปฏิบตั ิดงั นี้
๑.
๒.
อาจสั ่งให้
ผูร้ บั จ้างแก้ไข
เปลี่ยนแปลง
งานจ้างให้
ถูกต้องตรง
ตามสัญญาจ้าง
ได้
หรือกรณีที่ผรู ้ บั จ้างทางานต่อไป
จนกระทั ่งแล้วเสร็จ และส่งมอบงานแล้ว
ผูค้ วบคุมงาน และคณะกรรมการ
ตรวจการจ้าง จะต้องตรวจรับให้
ถูกต้องครบถ้วน เป็ นไปตามแบบรูป
รายการละเอียด และข้อกาหนดใน
สัญญา
343
การนาพัสดุไปใช้ก่อนการตรวจรับ
ถือว่าเป็ นการรับมอบแล้วโดยปริยาย
เทศบาลจ้างบริษทั ฯ ก่อสร้างถนน จ่ายค่าจ้าง ๑๓ งวด
ผูร้ บั จ้างส่งงานงวดที่ ๑๓ สุดท้าย ปรากฏว่ามีเนื้องานงวด
ก่อนๆ ทั้ง ๑๒ งวด ซึ่งจ่ายเงินค่างวดไปแล้ว กลับมีความชารุด
บกพร่องอีก กรรมการสั ่งให้แก้ไขซ่อมแซม
ระหว่างการแก้ไข เทศบาลเปิ ดถนนให้ประชาชนใช้สญ
ั จร ไป-มา
ถือได้ว่า เป็ นการยอมรับมอบงานงวดที่ ๑๓ ไปแล้ว โดยปริยาย
 เทศบาลต้องจ่ายเงินค่าจ้างตามสัญญา
ส่วนปั ญหาความชารุดบกพร่องในงวดงานใด บริษทั ผูร้ บั จ้างต้อง
ซ่อมแซมแก้ไขตามเงื่อนไขสัญญา ข้อ ๖ เรือ่ งประกันความชารุด
บกพร่อง
344
การส่งมอบและตรวจรับข้ามงวดงาน ทาได้หรือไม่ ?
มติกวพ.( ธ.ค.๔๘) ในหลักการ
สัญญาจ้างแบ่งงวดงาน
๑๐ งวด มิได้มีขอ้ กาหนดไว้
เป็ นอย่างอื่น จึงตรวจรับงาน
และจ่ายเงินข้ามงวดงาน
นอกไปจากที่สญ
ั ญากาหนด
ไม่ได้
“สัญญามีการแบ่งงวดงาน
และจ่ายเงินเป็ นงวดๆก็
เพื่อให้การก่อสร้างเป็ นไป
ตามลาดับขั้นตอนตามหลัก
วิชาการก่อสร้าง
การแบ่งจ่ายเงินเป็ นงวด ๆ ก็ เว้นแต่ เห็นว่า งานงวดใด
เพื่อให้ใช้เป็ นทุนหมุนเวียนใน เป็ นอิสระไม่เกี่ยวข้องกันและ
ระหว่างการทางานให้ผรู ้ บั จ้าง ประสงค์จะรับไว้ก่อน ก็ตอ้ ง
แก้
ไ
ขสั
ญ
ญาเพื
อ
่
ให้
ค
กก.ตรวจ
เกิดสภาพคล่องทางการเงิน.” การจ้าง ตรวจรับงานตาม
เงื่อนไขสัญญา
345
การส่งมอบงานก่อสร้างครั้งละหลายๆงวด กระทาได้
แต่ตอ้ งถูกต้องตามขั้นตอนของงานแต่ละงวด
บริษทั ฯ ก ผูร้ บั จ้างก่อสร้างอาคารเรียน ๙ ชั้น พร้อมลิฟท์ ตามสัญญา
แบ่งงวดงานออกเป็ น ๑๘ งวด งานล่าช้ากว่าสัญญา
บริษทั ฯ รีบก่อสร้าง และส่งงานงวดที่ ๑๒ – งวดสุดท้าย(งวดที่ ๑๘)
ในคราวเดียว ก็ชอบที่จะกระทาได้
แต่คณะกรรมการตรวจการจ้างต้องตรวจรับงานดังกล่าวให้ถูกต้องตามสัญญา
ข้อสังเกต การแบ่งงวดงาน เป็ นไปเพื่อประโยชน์ในการแบ่งจ่ายเงินให้
ผูร้ บั จ้างใช้เป็ นทุนหมุนเวียนในการทางาน เมื่อผูร้ บั จ้างทาตามขัน้ ตอนของ
งานแต่ละงวดถูกต้องตามสัญญา
-การส่งมอบงานเป็ นงวด-หลาย ๆ งวด จึงเป็ นสิทธิ์ของผูร้ บั จ้าง
346
ความเสียหายเกิดขึ้นก่อนตรวจรับงานงวดสุดท้าย
ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบซ่อมแซมให้คืนดี แม้เกิดเหตุ
สุดวิสยั
ห นั ง สื อ เ วี ย น ก ว พ . ส ร . ๑ ๐ ๐ ๑ / ว . ๒ ๘ ล ว . ๑ ๘ พ . ย ๒ ๕
และในแบบสัญญาที่กวพ.กาหนด
การตรวจรับงานจ้างแต่ละงวด มิใช่ การตรวจรับมอบงานจ้า ง
ไว้ใช้ในราชการ
แต่เป็ นเพียงเพื่อจะออกใบตรวจรับงานจ้าง ให้ผรู ้ บั จ้างไว้เป็ น
หลักฐานเพื่อใช้ประกอบการเบิกจ่ายเงินค่างวดงานต่อไปเท่านั้น
หากความเสียหายใด ๆ เกิดขึ้นแก่งานจ้าง ระหว่างงวด
งานแม้จะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสยั ผูร้ บั จ้างก็ตอ้ งรับผิดใน
ความเสียหายนั้น โดยจัดหาใหม่/หรือแก้ไขซ่อมแซมให้คืนดี
347
ผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูร้ บั จ้างช่วงทา โดยไม่ได้รบั อนุ ญาต
เมือ่ ได้ตรวจรับไว้ใช้งานแล้วโดยไม่ทกั ท้วง
ถือว่ายอมรับแล้วว่า งานถูกต้อง
• ผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูร้ บั จ้างช่วงทา
กรมฯ ก าหนดเงื่ อ นไขห้า มผู ร้ ับ จ้ า งน างานไปให้ผู ร้ ับ จ้ า งช่ ว ง
ดาเนินงาน โดยมิได้รบั ความยินยอมจากผูว้ ่าจ้างก่อน
ปรากฏว่า บริษทั ฯ ผูร้ บั จ้างนางานไปให้ผูอ้ ื่นรับจ้างต่อโดยมิได้
รับความยินยอม จึ งเป็ นการผิดสัญญาข้อ ๗
แต่ เมื่ อ ส่ ง มอบของให้ก รมฯ และกรมฯ ตรวจรับ ไว้ใ ช้ง าน
เรียบร้อยแล้ว โดยมิได้ทกั ท้วงถือว่ายอมรับแล้ ว
348
การตรวจรับงานทีไ่ ม่ ชอบด้ วยระเบียบ
-ผู้รับจ้ างทางานตามสั ญญาครบถ้ วนแล้ ว
-ส่ วนราชการให้ ผ้ ูรับจ้ างทางานอย่ างอืน่ ทีม่ ไิ ด้ มใี นสั ญญาจ้ างแทน
-คณะกรรมการตรวจการจ้ าง ได้ ร่วมกันตรวจรับงานว่ า เป็ นการ
ถูกต้ องตามสั ญญาจ้ าง
นร (กวพ) 1002/ว 13 ลว. 3 มี.ค. 31
349
คณะกรรมการตรวจการจ้าง/และ
ผูค้ วบคุมงาน-สั ่งให้ผรู ้ บั จ้างหยุดงาน
จังหวัดสุพรรณบุรี (มติกวพ.ครั้งที่๓/๒๕๕๐)
-เทศบาลเมื อ ง จ้า งปรับ ปรุ ง ระบบบ าบั ด น้ า เสี ย วงเงิ น
๗,๙๕๐,๐๐๐ บาท
- ระหว่างสัญญา บริษทั ผูร้ บั จ้างฯ ขอหยุดงาน
- เนื่องจากมีฝนตกเป็ นระยะ ๆ ก่อสร้างไม่ได้
- เมื่ อ ขุ ด ดิ น แล้ว พบว่ า มี น้ า ใต้ดิ น จ านวนมากต้อ งสู บ น้ า
ตลอดเวลา ดินอ่อนตัว ไม่ สามารถนาเครื่องจักร เครื่อ งมื อ
เข้าไปดาเนินงานได้
350
คกก. ตรวจการจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน-สังหยุ
่ ดงาน(ต่ อ)
ม ติ ก ว พ . ค ก ก . ต ร ว จ ง า น จ้ า ง ไ ป ดู ที่ ก่ อ ส ร้ า ง เ ห็ น ว่ า
ผูร้ บั จ้างยังสามารถทางานส่วนอื่นได้ไม่ควรหยุดงาน
►แม้อานาจในการสังหยุ
่ ดงาน,งด, ลดค่าปรับ,ขยายสัญญา
-จะเป็ นดุลพินิจของ หัวหน้าส่วนราชการก็ตาม
แต่ จะต้องพิ จารณาด้วยความรอบคอบให้ได้ความชัดเจนว่ า
มี เ หตุ อุ ป สรรคอัน เกิ ด ขึ้ นที่ ท างราชการจะต้อ งแก้ไ ข ห รื อ
ไม่สามารถให้ผูร้ บั จ้างทางานต่อไปได้อย่างแท้จริง
จังหวัดจึ งต้องพิจารณาว่ า เหตุอุปสรรคที่เกิดขึ้ น เป็ นเรื่องที่ผู ้
รับ จ้า งไม่ ส ามารถป้ องกัน ได้ อัน จะถื อ เป็ นเหตุ สุ ด วิ ส ั ย ตาม
ปพพ. ม.๘ หรือไม่ดว้ ย ?
351
ใบ BOQ แตกต่างจากแบบรูปรายการ
คณะกรรมการ ต้องตรวจรับตามแบบรูปรายการตามสัญญา
 มหาวิทยาลัย ส. จ้างก่อสร้างระบบระบายน้ า/และที่พกั บุคลากร
ตามประกาศประกวดราคา ข้อ ๑๒.๒ กับสัญญาจ้างข้อ ๑๓ กาหนด
ตรงกันว่า เรื่องแบบรูป และรายละเอียดคลาดเคลื่อนไว้สรุปว่า
”เอกสารประมาณราคางาน รายละเอี ยดปริมาณราคาวัสดุ และ
ค่าแรงงานแต่ละรายการของมหาวิทยาลัย ไม่ถือเป็ นข้อผูกพัน ที่ตอ้ ง
พิจารณาหรือปฏิบตั ไิ ปตามนัน้ ”
→ ผูเ้ สนอราคาต้องรับผิดชอบตรวจสอบแบบรูป ถอดแบบ คานวณ
ราคาแต่ละรายการของงานเอง
 จะกล่าวอ้างปฏิเสธความรับผิดพลาด คลาดเคลื่อนไปจากหลัก การ
ทางวิ ศวกรรม จะปฏิ บัติตามคาวิ นิจฉัยของ คกก. ตรวจการจ้า ง
หรือผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้าง (มหาวิทยาลัย) โดยไม่คิดค่าใช้จา่ ย
เพิ่ม
352
มติ กวพ.
 เมื่ อ ปรากฏว่ า รายละเอี ย ดงานที่ ก าหนดไว้ใ นใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคา (BOQ) BILL OF QUANTITY ของ
ผูร้ บั จ้าง แตกต่างไปจากรูปแบบรายการตามสัญญา
 ผูร้ บั จ้างฯจะปฏิเสธความรับผิดชอบไม่ได้
 คณะกรรมการตรวจการจ้าง (มหาวิทยาลัย)
ต้องยึดถือตามรูปแบบรายการตามที่ปรากฏในเงื่อนไขของ
สัญญา
353
(ตัวอย่างหารือ)
การตรวจรับงานก่อสร้างอาคารของมหาวิทยาลัย
มีเครื่องปรับอากาศในใบ BOQ กับรายการประกอบแบบ
สัญญาไม่ตรงกัน
และใคร?คณะกก.ตรวจการจ้าง ผูค้ วบคุมงาน เจ้าหน้าที่พสั ดุ
จะเป็ นผูเ้ สนอความเห็ นให้ ตัด-เพิ่ม-ลดเนื้องาน-แก้ไขสัญญา
ปั ญหา๑.ในแบบรูป มีเครื่องปรับอากาศ ๖๐,๐๐๐ บีทียู ๑๒ ตัว
แต่ไม่มีใน BOQ และรายการประกอบแบบ
ปั ญหา๒.ใน BOQ มีเครื่องปรับอากาศแยกส่วน ๓๐๐,๐๐๐ บีทียู
กับ ๒๕๐,๐๐๐ บีทียู แต่ไม่มีในแบบรูป
354
ปั ญหา๓.ในรายการประกอบแบบ มีเครื่องปรับอากาศแยกส่วน
๑ชุด คือขนาด๓๐๐,๐๐๐ กับ ๒๕๐,๐๐๐ บีทียู
แนวทางแก้ไข ตามข้อวินิจฉัยมติกวพ.
ในสัญญาข้อ ๔ กาหนดให้ถอื ราคาเหมารวมเป็ นเกณฑ์
โดยหลักการ
การก่อสร้าง มหาวิทยาลัย ต้องยึดถือตามแบบรูปรายการเป็ น
หลัก ดังนัน้ จึงต้องสั่งให้ผรู ้ บั จ้างดาเนินการให้ตรงตามแบบรูป
รายการ
หากมหาวิทยาลัย ล.เห็นว่า เครือ่ งปรับอากาศที่อยู่ในแบบรูปไม่มี
ความจาเป็ นต้องใช้งาน เนื่องจากมีเพียงพอแล้ว จึงจะพิจารณาเป็ น
งานลด-เพิ่ม กรณีน้ ีจึงต้องพิจารณาตามสัญญาข้อ ๔
355
และหากมีความจาเป็ นต้องแก้ไขสัญญา
มหาวิทยาลัย ล.จะต้องปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ตามระเบียบฯ
พัสดุ ข้อ ๑๓๖ ที่กาหนดให้การแก้ไขต้องเป็ นกรณีมีความ
จาเป็ น โดยไม่ทาให้ทางราชการต้องเสียประโยชน์ หรือเป็ น
การแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ให้อยู่ในอานาจของ
หัวหน้าส่วนราชการที่จะพิจารณาอนุ มตั ใิ ห้แก้ไขเปลี่ ยนแปลง
ได้
ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง เป็ นผูเ้ สนอความเห็ น
เพื่อประกอบการพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ หรือ
ผูม้ ีอานาจแก้ไข
และในการแก้ไขสัญญา ก็ให้ตกลงเรือ่ งค่าจ้างพร้อมกันไปด้วย
356
ปั ญหา/การตรวจรับงานกรณี BOQ กับสัญญาขัดกัน
๑. ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการไม่มีเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า แต่มีอยูใ่ นแบบรูปรายการแนบท้ายสัญญา
๒.ผูเ้ สนอราคาก็ไม่ได้เสนอราคาค่าครุภณ
ั ฑ์มาในใบ BOQ
มติกวพ.RF00281/ม.ค./53
เงื่อนไขในประกาศประกวดราคา กาหนดให้ผรู ้ บั จ้างต้องรับผิดชอบ
ถอดแบบ คานวณราคาเองจะนาราคากลางของราชการมาปฏิเสธ
ความรับผิดชอบและเรียกร้องค่าก่อสร้างภายหลังไม่ได้
-เงื่อนไขสัญญาเขียนว่า ผูร้ บั จ้างต้องรับรองว่าได้ตรวจสอบ และ
ทาความเข้าใจแบบรูปรายการละเอียดโดยถี่ถว้ นแล้ว หากผิดพลาด
คลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรม ผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามคา
วินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจการจ้าง และผูค้ วบคุมงาน จะเรียกร้อง
เพื่อให้งานแล้วเสร็จสมบูรณ์ จะคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นไม่ได้
35
7
วินิจฉัยว่า
ในใบเสนอราคากาหนดให้ผรู ้ บั จ้างต้องกรอกปริมาณวัสดุ
จานวนวัสดุ ราคาต่อหน่วยและค่าแรงต่อหน่วยซึ่งต้อง
ตรวจสอบอย่างถี่ถว้ น เมื่อใบ BOQ ไม่มีรายการครุภณ
ั ฑ์
 จึงเป็ นการคานวณผิดพลาดของผูร้ บั จ้างเอง
โดยที่ราคากลางของราชการเป็ นเพียงการประมาณราคาเพื่อ
ใช้เปรียบเทียบกับราคาของผูร้ บั จ้างเท่านัน้
ผูร้ บั จ้างจะอ้างว่ารายการครุภณ
ั ฑ์ดงั กล่าว ไม่มีในราคากลาง
ไม่ได้ .....
358
แม้สว่ นราชการผูว้ ่าจ้างจะอ้างว่า
ครุภณ
ั ฑ์เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ไม่มีความประสงค์จะซื้อ
และไม่ได้ตง้ั งบประมาณเพื่อการนี้ไว้แต่ตน้
แต่กลับมีในแบบรูปรายการ
หากผูร้ บั จ้างไม่ทาตามแบบรูปรายการ อาจทาให้เกิดการ
ได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผูเ้ สนอราคาด้วยกัน
เนื่องจากในประกาศ มีรายการดังกล่าว
ดังนั้น กรณีน้ ี ส่วนราชการจึงต้องพิจารณาวินิจฉัย โดย
ต้องตีความโดยสุจริต และคานึงถึงประเพณีปฏิบตั ิว่า
วัตถุประสงค์ในการต่อเติมดังกล่าว รวมถึงการใช้งาน
ต้องการให้มีเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือไม่ และรายการที่ขอตัง้
งบประมาณประกอบด้วยค่าใช้จา่ ยอะไรบ้าง เป็ นต้น
359
การคิดค่างาน เพิม่ ขึ้ น-ลดลง คิดจากฐานอะไร?
กรณีมีงำนเพิ่ม-ลด ซึ่งต้ องตกลงรำคำค่ ำวัสดุ ค่ ำแรงงำน ต่ อ
หน่ วย กัน ระหว่ ำงผู้ว่ำจ้ ำงกับผู้รับจ้ ำง
หำกปรำกฏว่ ำ บัญชีปริมำณงำนใบBOQซึ่งถือเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของสัญญำ ได้ กำหนดปริมำณงำนและรำคำไว้ แล้ ว
โดยหลักกำร จึงต้ อง
ยึดถือรำคำในบัญชีปริมำณ
งำน (BOQ)ตำมที่ปรำกฏ
ในสัญญำ
โดยไม่ ต้องคิดจำกรำคำกลำง
 แต่ หำกในBOQไม่ ได้
กำหนดไว้ จะต้ องตกลงกับ
ผู้รับจ้ ำงกำหนดอัตรำค่ ำจ้ ำงให้
เหมำะสมต่ อไป
360
กรณีผรู ้ บั จ้างเข้าทางานก่อสร้างก่อนทาสัญญา
(ที่ กค. กวพ. ๐๔๐๘/๓๔๘๘๐ ล.๒๑ ธค.๔๘ )
ระเบียบข้อ ๗๒ ,๗๓ ให้คกก. ตรวจการจ้าง ตรวจรับให้เป็ นไป
ตามรูปแบบรูปรายการ และข้อกาหนดในสัญญา
๑. บริษัทฯ เข้าทางานก่อนทาสัญญาเสร็จงวดที่ ๑. โดยยังไม่ได้
ส่งมอบพื้นที่ แต่อย่างใด - คกก.จึงสั ่งให้หยุดงาน
๒. พฤติ ก ารณ์ข องบริ ษั ท ฯถื อ ว่ า เป็ นการจัด การงานนอกสั ่ง
เข้า ท างานโดยยั ง ไม่ มี สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ต ามสั ญ ญาหรื อ
ข้อตกลงตาม ปพพ. มาตรา ๓๙๕
๓. - ผูค้ วบคุมงาน / คกก.ตรวจการจ้าง ยังไม่สามารถเข้าทา
หน้าที่ตามระเบียบได้
361
ผูร้ บั จ้างเข้าทางานก่อสร้างก่อนทาสัญญา(ต่อ)
มติ ก วพ. - หากกรมฯ เห็ น ว่ า หากด าเนิ น การต่ อ ไปจะเป็ น
ประโยชน์มากกว่า
 อาจพิจ ารณาแต่งตั้ง คกก. กลาง ขึ้ นมาคณะหนึ่ ง ที่ ไ ด้รับ
ความเชื่อถือทั้ง ๒ ฝ่ าย โดยการ
- เข้าท าหน้าที่ ต รวจสอบความแข็ งแรง และพิ จารณาว่ า
สามารถรับงาน ได้หรือไม่
- ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ ตกเป็ นภาระของผูร้ ับจ้างที่
ต้องเป็ นผูพ้ ิสูจน์ว่า สมประโยชน์ของทางราชการแล้ว
362
ผูร้ บั จ้างเข้าทางานก่อสร้างก่อนทาสัญญา(ต่อ)
 หากทางราชการเห็นว่าสามารถรับงานได้
- ให้กรมฯ จ่ ายเฉพาะค่างานทีบ่ ริษทั ฯ จ่ ายไปแล้ว
ตาม ปพพ. ม. ๔๐๑
-งานงวดทีเ่ หลือให้แก้ไขสัญญา เพือ่ ปรับงวดงาน
และงวดเงินกันใหม่
-กาหนดการประกันความชารุดบกพร่อง ให้ครอบคลุมถึง
เนื้ องานในส่วนแรกก่อนการทาสัญญานั้นด้วย
363
ผูร้ บั จ้างไม่เข้าซ่อมแซมงานก่อสร้างที่ชารุดบกพร่อง
แจ้งให้ธนาคารผูค้ ้าประกัน รับผิดชอบได้
• แบบสัญญำคำ้ ประกันข้ อ ๑สรุ ปว่ ำ • ค่ ำใช้ จ่ำยดังกล่ ำว จึงเป็ น
“ธนำคำรผู้คำ้ ประกันยอมผูกพันตน
ค่ ำเสียหำยอันเกิดจำกกำรที่
ที่จะคำ้ ประกันชนิดเพิกถอนไม่ ได้
ผู้รับจ้ ำงไม่ ปฏิบัตติ ำมสัญญำ
ตำมสัญญเช่ นเดียวกับลูกหนีช้ ัน้ ต้ น
จึงมีผลผูกพันธนำคำรผู้คำ้
ไม่ เกินวงเงินที่กำหนดไว้ โดยไม่
ประกันในฐำนะลูกหนีช้ ัน้ ต้ น
จำต้ องเรี ยกร้ องให้ ผ้ ูรับจ้ ำงชำระก่ อน
• หน่ วยงานจึงเรียกให้ ธนาคาร
• กำรที่หน่ วยงำน แจ้ งให้ ผ้ ูรับจ้ ำง
ผู้คา้ ประกันชาระหนี้ได้ ภายใน
เข้ ำซ่ อมแซมงำนที่ชำรุ ด แล้ วไม่ มำ วงเงินไม่ เกินหลักประกัน โดย
จึงจำเป็ นต้ องว่ ำจ้ ำงผู้รับจ้ ำงรำยอื่น ไม่ จาต้ องเรียกร้ อง ให้ ผ้ ูรับจ้ าง
มำซ่ อมแซมแทน
ชาระหนี้ก่อน
364
กำรใช้ เครื่องมือเครื่องใช้ ของผู้รับจ้ ำงรำยเดิม
ปั ญหา (ส่วนราชการต้องกาหนดเงื่อนไขการใช้เครื่องมือเครื่องใช้ของผู ้
รับจ้างรายเดิมทีย่ กเลิกสัญญาไว้ในประกาศฯใหม่ดว้ ย)
-จังหวัดประกาศประกวดราคาก่อสร้างใหม่ อันเนือ่ งมาจากผูร้ บั จ้างเดิม
ทิ้ งงานหรือบอกเลิกสัญญาไป โดยมิได้กาหนดเงือ่ นไข ผูเ้ สนอราคาราย
ใหม่เสนอราคาภายใต้เงือ่ นไขการใช้เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้วสั ดุของ ผูร้ บั
จ้างรายเดิมทิ้ งงานไป
สัญญาจ้างข้อ ๑๖ กาหนดให้ผูร้ บั จ้างรายใหม่ ใช้วสั ดุก่อสร้างของ
ผูร้ บั จ้างรายเดิมได้โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ให้ผูร้ บั จ้างรายใหม่ สามารถ
ทางานในเนื้ องานใหม่ต่อเนือ่ งกับงานของผูร้ ายจ้างรายเดิมได้ทาค้างไว้
โดยไม่ตอ้ งมีผลกระทบโครงสร้างเดิม
365
การใช้เครื่องมือเครื่องใช้ของผูร้ บั จ้างรายเดิม(ต่อ)
แนวทางปฏิบตั ิ
๑. ในขั้นตอนประกวดราคาจ้างใหม่ /ต้องแจ้งในประกาศว่าให้เสนอราคา
ภายใต้เงื่อนไขที่ผรู ้ บั จ้างรายใหม่ได้ใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ และวัสดุ
ของผูร้ บั จ้างรายเดิม ที่สงวนสิทธิไว้เท่าที่ที่จาเป็ น
๒. ถ้าไม่เขียนไว้ในประกาศ จะต้องตกลงราคาค่าจ้างกันใหม่ ภายใต้เงือ่ นไข
ข้างต้น มิฉะนั้นจะทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
๓. แจ้งให้ผรู ้ บั จ้างเดิมมารับคืนเครื่องมือเครื่องใช้และวัสดุ ที่มิได้สงวนไว้
เพื่อปฏิบตั ติ ามสัญญาหรือจาเป็ นต้องใช้
๔. ให้มีหนังสือแจ้งกาหนดระยะเวลาพอสมควร ให้ผูร้ บั จ้างเดิมขนย้าย
เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ วัสดุ ออกไป
366
กำรใช้ เครื่ องมือเครื่ องใช้ ของผู้รับจ้ ำงรำยเดิม (ต่ อ)
แนวทางปฏิบัติ
๕. หากไม่ขนย้ายในเวลากาหนด ให้ยา้ ยออกไปไว้ในทีป่ ลอดภัย
หากต้องเสียค่าขนย้ายให้เรียกคืนได้ตาม ปพพ. ม. ๑๑๖๓,
๑๑๖๗
๖. วัสดุใช้สิ้นเปลือง ให้ชดใช้ค่าวัสดุน้นั คืนแก่ผูร้ บั จ้างเดิมตาม
ควรค่าแห่งการใช้ทรัพย์น้นั
๗. ถ้ามีค่ารื้ อถอน มีสิทธิหกั ค่ารื้ อถอน ค่าปรับ หรือค่าเสียหาย
(ถ้ามี) จากจานวนเงินทีต่ อ้ งคืนให้ผูร้ บั จ้างเดิมออกก่อนด้วย
367
ขั้นตอน/กระบวนการจัดหาพัสดุ
ตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙
368
การเสนอราคาตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๔๙ ข้อ ๓
กาหนดให้หน่วยงานภาครัฐ ที่มีวิธีซ้ ือ/จ้าง วงเงิน
ตัง้ แต่ ๒ ล้านบาท ขึ้นไป ให้จดั หาด้วยวิธีการ
ประกวดราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
ตัง้ แต่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
ยกเว้นไม่ใช้กบั
การจ้าง
ที่ปรึกษา
๒. การจ้าง
ออกแบบ
และ ควบคุม
งาน
๓. ซื้อ/จ้าง
โดย
-วิธีพิเศษ
-วิธีกรณีพิเศษ
๔.ได้รบั
ยกเว้นจาก
กวพ.อ
(ข้อ๓)
(ปั จจุบนั )
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒
ที่ นร๐๕๐๖/ว๑๘๒ลว.๑๒ ต.ค.๕๒) ผ่อนผันว่า
จะไม่ประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์ ก็ได้
ด้านวงเงิจนกว่
น าจะแก้ไขระเบียบฯ๔๙แล้วเสร็จ
(สานักส่เลขาธิ
การครม. ฯด่วนที่สุด๒-๕
ที่ นร๐๕๐๖/๑๘๒
๑.
วนราชการ
ล้านบาท ลว.๑๒ต.ค.๕๒
๒. รัฐวิสาหกิจ
๒-๑๐ ล้านบาท
แต่ให้บนั ทึกแสดงเหตุผล/ความจาเป็ น /ปั ญหา/
อุปสรรคในการจัดหาตามระเบียบฯ ๒๕๔๙
แนบไว้ในรายงานขอซื้อ/จ้างด้วย
สรุป กระบวนการและขั้นตอนการจัดหาพัสดุ
ด้วยวิธีการทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
1
เมือ่ ทราบวงเงินทีจ่ ดั หาแล้ว(ได้รบั อนุมตั ิโครงการ/วงเงิน)
งานก่อสร้าง –ออกแบบ/แต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดราคากลาง
2
ให้แต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา
ข้อยกเว้น(มติคณะรัฐมนตรี ๖ตุลาคม ๒๕๕๒ ที่ นร๐๕๐๖/ว๑๘๒ลว.๑๒ ต.ค.๕๒)
ผ่อนผันจะแต่งตั้งคกก.ร่างTOR ฯ หรือไม่แต่งตั้งก็ได้ ดังนี้:๑. ถ้าวงเงินจัดซื้อ/จัดจ้าง ไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท
๒. งานก่อสร้างที่มีแบบและข้อกาหนดที่เป็ นมาตรฐานไว้แล้ว
(แต่ยงั ต้องนา TOR และร่างประกาศประกวดราคาไปลงWeBsite
371
3
เมือ่ คณะกรรมการร่าง TORฯ แล้วเสร็จ
ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ เห็นชอบร่าง TOR ฯ
4
นาสาระสาคัญของร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา
ไปลงWebsite ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง
เพือ่ ให้ประชาชนวิจารณ์ ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
5
หากลงเว็บไซต์ให้วิจารณ์ ถ้ามีผูว้ ิจารณ์ ร่าง TORฯ
ให้วิจารณ์โดยทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรผ่านทางเว็บไซต์
ของหน่วยงานทีจ่ ดั หาตามระเบียบฯ ๔๙ ปกติ
6
หากเห็นควรปรับปรุง/หรือไม่ปรับปรุงร่าง TOR
ให้นาไปลงWebsite ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง
เพือ่ ให้ประชาชนทราบอีกครั้งหนึง่ ซึง่ ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
372
7
หลังจากนั้นให้นาไปจัดทารายงานขอซื้ อ หรือขอจ้าง
เพือ่ ขอความเห็นชอบ กับหัวหน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หา
 และลงนามในประกาศประกวดราคา ตามแบบทีก่ วพ.อ กาหนด
พร้อมกับเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาฯ คัดเลือก
ผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง /คกก.ตรวจรับพัสดุ /ตรวจการจ้าง และ
ผูค้ วบคุมงาน/
แล้วนาประกาศประกวดราคาไปลงประกาศทางเว็บไซต์ของ
หน่วยงานและของกรมบัญชีกลางไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน อีกครั้งหนึ่ง
373
องค์ประกอบในการแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาฯ
มี ดังนี้ (มติครม. ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ กาหนดใหม่)
วงเงินไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท
๑.ให้มีคณะกรรมการจานวน
ไม่นอ้ ยกว่า๓ คน
แต่ไม่เกิน ๗ คน
๒. จะมีบุคคลภายนอกร่วม
ด้วยหรือไม่ ก็ได้
๓. ให้มบี ุคลากรของ
หน่วยงานเป็ น กรรมการ
และเลขานุการ/จะแต่งตั้ง
ผูช้ ่วยเลขานุการหรือไม่ก็ได้
วงเงินเกิน ๑๐ ล้าน ขึ้ นไป
๑.ให้มีคกก.จานวนไม่นอ้ ยกว่า ๕ คน
แต่ไม่เกิน ๗ คนโดยจะต้อง
มีบุคคลภายนอกอย่างน้อย ๑ คน
เข้าร่วมเป็ นกรรมการด้วย
๒.ให้เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุหรือทีเ่ รียกชื่อ
อย่างอื่นในหน่วยงานนั้น
-เป็ นกรรมการและเลขานุการ
๓.จะแต่งตั้งผูช้ ่วยเลขานุการหรือไม่ ก็ได้
การคัดเลือกผูใ้ ห้บริการตลาดกลางตามรายชื่อข้างล่างนี้
ราคาค่าบริการให้คิดจากผูช้ นะราคา /อัตราตามวงเงินทีท่ าสัญญา
(หนังสือเวียน /ว ๑๐๘ ลว. ๒๗ มี.ค.๕๐)
๑. บริษทั กสท โทรคมนาคม
จากัด(มหาชน)
๒. บริษทั บีส ไดเมนชัน่ จากัด
๓. บริษทั พันธวณิช จากัด
๔. บริษทั ไอ ซี เอ็น ซิสเต็ม.
จากัด
๕. บริษทั ป๊อป เนทเวอรค์ จากัด
๖ .บริษทั ซอฟแวร์ลิงค์ จากัด
๗. บริษทั ฟรีอินเตอร์เน็ท จากัด
๘. บริษทั ดาต้าแมท จากัด
๙. บริษทั นิวตรอนการประมูลจากัด
๑๐. บริษทั อินเทลลิเจนท์ โซลูชนั ่
แอนด์เซอร์วิส จากัด
๑๑. บริษทั สเปซไวร์ จากัด
๑๒.บริษทั สวนกุหลาบเซอรารีซ่ ิล
จากัด
ในการจัดทาเอกสารประกาศประกวดราคา
และเผยแพร่เชิญชวน
๑. จัดทาประกาศและเอกสารประกวดราคา (ตามแบบกวพอ.กาหนด)
(แก้ไข ด่วนที่สุด กค(กวพอ)๐๔๒๑.๓/ว๑๔๑ ลว.๒๑ เมษายน ๒๕๕๔
 กาหนดวัน เวลา/สถานที่ยื่นซองเทคนิค/(ณ ที่ทาการหน่วยงาน)
 กาหนดวันเสนอราคา/ข้อเสนอด้านเทคนิค/ หลักประกันซอง /
 เงินล่วงหน้า และเงื่อนไขการยึดหลักประกันซอง ไว้ในประกาศฯด้วย
๒ วิธีการเผยแพร่เอกสารเชิญชวน (เจ้าหน้าที่พสั ดุ)
(๑) นาสาระสาคัญของประกาศออกเผยแพร่ไม่นอ้ ยกว่า๓ วัน
นับแต่วนั ที่ได้ประกาศ ทาง Website ของหน่วยงาน/และ
ของกรมบัญชีกลาง /ปิ ดประกาศที่หน่วยงาน โดยเปิ ดเผย
(๒) วันแจกจ่ายหรือจาหน่ายเอกสารประกวดราคาให้เริ่มได้
ตัง้ แต่วันประกาศไม่นอ้ ยกว่า ๓วันนับแต่วันประกาศในWebsite
วิธีกาหนดระยะเวลารับซองข้อเสนอทางด้านเทคนิค
ในประกาศประกวดราคา
• ๑.กาหนดวันรับซองข้อเสนอด้านเทคนิค
• ต้องห่างจากวันสุดท้ายของการแจกจ่ าย หรือจาหน่ายเอกสารประกวด
ราคาไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน แต่ไม่เกิน ๓๐ วัน
(ให้ดูงานใหญ่-เล็ก เพือ่ ให้เวลาผูเ้ สนอราคาคานวณราคาได้ทนั วันยืน่ ซอง
วันสุดท้ายที่ขาย/ให้เอกสาร)
วันสุดท้ายยื่นซอง
๑ ------------ ๔ ----------- (๓ แต่ไม่เกิน ๓๐ วัน)--------เช่น วันครบกาหนดขาย/ให้ เอกสารประกวดราคาวันที่ ๑ มีนาคม
กาหนดวันรับซอง เริม่ เป็ นวันที่ ๔ เป็ นต้นไปแต่ตอ้ งไม่นาน
เกิน
กว่าวันที่ ๓๐ มีนาคม เป็ นต้น
• ๒.ให้กาหนดวันรับซองข้อเสนอทางด้านเทคนิคเพียงวันเดียวเท่านัน้
8
ในวันรับซองข้อเสนอทางด้านเทคนิค
ผูเ้ สนอราคา-ยืน่ ซองข้อเสนอด้านเทคนิค ต่อคณะกก.ประกวดราคา
พร้อมกับหนังสือแสดงเงื่อนไขการซื้อหรือการจ้าง (สัญญา ๓ ฝ่ าย )
และหลักประกันซอง
 หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคา เมื่อรับซอง ให้ถือปฏิบต
ั ติ าม
ระเบียบฯพัสดุ ปี ๓๕ ข้อ ๔๙ (๑)(๒)(๓)และ (๔)หรือของหน่วยงานนั้นๆ
๑) ลงทะเบียนรับซอง/ ลงชื่อกากับ/ ตรวจหลักประกันซอง
ตรวจเอกสารตามบัญชีรายการเอกสารของผูเ้ สนอราคา
๒) คัดเลือกคุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคา ตามเงื่อนไขที่ระบุใน
เอกสารประกวดราคา และที่มีคณ
ุ ภาพ/เป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการ
เมื่อตรวจเสร็จให้แจ้งผูป้ ระสงค์เสนอราคาทราบแต่ละรายเฉพาะของตน
โดยไม่เปิ ดเผยชื่อต่อสาธารณชน(แบบแจ้งผลบก๐๐๔–๑(ผนวก ๑๐) )
หลักประกันซองที่ยนื่
กรณีเป็ นหนังสือค้าประกันของธนาคาร/
บริษทั เงินทุนหลักทรัพย์/พันธบัตรรัฐบาล
หนังสือคา้ ประกันซอง
จะต้องมีระยะเวลาคา้ ประกัน เริ่มตัง้ แต่วนั ยื่นซองข้อเสนอ
ทางด้านเทคนิค ครอบคลุมไปจนถึงวันสิ้นสุดวันยืนราคา
วันยื่นซอง
วันเคาะราคา(ยืนยันราคาสุดท้าย)
สิ้นสุดวันยืนราคา
(
)
(ส.เวียน ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๐๘.๔/ว ๑๒๔ ลว. ๙ เม.ย. ๒๕๕๐)
และด่วนทีส่ ุดที่ กค(กวพอ)๐๔๒๑.๓/ว๑๔๑ลว.๒๑ เม.ย.๒๕๕๔
หลักเกณฑ์ ลงนามในหนังสือแสดงเงือ่ นไขการซื้ อหรือการจ้าง
(สัญญา ๓ ฝ่ าย)
ผูเ้ สนอราคา
ผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง หน่วยงานที่จดั หาพัสดุ
ประธานกรรมการประกวดราคา
ลงชื่อ/และยืน่ ในวันยืน่ ซอง ลงชื่อในวันเสนอ ลงชื่อในวันเสนอราคา
เทคนิค และคกก.ประกวด ราคา แต่ ก่อน
- แต่ ก่อนเวลาเสนอราคา
ราคาเก็บไว้ /นาไปในวันเสนอ เวลาเสนอราคา
 ก่ อนเสนอราคาเมื่อลงชื่ อครบ ๓ ฝ่ าย แล้ ว ให้ คณะกรรมการประกวดราคา
แจกจ่ ายให้ ผู้ให้ บริการตลาดกลาง และผู้มีสิทธิเสนอราคา / ก่อนเวลาเสนอราคา
แบบตัวอย่ าง – Down Load ได้ จาก www.gprocurement.go.th.
การอุทธรณ์
กรณี ผเ้ ู สนอราคาไม่ผา่ นการคัดเลือกคุณสมบัติเบือ้ งต้น
9
ผูเ้ สนอราคาที่
ไม่ผา่ นการ
คัดเลือก
คุณสมบัติ
เบือ้ งต้น
มีสิทธิยนื่ อุทธรณ์ต่อหัวหน้าหน่วยงาน
ทีจ่ ดั หาพัสดุ ข้อ ๙(๓)
(กรอกแบบ บก ๐๐๔ – ๒ ผนวก ๑๑)
ยืน่ ภายใน ๓ วัน นับแต่วนั ได้รบั แจ้ง
หากยืน่ เกินกาหนด ๓ วัน(ไม่พิจารณา
อุทธรณ์)
ให้หน่ วยงานที่จดั หาหยุดดาเนินงาน
ในระหว่างการพิจารณาอุทธรณ์
10
ให้หวั หน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ มีหน้าที่
พิจารณาอุทธรณ์ กรณีไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
๑. ต้องแจ้งผลให้ผูอ้ ุทธรณ์ทราบ แต่ละราย ภายในเวลา ๗ วัน
นับแต่วนั ได้รบั แจ้งอุทธรณ์(กรอกแบบแจ้งผล บก ๐๐๔ – ๑)
๒.
ถ้าไม่แจ้งผลการพิจารณา ภายใน๗ วัน
ให้ถอื ว่า อุทธรณ์ฟังขึ้ น
๓. คาวินิจฉัยถือเป็ นทีส่ ุด ในชั้นฝ่ ายบริหาร
๔. ถ้าอุทธรณ์ฟังขึ้ น ให้แจ้งคณะกรรมการประกวดราคา
เพิม่ รายชื่อเป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคา/และแจ้งผูอ้ ุทธรณ์
ทราบ(กรอกแบบ บก ๐๐๐๔ – ๓ ผนวก ๑๒)
11
กรณีมีผผู ้ ่านคุณสมบัตเิ บื้องต้นรายเดียว
 ปกติ ให้คณะกรรมการฯ เสนอยกเลิก
และกาหนดวัน/เวลา เริม่ ต้นเพื่อดาเนินการใหม่
 ข้อยกเว้น มติครม.เมื่อ๖ตุลาคม ๒๕๕๒ ประกอบหนังสือเวียน
ของ กวพ.อ/.ว ๓๐๒ ลว ๒๑ กค ๒๕๔๙ ผ่อนผัน ดังนี้
๑. ให้ตอ่ รองราคาได้
-หากคณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจ้างผูท้ ี่ผ่าน
คุณสมบัตเิ บื้องต้นรายเดียวนั้น ให้ต่อรองราคาได้
๒. หากยกเลิกเพื่อเริ่มต้นดาเนินการจัดหาใหม่ ผ่อนผันดังนี้:กรณีไม่เปลี่ยนTOR และร่างเอกสารประกวดราคา ให้ใช้รา่ งเดิมได้
ถ้าไม่เปลี่ยนชื่อคณะกก.ประกวดราคาตามข้อ๘(๒)
ให้ คณะกก.ชุดเดิมดาเนินการต่อไปได้
12
หน้าทีค่ ณะกรรมการประกวดราคา
ในการ “ แจ้งนัดหมาย” ผูท้ ีผ่ ่านการคัดเลือก
คุณสมบัติเบื้ องต้นให้เข้าเป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
แจ้งกาหนดวัน /เวลา /สถานทีเ่ สนอราคา
ให้ผูม้ ีสิทธิเสนอราคาทราบ (ต้องเป็ นวัน/ เวลาราชการ
แต่กระบวนการเสนอราคาจะสิ้ นสุดนอกเวลาราชการก็ได้)
(ให้กรอกแบบ บก. ๐๐๕ ใบแจ้งกาหนดวันเสนอราคา)
พร้อมกับส่งใบแบบแจ้งชื่อผูแ้ ทนให้แก่ผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
ให้นามายืน่ ในวันเสนอราคาเพือ่ เข้าสู่กระบวนการเสนอราคา
(กรอกแบบ บก.๐๐๖ ) (ภาคผนวก ๑๔)
13
หน้าทีค่ ณะกรรมการประกวดราคา
ส่งมอบข้อมูลเบื้ องต้นของผูม้ ีสิทธิเข้าสู่กระบวนการ
เสนอราคา ให้ผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง
ก่อนวันเสนอราคา ๒ วันทาการ
 ให้คณะกรรมการประกวดราคา

กรอกแบบ บก.๐๒๑ (ผนวก ๒๑)ส่งรายชื่อผูม้ ีสิทธิเสนอ
ราคาไปให้ผูใ้ ห้บริการตลาดกลางเพือ่ :-
(๑)ให้เตรียมระบบการประมูล
(๒)ออกUsername, Password ของผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
14
หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคา
ในวันเสนอราคา
คณะกรรมการประกวดราคา ทาหน้าที่ในวันเสนอราคา ดังนี้
๑. คณะกรรมการต้องมาสถานที่เสนอราคาไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ง
๒.
รับมอบ Username , Password จากตลาดกลาง
๓.
เมื่อถึงกาหนดเวลาลงทะเบียน จัดให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคา
ลงทะเบียนเข้าเสนอราคา(ห้ามให้มีการลงทะเบียนก่อนถึงเวลา)
๔. ตรวจสอบเอกสาร ใบมอบอานาจ /บัตรประชาชน
ของผูเ้ สนอราคา หรือผูแ้ ทน และมอบ Username , Password
๕. แจ้งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ นาผูม้ ีสิทธิเสนอราคาไปห้องเคาะราคา
หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคา
ในวันเสนอราคา (ต่อ)
๖. กรณีผเู ้ สนอราคามาไม่ทนั /หรือไม่สง่ ผูแ้ ทนมา
ลงทะเบียนในวันเสนอราคา
ให้ประธานกรรมการฯ
๑) ปิ ดประกาศรายชื่อแจ้งหมดสิทธิเสนอราคา
หน้าห้องเสนอราคา
๒) มีหนังสือแจ้งให้ทราบต่อไป
15
ในวันเสนอราคา (ต่อ)
หากมีผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว
ในขั้นตอนการเสนอราคาตามข้อ ๑๐(๑) เมือ่ ถึงกาหนดเวลา
เริม่ การเสนอราคา หากมีผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว
หลักปฏิบตั ิ ปกติให้คณะกรรมการประกวดราคาเสนอยกเลิก
ข้อยกเว้น ครม.เมือ่ ๖ ต.ค.๕๒ผ่อนผันให้ดาเนินการดังนี้ :ให้คกก.ประกวดราคาพิจารณา หากเห็นว่าไม่ควรยกเลิก
ให้ใช้วธิ ีต่อรองราคากับรายเดียวนัน้ แล้วเสนอหัวหน้า
หน่วยงานพิจารณาต่อไป
16
เมื่อสิ้นสุดการเสนอราคา
๑.ให้คณะกรรมการประกวดราคาประชุมและลงมติในวันนั้นทันที
๒.ให้รายงานผลพร้อมทั้งเสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการในวัน
ทาการถัดไป นับจากวันสิ้นสุดการเสนอราคา(รายงานผลครั้งแรก)
 ข้อผ่อนผัน
หนังสือเวียนกรมบัญชีกลางที่ กค(กวพอ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๑๐๘ ลว.๑๙
เมษายน ๒๕๕๐
หากยังมีความจาเป็ นต้องรวบรวมรายละเอียด ให้พิจารณาแจ้ง
รายงานให้หัวหน้าหน่วยงานที่จดั หาพัสดุพิจารณาอีกครัง้ ภายใน ๕
วันทาการถัดไป นับจากวันที่ได้รายงานครัง้ แรก
17
เจ้าหน้าที่ของรัฐ (ระเบียบข้อ ๑๐(๑))
คือผูไ้ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการประกวดราคา
ตามจานวนผูม้ ีสิทธิเสนอราคา ให้ทาหน้าทีใ่ นวันเสนอราคา
ก่อนถึงวันเสนอราคา คณะกรรมการประกวดราคาจะต้องเสนอแต่งตั้ง
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐเพือ่ ให้ทาหน้าทีใ่ นวันเสนอราคาดังนี้ :๑.นาผูม้ ีสิทธิเสนอราคาไปยังสถานทีท่ ีก่ าหนด(ห้องเสนอราคา)แต่ละราย
๒.เมือ่ ประจาอยู่ในสถานที่ ต้องไม่ใช้เครือ่ งมือสือ่ สารใด ๆ
๓.ในระหว่างทดสอบระบบของผูม้ ีสิทธิเสนอราคา หากมีปัญหาของการ
ทดสอบระบบ ให้รีบไปรายงานต่อคณะกรรมการประกวดราคาทันที
๔. ต้องสังเกตการณ์ /ดูแล การเสนอราคาให้เป็ นไปโดยเรียบร้อย หากผู ้
เสนอราคาแสดงพฤติการณ์ทีท่ าให้การเสนอราคาไม่เรียบร้อย
หรือไม่เป็ นธรรมให้รีบรายงานต่อประธานคณะกรรมการฯ โดยด่วน
18
หน้าที่ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา
๑. ก่อนวันเสนอราคา ต้องศึกษาการใช้โปรแกรม/ทดลองการใช้
โปรแกรมของตลาดกลางDownloadได้จากwww.gprocurement.go.th
๒. ในวันเสนอราคา ต้องมาลงทะเบียนต่อคณะกรรมการประกวดราคา
ให้ทนั เวลาพร้อมรับสัญญา ๓ ฝ่ าย)
-หากมาไม่ทนั เวลาลงทะเบียน จะถูกยึดหลักประกันซอง
๓. ให้ผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคายืน่ แบบใบแจ้งชื่อผูแ้ ทนมาเป็ นผูเ้ ข้าเสนอ
ราคา( บก.๐๐๖) ได้ไม่เกินรายละ ๓ คนและส่งสาเนาบัตรประชาชน
ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา
๔. กรณีมอบอานาจ /ส่งใบมอบอานาจ ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา/ สาเนา
บัตรประชาชนของผูร้ บั มอบอานาจ ห้ามเปลีย่ นหรือเพิม่ ผูแ้ ทน
แต่ถอนผูแ้ ทนได้
หน้าที่ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคา(ต่อ)
๔.รับ Username, Password แล้วให้เข้าประจาที่ โดยแยกจาก
ผูเ้ สนอราคารายอื่น
๕.ห้ามนาเครือ่ งมือสือ่ สารเข้าห้องเสนอราคา/ห้ามติดต่อกับ
บุคคลใดๆ ไม่ว่าด้วยวิธีใด
๖.ก่อนเสนอราคา ๑๕ นาที ให้เข้าทดสอบระบบก่อน
 หากมีปัญหาให้แจ้งเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีป่ ระจาอยู่ ณ สถานทีน่ ัน้
เพือ่ นาไปรายงานให้คณะกรรมการทราบ
หน้าที่ของผูม้ ีสิทธิเข้าเสนอราคาในวันเสนอราคา(ต่อ)
๑. เมื่อส่งผูแ้ ทนมาลงทะเบียน ตามวัน เวลา/สถานที่ที่กาหนด
แล้วต้อง LOG- IN เข้าสูร่ ะบบ
๒. ถ้าLOG -IN แล้ว ต้องเสนอราคา และการเสนอราคาต้องเสนอ
ไม่สูงกว่า/หรือ เท่ากับราคาเริ่มต้นการประมูล
๓. เมื่อสิ้นสุดการเสนอราคาจะต้องลงชื่อยืนยันราคาสุดท้าย
ในการเสนอราคา ในแบบบก.๐๐๘ ที่กรรมการนามามอบให้
จึงจะออกจากห้องเสนอราคาได้
 หากไม่ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขดังกล่าวจะถูกริบหลักประกันซองใน
อัตราร้อยละ ๒.๕ ของวงเงินที่จดั หา (ว๑๔๑ ลว.๒๑ เม.ย.๒๕๕๔)
 ให้กาหนดหลักเกณฑ์น้ ีไว้ในเอกสารประกวดราคาซื้อ/จ้างและ
หนังสือแสดงเงื่อนไข การซื้อการจ้างด้วย (หนังสือสัญญา๓ ฝ่ าย)
(หนังสือเวียน กวพ.อ.ด่วนที่สดุ กค ๐๔๐๘.๓/๓๐๒ ลว. ๒๑ ก.ค.๒๕๔๙
19
หน้าที่ของผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง
มอบ Username Passwordของผูม้ ีสิทธิเสนอราคาให้ประธาน
คณะกรรมการก่อนลงทะเบียน เพื่อมอบให้ผเู ้ ข้าเสนอราคา
เตรียมระบบให้พร้อม ไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ นาที เพื่อให้ผเู ้ ข้าเสนอราคา
ทดสอบก่อนเสนอราคาจริง/มี บุคลากรที่มีความรูด้ า้ น IT ประจาอยู่
ณ ห้องคณะกรรมการฯ /วางตัวเป็ นกลาง /รับผิดชอบ
รักษาประโยชน์ของรัฐ,โปร่งใส/ยุตธิ รรม รอบคอบ/ไม่ละทิ้งหน้าที่
ไม่มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์รว่ มกันกับผูเ้ สนอราคา,รับฝาก
เครื่องมือสื่อสาร,/ไม่รบั ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด
20 หัวหน้ าหน่ วยงานที่จดั หา รับแจ้งรายงานผลจาก
คณะกรรมการประกวดราคา
ไม่เห็นชอบมติ คกก.ให้คกก.
ชี้แจงภายใน ๓วัน.
ไม่เห็นชอบ –สัง่
ยกเลิกได้(ข้อ๑๕.๓)
เสนอผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ
สังซื
่ ้อ/สังจ้
่ างตามระเบียบฯ
ถ้าเห็นชอบ
เห็นชอบ
ไม่เห็นชอบ
ตามเสนอ
ให้ คณะกรรมการฯ แจ้งผลให้
ผูเ้ สนอราคาทุกรายทราบ โดย
กรอกแบบ บก.๐๑๐-๑ ผนวก ๑๘
เห็นชอบตามมติ คกก.
เสนอผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ สงซื
ั ่ ้อ/สังจ้
่ างรายนัน้
แจ้งผูเ้ สนอราคาทุกรายทราบผล
ให้ คกก. ชี้แจง
ไม่เห็นชอบอีก
เห็นชอบตามคาชี้แจง
แจ้งผลให้ผเู้ สนอราคาทราบ สั ่งยกเลิก
ทุกราย โดยกรอกแบบ
บก. ๐๑๐- ๑
21
การแจ้งผลการพิจารณา หรือ
แจ้งยกเลิกการประกวดราคา (แนวทางข้อ๑๕)
แจ้งยกเลิก
แจ้งผลการคัดเลือก
•เมื่อผูม้ ีอานาจอนุมตั ใิ ห้สั ่งซื้อหรือสั ่งจ้าง/หรือ สั ่งยกเลิกการเสนอราคา
ให้คณะกรรมการประกวดราคา โดยฝ่ ายเลขานุการ นาประกาศ
แจ้งผล หรือแจ้งยกเลิก ไปลงในเว็ปไซต์ของหน่วยงานและ
www.gprocurement.go.th ของกรมบัญชีกลาง ด้วย ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
ถ้าภายใน ๓ วัน นับแต่วนั ที่ประธานกก.แจ้งผลการเสนอราคา
ตามแบบ บก ๐๑๐-๑ ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาทุกรายทราบแล้ว
หากไม่มีการอุทธรณ์ ให้ดาเนินการตามระเบียบฯพัสดุของหน่วยงาน
นัน้ ๆ ตามขัน้ ตอนต่อไป เช่น แจ้งให้มาทาสัญญา เป็ นต้น
22
การอุทธรณ์ ผลการตัดสินผูช้ นะราคา
ผูเ้ ข้าสูก่ ระบวนการเสนอราคา/ถ้าไม่เห็นด้วยกับผลการเสนอราคา
ให้อุทธรณ์ตอ่ กวพ.อ. ภายใน ๓ วันนับแต่ได้รบั แจ้งผล
(แบบอุทธรณ์บก.๐๑๐-๓ ภาคผนวก๒๐ )
กวพ. อ. ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐วัน
ระหว่างอุทธรณ์ ให้กวพ.อ. แจ้งระงับการดาเนินการไว้ก่อน
มติ กวพ. อ. เป็ นที่สุดของฝ่ ายบริหาร
อุทธรณ์ฟังขึ้น
อุทธรณ์ฟังไม่ข้ ึน
สั ่งให้เริ่มกระบวนการเสนอ
ราคาใหม่ ในขั้นตอนใดก็ได้
ให้แจ้งหน่วยงาน
ดาเนินการต่อไป
หนังสือแจ้งเวียนใหม่
เกี่ยวกับวิธีการประกวดราคา
ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
ตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ.๒๕๔๙
ที่ควรรู ้
398
๑.การอนุมตั ยิ กเว้น
ที่ไม่ตอ้ งประมูลทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ก็ได้
หนังสือเวียนกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด กค.๐๔๒๑.๓/๒๔๗
ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓ )เฉพาะกรณีดงั ต่อไปนี้
๑. เป็ นสินค้า/บริการที่มีคณ
ุ ลักษณะเฉพาะ ทาให้มีการแข่งขัน
ได้นอ้ ยราย(ไม่ถึง ๓ ราย)
๒.เป็ นสินค้าหรือบริการที่มีความซับซ้อน มีเทคนิคเฉพาะ โดย
ดูที่ตวั สินค้าเป็ นหลัก อาจมีขอ้ เสนอที่ไม่อยู่ในฐานเดียวกัน
399
๓. เป็ นสินค้า/บริการ เกี่ยวกับเทคโนโลยี (HardSoftware)ประเภทระบบ IT ที่มีลักษณะเฉพาะ
เช่น การจัดหาหรือพัฒนาระบบSoftwareสาหรับใช้งาน
เฉพาะที่ผพ
ู้ ฒ
ั นาต้องเข้าไปศึ กษารูปแบบการทางานของ
หน่วยงาน แล้วจึงจัดทาขึ้นมาได้ เป็ นต้น
๔.เป็ นพัสดุที่จดั หาซึ่งมีความผันผวนทางด้านราคา
-โดยเมื่อมีการสารวจราคาตลาดโลกแล้ว มีการ
เปลี่ยนแปลงระหว่าง ๓๐ วัน สูงหรือต ่าลงมากกว่า
อัตรา ๑๐%
400
อนึ่ง เฉพาะการซื้อจ้างโดยวิธีพิเศษ
๑.ในการใช้ดุลพินิจของหน่วยงานที่จดั หาพัสดุ ที่อยูใ่ น
เกณฑ์ยกเว้นไม่ตอ้ งจัดหาพัสดุโดยวิธีE-Auction ตาม
ข้อ ๓ ของระเบียบ ๔๙ เฉพาะกรณีจาเป็ นเร่งด่วน
ล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ หมายถึง หากจัดหาด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ อาจล่าช้า จะเสียหายแก่ราชการ
เท่านั้น
๒.กรณีสินค้า/บริการ จาเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ หรือจ้างผูม้ ีความ
ชานาญโดยเฉพาะ หรือชานาญเป็ นพิเศษ ให้หมายรวมถึง มี
ยีห่ อ้ เดียว หรือมีผรู ้ บั จ้างรายเดียวด้วย
401
๒.อนุมตั หิ ลักการผ่อนผันให้ลดอัตราการยึดหลักประกัน
ซอง จาก ๕% ลงเหลือ ๒.๕%เฉพาะกรณี
ผูม้ ีสิทธิเข้าสูก่ ระบวนการเสนอราคา(วันเคาะราคา) ดังต่อไปนี้
หนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด กค.๐๔๒๑.๓/๒๔๗
ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓
๑.ไม่สง่ ผูแ้ ทนมาลงทะเบียนเสนอราคาตามวัน เวลาและ
สถานที่ที่กาหนด
๒.มาลงทะเบียนแล้ว แต่ไม่ Log in เข้าสูร่ ะบบ
๓. Log in แล้ว แต่ไม่เสนอราคา หรือเสนอเท่ากับ หรือสูงกว่า
ราคาเริ่มต้นการประมูล
๔.ไม่ลงลายมือชื่อในแบบยืนยันราคาสุดท้ายในการ
เสนอราคา (แบบบก.๐๐๘)
402
๓. ราคาที่ให้ใช้เป็ นราคาเริ่มต้นการประมูล
อนุมตั ผิ ่อนผันให้เพิ่ม ได้ดงั นี้
๑.งานซื้อ หรืองานจ้างทั ่วไป (ที่มิใช่งานจ้างก่อสร้าง)ให้ใช้
“วงเงินงบประมาณที่มีอยู่ หรือราคามาตรฐาน หรือ
ราคาท้องตลาด ณ ปั จจุบนั อย่างใดอย่างหนึ่ง”
โดยให้พิจารณาตามความเหมาะสมของประเภทสินค้า/
บริการ หรืองานโครงการ และเป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการ
๒.งานจ้างก่อสร้าง
ให้ใช้ “ราคากลาง”เป็ นราคาเริม่ ต้นการประมูล
403
๔.การซ้อมความเข้าใจเรื่อง
การกรอกปริมาณวัสดุในใบBOQ และการคืนหลักประกันซอง
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด กค.(กวพอ)๐๔๒๑.๓/ว ๓๕๑ ลว.๒๒ ก.ย.๒๕๕๓
๑.การกรอกปริมาณวัสดุในบัญชีรายการก่อสร้างในใบ BOQ ตัวอย่าง
เอกสารประกวดราคากาหนดให้ผูเ้ ข้าเสนอราคากรอกแต่เฉพาะปริมาณ
วัสดุเท่านั้น ราคายังไม่ตอ้ งกรอก (เนือ่ งจากยังมิได้เสนอราคา)
-ราคาจะกรอกเมือ่ ผลการประกวดราคาได้รายตา่ สุดแล้ว จึ งให้
คณะกรรมการฯแจ้งรายตา่ สุดดังกล่าวมากรอกจานวนเงินในใบ BOQ
ให้ตรงกับราคาทีเ่ สนอไว้ก่อนเสนอผูม้ ีอานาจอนุมตั ิสงซื้
ั ่ อสังจ้
่ าง
๒. การคืนหลักประกันซอง จะคืนให้ผูเ้ สนอราคาเมือ่ ผูม้ ี
อานาจอนุมตั ิสงซื้
ั ่ อ/จ้าง สังให้
่ รบั ราคารายตา่ สุดแล้ว
ยกเว้น รายตา่ สุดจะคืนให้ เมือ่ เรียกมาทาสัญญาในวันทาสัญญา
404
๕.อนุมตั ผิ ่อนผันให้ผใู ้ ห้บริการตลาดกลางให้บริการ
อาหารกลางวัน /และรถรับ-ส่งแก่คณะกรรมการประกวด
ราคาทางอิเล็กทรอนิกส์และเจ้าหน้าที่ได้ ตามเงื่อนไขดังนี้
(ปกติมีขอ้ ห้าม)
 ห้ามรับ/เรียกรับการบริการจากผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง
จัดหาอาหารกลางวัน /และรถรับ-ส่ง
(ข้อยกเว้น)
๑.กรณีวนั เสนอราคา คณะกก.ต้องดูแลการเสนอราคาหลายรายการ
ติดต่อกัน และอยูใ่ นช่วงคาบเกี่ยวเวลาพักกลางวัน ให้ผูใ้ ห้บริการ
ตลาดกลางจัดหาอาหารกลางวันให้ได้
๒.กรณีหน่วยงานที่จดั หาพัสดุเป็ นหน่วยงานขนาดเล็กในส่วนภูมิภาค
ที่ไม่สามารถจัดหารถรับ-ส่งคกก.และเจ้าหน้าที่ได้
40
5
หนังสือเวียนของกวพอ. ด่วนที่สุดที่ กค(กวพอ) ๐๔๒๑.๓/
ว ๓๔ ลว. ๒ ก.พ.๒๕๕๕ ยกเว้นการปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ ๒๕๔๙
เฉพาะงบประมาณปี พ.ศ.๒๕๕๕ งาน/โครงการช่วยเหลือ ฟื้ นฟู
และป้องกันความเสียหายอันเกิดจากเหตุอุทกภัย ดังนี้
๑.ขัน้ ตอนร่าง TOR ยกเว้นไม่ตอ้ งแต่งตัง้ คณะกรรมการร่าง TOR/และไม่
ต้องนาTOR ไปลงเว็บไซต์ให้สาธารณชนวิจารณ์ ตามข้อ ๘ (๑)
แต่ท้งั นี้ TOR ต้องเปิ ดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม
และยังคงต้องนาไปลงเว็บไซต์ในขั้นตอนประกาศประกวดราคา
๒.ขัน้ ตอนการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น ตามข้อ ๙(๓)
และอุทธรณ์ผลการเสนอราคาตามข้อ ๑๐(๕)
โดยในระหว่างการพิจารณาอุทธรณ์ ให้ดาเนินการขัน้ ตอนต่อไปได้
โดยไม่ตอ้ งระงับการดาเนินการ
แต่ทงั้ นี้ ต้องมีเหตุผล ความจาเป็ นเท่านัน้ โดยคานึงถึงความเป็ นธรรม
และเพื่อประโยชน์ราชการเท่านัน้
ในวันเสนอราคา มีหนังสือเวียนซ้อมความเข้าใจของกวพอ.
1 ด่วนที่สุดที่ กค(กวพอ) ๐๔๒๑.๓/ว ๓๘ ลว. ๓ ก.พ.๒๕๕๕
เรือ่ ง การตรวจสอบเอกสารก่อนให้เข้าห้องเสนอราคา
ระเบียบฯข้อ ๑๐ -ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาส่งผูแ้ ทนมาเสนอราคาได้ไม่
เกินรายละ ๓ คน/ดังนั้น ในวันเสนอราคาระเบียบฯข้อ ๘(๓) ให้คณะ
กรรมการฯตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร/หนังสือมอบอานาจกรณี
ให้ผอู ้ ่ืนมาแทนโดยตรวจจากเอกสารที่เป็ นต้นฉบับจริง เท่านัน้
เรือ่ ง เกณฑ์การยึดหลักประกันซอง ในอัตรา ๒.๕ %
-กรณีผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาทาผิดเงื่อนไข
-Lok in แล้วไม่เสนอราคา หรือเสนอสูง/เท่ากับราคาเริ่มต้น
ประมูล หากตลอดช่วงเวลาการเสนอราคา ไม่มีครัง้ ใดเลยที่
เสนอราคาถูกต้องตามเงื่อนไข จะต้องถูกยึดหลักประกันซอง
2
3
เรื่อง การออกคาสัง่ ยกเลิกการประกวดราคา
เนื่องจากคาสั่งยกเลิกการประกวดราคา เป็ นอานาจของหัวหน้า
หน่วยงานที่จดั หาพัสดุท่ีเป็ นผูอ้ อกคาสั่ง และเป็ นคาสั่งทางปกครอง
ผูอ้ อกคาสั่งจึงต้องแสดงเหตุผลสนับสนุ น ซึ่งประกอบด้วยข้อเท็จจริง
อันเป็ นสาระสาคัญ ข้อกฎหมายที่อา้ งอิง ข้อพิจารณา และข้อสนับสนุ น
ที่เพียงพอ/ระบุไว้ในคาสั่งหรือแนบท้ายคาสั่งขณะออกคาสั่ง/เพื่อแสดงให้
เห็ นว่าเป็ นการใช้ดุลพินิจโดยชอบ
ทัง้ นี้เป็ นไปตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ลว. ๓๑ ก.ค.๒๕๔๓ เรือ่ ง
คาสั่งทางปกครองที่ตอ้ งระบุเหตุผลฯ และข้อ ๑(๓)ของกฎกระทรวง ฉบับ
ที่ ๑๒(พ.ศ.๒๕๔๓ ออกตามความใน มาตรา ๓๗ แห่ งพรบ.วิธีปฏิบตั ิ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ให้หัวหน้าหน่วยงาน แจ้งให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาทราบทุกราย /
และแจ้งให้กวพ.อ.ทราบตามระเบียบฯด้วย
หนังสือเวียนของกวพอ. ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพอ) ๐๔๒๑.๓/ว ๓๙
ลว. ๖ก.พ.๒๕๕๕ ยกเว้นไม่ตอ้ งปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ ๒๕๔๙
เฉพาะงบประมาณปี พ.ศ.๒๕๕๕ เพื่อเตรียมความพร้อมการจัดซื้อ-จ้าง
งาน/โครงการช่วยเหลือ ฟื้ นฟูและป้องกันความเสียหายอันเกิดจากเหตุ
อุทกภัย
-หากหน่วยงานยังไม่สามารถจัดหาจนได้พสั ดุ หรือสิ่งก่อสร้างพร้อม
ใช้งานเพื่อใช้ป้องกันอุทกภัยได้ภายในเดือนเมษายน ๒๕๕๕
และหากความต้องการใช้พสั ดุดงั กล่าวเป็ นเรือ่ งที่มีความจาเป็ น
เร่งด่วน ล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ
หน่วยงานก็ชอบที่จะดาเนินการจัดหาโดยวิธีพิเศษ ตามระเบียบ
พัสดุฯ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือระเบียบข้อบังคับว่าด้วย
การพัสดุของหน่วยงานนัน้
ทัง้ นี้ ให้พิจารณาคัดเลือกผูข้ าย/ผูร้ บั จ้างที่มีศักยภาพ และมีความ
พร้อมที่จะดาเนินงาน/โครงการให้แล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์ได้ดว้ ย
409
ตัวอย่าง กรณีศึกษา
วิธีปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ พ .ศ. ๒๕๔๙
การประกวดราคาด้วยวิธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่าง ๑ “โรงพยาบาล ส.ลงประกาศทางเว็บไซต์ของ
กรมบัญชีกลางอย่างเดียว ไม่ลงในเว็บไซต์หน่วยงาน
กล่าวคือ ระเบียบฯพ.ศ.๒๕๔๙ ข้อ ๘(๑) และ(๓)
กาหนดให้นาสาระสาคัญของร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา
รวมทั้ง ร่า งสาระส าคัญ ของประกาศเชิ ญ ชวน เอกสารประกวดราคา
และเอกสารเบื้องต้นอื่นๆที่สามารถเผยแพร่ได้ไปลงประกาศทางเว็บไซต์
ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง ไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
 แต่ โรงพยาบาล ส. ลงแต่ของกรมบัญชี กลาง ไม่ได้ลงของหน่วยงาน
พร้อ มทั้ง ส่ ง จดหมายเผยแพร่ ไ ปยั ง หน่ ว ยงานราชการและผู ม้ ี อ าชี พ
รับจ้าง เป็ นการปฏิบตั ผิ ิดระเบียบฯ ๒๕๔๙
ตัวอย่าง ๒.
“ การให้ผไู ้ ม่ผา่ นการคัดเลือกคุณสมบัตมิ ีสิทธิเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา”
หากยังไม่ได้ทาสัญญา ยังอยู่ในวิสยั ทีแ่ ก้ไขให้ถูกต้องได้
ตัวอย่าง ๓.
“ การลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง
มีขอ้ ความไม่ตรงกัน”
 คือไม่มีขอ้ ความคุณสมบัตผิ เู ้ สนอราคาเรื่องก่อสร้างโรงพยาบาล
ที่ใด รายละเอียดของงานก่อสร้างอาคารสูงเท่าใด มีระบบอะไรบ้าง
สาเหตุเกิดจากลงเว็บไซต์ผดิ
ตัวอย่าง ๔.
“การแจ้งผลการเสนอราคาให้ผมู ้ ีสิทธิเข้าเสนอราคาทราบทุกราย
ก่อนที่ผมู ้ ีอานาจอนุ มตั สิ ่งั ซื้อหรือสั่งจ้างจะอนุ มตั ใิ ห้รบั ราคาได้”
-ซึง่ ไม่เป็ นไปตามระเบียบฯข้อ ๑๐(๔)
ตัวอย่าง ๕.
“ การรายงานไม่ ครบ ” ระเบี ยบฯ๒๕๔๙ ข้อ ๑๐(๔) และ
หนังสือ ด่วนที่สุด ที่กค ๐๔๐๘/ว ๑๑๓ ลว.๒๓ มี.ค.๒๕๔๙ ข้อ ๓
...เมื่ อ สิ้ นสุ ด การเสนอราคา ให้ค กก.รายงานผลต่ อ หั ว หน้า
หน่วยงานในวันทาการถัดไป หากต้องรายงานเพิ่มครั้งที่ ๒ ทา
ได้ภายใน ๕วันทาการนับแต่รายงานครั้งแรก
แต่โรงพยาบาล ส.รายงานผล ๕วันเพียงครัง้ เดียว
ตัวอย่าง ๖.
“ การจัดส่งข้อมูลเบื้องต้น ตามแบบ บก ๐๒๑ ให้ผใู ้ ห้บริการตลาดกลาง
เพื่อเตรียมออกPassword /Usernameให้ผเู ้ สนอราคา ก่อนวันเสนอ
ราคาเกิน ๒ วันทาการ”ซึ่งไม่เป็ นไปตามระเบียบฯและแนวทางปฏิบตั ิ
ตามหนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๘.๓/ว ๕๙ ลว. ๑๗
ก.พ. ๒๕๔๙ข้อ ๑๔.๒.๑
ตัวอย่างที่ ๗
การไม่กาหนดวัน เสนอราคาไว้ในเอกสารประกวดราคาตามตัวอย่างที่
กวพ.อ. กาหนดตามหนังสือเวียนกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค
(กวพอ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๑๒๔ ลว. ๙เมษายน ๒๕๕๐
เป็ นการผิดระเบียบในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญ ซึ่งอาจก่อให้เกิดการ
ได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผูเ้ สนอราคาด้วยกัน
 วิธ-ีปฏิบตั ิ ดังนัน้ จึงเป็ นหน้าที่ของหน่วยงานที่จะต้อง
ดาเนินการแก้ไขให้การจัดซื้อจัดจ้างเป็ นไปโดยถูกต้อง ต่อไป
ตัวอย่างที่ ๘
หนังสือคา้ ประกันซองไม่ถูกต้องและไม่ครอบคลุมการคา้ ประกัน
ผูเ้ สนอทัง้ หมด ที่เสนอในนามกิจการร่วมค้า ถือเป็ นการผิดในส่วนที่
เป็ นสาระสาคัญ แม้ให้เข้าเคาะราคาแล้ว แต่ยงั ไม่มีการลงนาม
สัญญา ก็ยงั อยู่ในวิสยั ที่จะแก้ไขให้การจัดซื้อจัดจ้างเป็ นไปตาม
ระเบียบต่อไปได้(กวพ.อ.ครัง้ ที่ ๑๐/๒๕๕๔ ลว.๑๓ ก.ย.๒๕๕๔)
งานจ้างก่อสร้าง
ให้ใช้ราคากลางเป็ นราคาเริ่มต้นการประมูล
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๐
ระบียบฯข้อ๑๓งานก่อสร้างให้ใช้
ราคากลางเป็ นราคาเริ่มต้นการ
ประมูล
เนื่องจากเป็ นราคาที่ได้จากการ
คานวณตามที่ครม.กาหนด ซึ่ง
ทางราชการยอมรับว่า ไม่สูงจน
ผูป้ ระกอบการได้กาไรมากเกิน
ควรและไม่ต ่าจนผูป้ ระกอบการ
ไม่สามารถดาเนินการก่อสร้างได้
เมือ่ กรม ช. ใช้วงเงิน
งบประมาณทีไ่ ด้รบั เป็ นราคา
เริม่ ต้นการประมูล
จึ งเป็ นการปฏิบตั ิทีไ่ ม่ถูกต้อง
ตามระเบียบ
แต่ปรากฏว่า ผูเ้ สนอราคาราย
ตา่ สุด เสนอราคาตา่ กว่าวงเงิน
งบประมาณและตา่ กว่าราคากลาง
ซึ่งไม่เสียประโยชน์ราชการ จึ ง
อนุมตั ิผ่อนผันให้เฉพาะราย
415
(ปั ญหา) ราคาที่ใช้เริม่ ต้นการประมูล ไม่ตรงกับ
ราคาที่ประกาศไว้ในเอกสารประกวดราคา
(ตอบหารือเมื่อ ๒๒ มี.ค. ๕๓)
ส่วนราชการ ต. จ้างก่อสร้างเรือนแถว
ในประกาศกาหนดว่า
แต่ในเอกสารประกวดราคา
ราคากลางงานก่อสร้าง
กาหนดว่าราคาที่ใช้เริ่มต้น
๓,๔๖๐,๐๐๐
การประมูล ๓,๔๐๐,๐๐๐
มติกวพ.อ. ถือว่า ก่อนการเสนอราคา ผูเ้ สนอราคารับทราบเงื่อนไขแล้ว
จึงตัดสินใจยื่นซองเทคนิค แม้ไม่เป็ นไปตามระเบียบฯ แต่มีผูเ้ สนอราคา
ต ่ากว่าราคากลาง/งบประมาณ- ไม่ทาให้ราชการเสียประโยชน์ เมื่อทา
สัญญาไปแล้ว จึงอนุ มตั ผิ ่อนผันให้เป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย
อย่างไรก็ดี โอกาสต่อไปให้ปฏิบตั ติ ามแนวทางระเบียบฯโดยเคร่งครัด
416
งานก่อสร้างใช้วงเงินงบประมาณเริ่มต้นการประมูล
(หนังสือตอบหารือกวพ.อ.เมื่อ ๑๗ มี.ค. ๕๓ Rf.8344 )
จังหวัด น. จ้างก่อสร้างอาคาร
ใช้วงเงินงบประมาณ
ซึ่งราคากลาง มีวงเงิน
๑๑.๕๓๐ ล้านเป็ นราคา
๑๑.๖๒๙ ล้านบาท
เริ่มต้นประมูล
มติกวพ.อ. ปรากฏว่ารายตา่ สุดเสนอราคาที่ ๑๑.๔๘๕ ล้านบาท ตา่ กว่า
ราคากลางและวงเงินงบประมาณ – เมื่อไม่มีผใู ้ ดคัดค้าน และไม่ทาให้
ราชการเสียประโยชน์ จึงอนุ มตั ผิ อ่ นผันเป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย
อย่างไรก็ดี โอกาสต่อไปให้ปฏิบตั ติ ามแนวทางระเบียบฯโดยเคร่งครัดด้วย
417
แนววินิจฉัย เรือ่ ง การคิดหลักประกันซอง
ให้คดิ มูลค่าเป็ นจานวนเต็มในอัตราร้อยละ ๕ ของวงเงิน
หรือราคาพัสดุที่จดั หาในครั้งนั้น มิใช่คดิ จากราคากลาง
มติกวพ.อ. เมื่อ ๖ ม.ค.๒๕๕๓ (Rf.271)
ส่วนราชการ พ. จ้างก่อสร้าง
คิดหลักประกันซองร้อยละ ๕ ของราคากลาง
จึงเป็ นการปฏิบตั ทิ ี่ไม่ถูกต้อง
เนื่องจาก ในการคิดหลักประกันซองจะต้องถือปฏิบตั ติ ามระเบียบ
พัสดุฯ พ.ศ.๒๕๓๕ ข้อ ๑๔๒ วรรคหนึ่ง ที่กาหนดให้คดิ มูลค่าเป็ น
จานวนเต็มในอัตราร้อยละ ๕ ของวงเงิน หรือราคาพัสดุที่จดั หาครั้งนั้น
เว้นแต่ การจัดหาที่มีความสาคัญพิเศษ จะกาหนดสูงกว่าได้
แต่ไม่เกินร้อยละ ๑๐ “ มิใช่คดิ จากราคากลาง ”
418
เรือ่ ง การตรวจสอบคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา
แนววินิจฉัย เมื่อ ๒๘ พ.ย.๒๕๕๑
(Rf.31793)
โรงพยาบาล ฉ. จ้างก่อสร้างอาคารผูป้ ่ วยใน ๑๔ ชัน้ วงเงิน ๓ ร้อยล้านบาท
เศษกาหนดเงื่อนไขให้ผเู ้ สนอราคา เสนอบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา
ผูเ้ สนอราคาเสนอบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา(BOQ)
ไม่ตรงตามบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาของจังหวัด
ดังนัน้ การพิจารณาว่า ผูเ้ สนอราคาแสดงปริมาณวัสดุและราคาแตกต่าง
ไปจากของจังหวัด ฉ จะเป็ นการผิดเงื่อนไขในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญ ที่
จะต้องตัดสิทธิเสนอราคา หรือไม่ผิดเนื่องจาก เป็ นส่วนที่ไม่ใช่สาระสาคัญ
ย่อมเป็ นดุลยพินิจและอานาจของคณะกรรมการประกวดราคาที่จะเป็ น
ผูพ้ ิจารณาผ่อนปรนได้ ไม่อยูใ่ นอานาจของกวพ. อ.ที่จะพิจารณา
419
เรือ่ ง การพิจารณาคุณสมบัติเรือ่ งผลงาน
แนววินิจฉัยเมื่อ ๙ มี.ค.๒๕๕๒ (Rf.04939)
โรงพยาบาล ม.ประกวดราคาซื้อ -ร้าน บ. ยื่นหนังสือรับรอง
วัสดุอาหาร วัตถุดิบ และเครือ่ ง
ผลงานที่โรงเรียน ก. ออกให้
บริโภค ๖ หมวด ๓๒๐ รายการ
โดยมิได้แนบสาเนาสัญญา
ในประกาศฯกาหนดเงื่อนไขว่า มาด้วย จึงไม่ขดั ต่อประกาศฯ
ต้องเคยมีผลงานการขายอาหาร เนื่องจำกในประกำศฯ กำหนด
สด,แห้ง ฯ จากส่วนราชการ หรือ
เงื่อนไขกำรให้ ย่ นื เอกสำรรับรอง
รัฐวิสาหกิจมาแล้วไม่ตา่ กว่ า ๒ ล้าน ผลงำนไว้ อย่ ำงกว้ ำงขวำง ดังนัน้
ในเวลาไม่เกิน ๓ ปี นับถึงวันยื่นซอง เมื่อร้าน บ มิใช่ผเู ้ สนอราคา
-และต้องมีหนังสือรับรองของ
รายตา่ สุด การอุทธรณ์ผลการ
หน่วยงานนั้น หรือ สาเนาสัญญา พิจารณา ย่อมไม่มีผลทาให้
ซื้อขายมาแสดง
เปลี่ยนผูช้ นะราคาแต่อย่างใด
420
เรือ่ ง การร่น เลื่อน ระยะเวลาการเสนอราคา
ในวันเสนอราคา (Rf31446; ลว.๒๕ พ.ย.๒๕๕๑)
►หลักการ
หนังสือเวียนกรมบัญชีกลาง ที่
กค(กวพอ)๐๔๐๘.๔/๓๖๕ ลว.
๒๒ ต.ค.๒๕๕๐ กาหนดให้
คณะกก.ประกวดราคาตาม
ระเบียบฯ ๒๕๔๙ปฏิบตั หิ น้าที่
เช่นเดียวกับคณะกรรมการรับ
และเปิ ดซองประกวดราคา
ตามระเบียบพัสดุฯ ๒๕๓๕
คาวินิจฉัย กวพอ.
เนื่องจาก ในวันเสนอราคา
เทียบได้กบั วันเปิ ดซองราคา
ตามระเบียบฯ๒๕๓๕ ข้อ ๔๘
ดังนัน้ ระเบียบนี้ เมื่อถึง
กาหนดวัน เวลา ห้ามมิให้ ร่น
เลื่อน หรือเปลี่ยนแปลง
กาหนดเวลาทดสอบระบบ
และกาหนดเวลาการเสนอ
ราคา
421
การร่น เลื่อน ระยะเวลาการเสนอราคา (ต่อ)
ปั ญหา
มติกวพ.อ.
หน่วยงาน ธ.ตรวจเอกสาร
เมื่อการประกวดราคา
ใบมอบอานาจของผูเ้ สนอราคา ดาเนินการไป จนเสร็จสิ้นและได้
ผิดพลาดว่า ผูล้ งนามมอบ
ตัวผูเ้ สนอราคารายตา่ สุดไปแล้ว
ประกอบกับการเลื่อนเวลา
อานาจไม่ใช่ผมู ้ ีอานาจ
ทดสอบระบบ และเวลาเสนอ
จึงเลื่อนกาหนดเวลาเสนอ
ราคาออกไป ก็ไม่เป็ นเหตุให้ผูม้ ี
ราคา เพื่อให้ผูม้ ีสิทธิเสนอ
สิทธิเสนอราคาเกิดการได้เปรียบ
ราคาทาเอกสารให้ถูกต้อง
เสียเปรียบกัน เพราะทัง้ ๒ ราย
แต่ขอ้ เท็จจริง หนังสือมอบ
รับทราบและไม่โต้แย้ง
อานาจถูกต้องตัง้ แต่แรกแล้ว
กวพอ.จึงอนุ มตั ผิ อ่ นผันการ
ให้เฉพาะราย
422
การขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม
กรณีแต่งตัง้ ผูแ้ ทนบริษทั เป็ นคณะกรรมการร่าง TOR/
บริษทั ฯของผูน้ ้นั จะเข้าเสนอราคาไม่ได้(Rf 10225; ลว.๓๑ มี.ค. ๕๓)
ระเบียบข้อ ๘(๑)กาหนด
มติกวพ.อ.
เรือ่ งแต่งตัง้ คณะกรรมการ
ร่าง TORว่าให้เป็ นดุลย
พินิจของหน่วยงานที่จดั หา
ปั ญหา
จังหวัด ร. แต่งตั้ง
เจ้าหน้าที่ของบริษทั ToT
มาร่วมเป็ น คกก.ร่าง TOR
จัดซื้อกล้องวงจรปิ ด
(cctv)พร้อมติดตั้ง
การทีบ่ ริษทั ToT มาร่วมเสนอราคา
ด้วย เมื่อระเบียบฯ ๔๙ ไม่มี
ข้อกาหนดเรือ่ งการแข่งขันราคากัน
อย่างเป็ นธรรมไว้ จึงต้องนาระเบียบฯ
๓๕ ข้อ ๑๕ ทวิและ ๑๕ ฉ มาใช้ดว้ ย
จึงถือได้ว่า เป็ นการกระทาการอัน
เป็ นการขัดขวางการแข่งขันราคากัน
อย่างเป็ นธรรม ย่อมตัดรายชื่อออกจาก
การประกวดราคาครั้งนี้ได้
423
มติคณะรัฐมนตรี ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ ผ่อนผัน
๒.ด้านวิธีจดั หาพัสดุ ให้ใช้วิธีอื่นได้
การจัดหาพัสดุที่มีวงเงินไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท
๑.หากไม่มีผูเ้ ข้าเสนอราคา หรือ
๒. มีผูม้ ีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว หรือ
๓. มีผูม้ ีสิทธิเสนอราคาหลายราย แต่มาเสนอราคาเพียงรายเดียว
 และกรณีตามข้อ ๒.,๓ คณะกรรมการประกวดราคาได้ต่อรอง
ราคา รายนัน้ แล้วไม่ได้ผล
 ให้จดั หาโดยวิธีอื่น ตามระเบียบฯพัสดุทีห่ น่วยงานนั้นๆ
ถือปฏิบตั ิได้
การต่อรองราคากับผูเ้ สนอราคารายเดียว
หากไม่ยอมลดราคาจากวงเงินเริ่มต้นการประมูล
ให้ถอื ว่า ต่อรองไม่ได้ผลตามมติครม. ๖ ต.ค.๕๒
(แนววินิจฉัย กวพ.อ. พ.ค.๕๓)
กรณีคกก.ประกวดราคาได้ใช้วธิ ีต่อรองราคากับ
รายเดียวนัน้ แล้ว ถ้าผูเ้ สนอราคารายเดียวนัน้ ไม่ยอม
ลดราคาจากวงเงินเริ่มต้นการประมูล ถือว่า การต่อรอง
ไม่ได้ผล จึงไม่เป็ นไปตามมติ ครม. เมือ่ ๖ ต.ค.๒๕๕๓
กรณีนี้ จึงต้องยกเลิกและดาเนินการใหม่
จะเรียกรายเดียวนัน้ มาทาสัญญาไม่ได้
425
ตัวอย่างปั ญหา
และแนวทางปฏิบัติ
ในการจัดทาประกาศประกวด
ราคา
ทางอิเล็กทรอนิกส์
426
กรณีหน่วยงานลงร่าง TOR.ใน Website ให้วิจารณ์ไปแล้ว
หากมีการแก้ไข TORใหม่ จะต้องนาไปลง website อีก
• มติ กวพอ. ครั้งที่ ๖/๒๕๕๐
• ส่วนราชการ ก.ซื้ อรถบรรทุกดีเซล จานวน ๓๙ คัน วงเงิน ๒๕ ล้านเศษ
• คณะกรรมการฯนาTORไปลงWebsite แล้ว แต่ก่อนนาไปประกาศ
หัวหน้าส่วนราชการเห็นควรแก้ไข TOR โดยเพิม่ คุณลักษณะของสิง่ ของ
ติดในรถ เนือ่ งจากต้องใช้ภารกิจในการป้องกันรักษาป่ าเป็ นหลัก
• การแก้ไข TOR เป็ นดุลพินจิ ของหัวหน้าส่วนราชการ สามารถทาได้
แต่ตอ้ งให้สอดคล้องกับใบอนุมตั ิเงินประจางวดของสานักงบประมาณ
• แนวทางแก้ไข เมือ่ แก้ไข TOR แล้ว ต้องนาไปลงWebsiteให้
สาธารณชนวิจารณ์อีกครั้ง
427
ในประกาศประกวดราคา
ต้องกาหนดวันเสนอราคา(เคาะ)ไว้ในประกาศด้วย
มติกวพ.อ.
ระเบียบฯ๔๙ ประกอบ
หนังสือเวียน ว ๑๒๔ ลว.๙
เมษายน ๕๐ ให้กาหนดวัน
เสนอราคาไว้ในประกาศฯด้วย
เพือ่ ให้ผเู้ สนอราคายืน่
หลักประกันซองให้ครบถ้วน
จนถึงวันสิ้ นสุดการยืนราคา
มิฉะนัน้ จะถือว่าไม่ผ่านการ
คัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
►ปั ญหา
กรณีโรงเรียนกีฬาฯไม่ได้กาหนดวัน
เสนอราคาไว้ จึงปฏิบัติไม่ถกู ต้อง
เมือ่ บริษทั ส. ยืน่ หลักประกัน
ซองไม่ครบถ้วน และคกก.ให้ผ่าน
เข้าไปเสนอราคา แต่ไม่ใช่ราย
ตา่ สุด เมือ่ เวลาได้ล่วงเลยไปจนถึง
ขั้นตอนอนุมตั ิสงั ่ จ้างรายอื่นแล้ว
จึ งผ่อนผันไม่ตอ้ งยกเลิกประกวด
ราคา
428
ประกาศฯไม่กาหนดวันเสนอราคา ทาให้ผเู ้ สนอราคายืน่
หลักประกันซองไม่ครอบคลุมวันสิ้นสุดยืนราคา
• ประเด็น ๑ กรมป.ไม่
กาหนดวันเสนอราคาแต่
ภายหลังการยืน่ ซองแล้ว
กรมป. แจ้งกาหนดวันเวลา
เสนอราคาให้ผผู ้ ่านคัดเลือก
คุณสมบัตทิ ุกรายทราบ
• และทุกรายมาลงทะเบียน
ถูกต้อง จึงไม่ก่อให้เกิดการ
ได้เปรียบเสียเปรียบกัน
•ประเด็น ๒.หนังสือเวียน ว
๑๒๔ ลว. ๙ เม.ย.๕๐ ให้กาหนด
ระยะเวลา ค้าประกันซองตั้งแต่วนั
ยืน่ ซองจนถึงสิ้นสุดวันยืนราคา
• ในประกาศฯกาหนดให้ยนื ราคา
ไม่นอ้ ยกว่า ๙๐ วัน นับแต่วนั ยืน่
เอกสาร ซึ่งแตกต่างจากตัวอย่าง
ประกวดราคาเมื่อมีผเู ้ สนอราคา
รายตา่ สุด และไม่มีผใู ้ ดร้องเรียน ก็
อนุมตั ยิ กเว้นให้ดาเนินการต่อไปได้
429
ในประกาศฯกาหนดวันยืนราคาน้อยไป ๑ วัน
หนังสือค้าประกันซอง จึงมีเวลาค้าฯขาดไป ๑ วัน
เมื่อมิใช่รายต ่าสุด จึงอนุมตั ใิ ห้ดาเนินการต่อไปได้
ปั ญหาโรงพยาบาล ส. ให้ยนื • มติกวพ.อ.ห้างฯ ย.ยื่นขาดไป ๑ วัน
• เมื่อให้หา้ ง ฯ ย. ผ่านการคัดเลือก
ราคา ๑๘๐ วัน นับแต่ยนื่
ซองจนถึงสิ้นสุดวันยืนราคา คุณสมบัตเิ บื้องต้นไปจนถึงวันที่ให้
เสนอรำคำแล้ ว แต่ มิใช่ รำยต่ำสุด
• ประกาศกาหนดยื่นซองวันที่
เมื่อไม่มีผใู ้ ดร้องเรียน และ
๒๗ พ.ย.๕๑ เสนอราคาวันที่ เพื่อให้จงั หวัด ส. ดาเนินการ
๑๑ ธ.ค.๕๑ ดังนั้น วันครบ ก่อสร้างอาคารอุบตั เิ หตุ-บาบัดรักษา
กาหนดคือวันที่ ๙ มิ.ย.๕๒ และห้องประชุมต่อไปได้
กวพ.อ.จึงอนุ มตั ผิ อ่ นผันการไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ ๔๙
ให้เป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย
430
ตัวอย่างปั ญหาและแนวทางปฏิบตั ิ
ในเรือ่ งการอุทธรณ์ต่อหน่วยงานที่จดั หาพัสดุ
กรณีผปู ้ ระสงค์จะเข้าเสนอราคา
ไม่ผา่ น
การคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น
431
การนับระยะเวลาอุทธรณ์
มติกวพอ.ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๐(มข.)
ระเบียบฯ ๔๙ มิได้กาหนดวิธีนบั ระยะเวลาไว้เป็ นการเฉพาะ จึ งต้องถือ
ปฏิบตั ิตาม ปพพ. ม.๑๙๓/๓ คือ ให้นบั ๑ ถัดจากวันรับแจ้งผล
ได้รบั แจ้งผล วันที่ ๒๖ เม.ย.๒๕๕๐ นับวันที่ ๒๗ เป็ นวันแรก
จะไปครบ ๓ วัน คือวันที่ ๒๙ เม.ย. ๒๕๕๐
ถ้าวันครบคือวันที่ ๒๙ เม.ย.เป็ นวันอาทิตย์
ให้ถอื วันเปิ ดทาการวันแรก เป็ นวันสุดท้ายแห่งระยะเวลา ได้แก่
วันจันทร์ที่ ๓๐ เม.ย
ระเบียบฯข้อ ๙(๒)ให้อุทธรณ์ภายใน ๓ วัน นับจากได้รบั แจ้ง
ผล ไม่มีคาว่า “ทาการ” ต้องนับรวมวันหยุดราชการด้วย
432
วิธีนับเวลาอุทธรณ์
เพื่อพิจารณาว่าพ้นเวลาอุทธรณ์หรือยัง
ผูป้ ระสงค์จะเสนอราคาได้รบั แจ้งผลการ
พิจารณาคุณสมบัตเิ บื้องต้น ใน
วันศุกร์ที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๒
ระยะเวลายื่นอุทธรณ์ได้ ให้เริ่มนับ ๑
ตัง้ แต่วันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๒ เป็ นต้นไป
ซึ่งจะครบกาหนด ๓ วัน คือ
วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๒
433
คาวินิจฉัยอุทธรณ์ของหัวหน้าหน่วยงานที่จดั หา
กรณีไม่ผา่ นการคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น
ให้เป็ นที่สุดในชัน้ บริหาร
บริษทั ว. อุทธรณ์ว่า ประกาศของโรงพยาบาล ต.ก่อสร้างอาคาร
คสล. ๗ ชัน้ ตามแบบฯ และกาหนดเงื่อนไขในข้อ ๒.๕ แต่เพียงว่า
ผูเ้ สนอราคาต้องเป็ นนิตบิ ุคคล มีผลงานก่อสร้างประเภท
เดียวกับที่ประกวดราคาที่ว่า อาคาร คสล.ไม่นอ้ ยกว่า ๕ ชัน้
...มีระบบต่างๆ ภายในอาคารเช่นเดียวกับที่ประกาศฯ คือ
ระบบจ่ายแก๊ส...ผูอ้ ุทธรณ์เห็ นว่ากรณีท่ีคกก.มีมติว่า ผลงาน
ที่จะนามายื่น จะต้องเป็ นผลงานการก่อสร้างตัง้ แต่เริ่ม
ก่อสร้างฐานรากและดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วในสัญญาและ
อาคารเดียวกันเท่านัน้
(ต่อ)
434
ต่อ
คาตัดสินของคณะกรรมการไม่มีเหตุผลใดมารองรับว่าประกาศฯได้มี
ข้อกาหนดตามที่คณะกรรมการยกมาอ้าง บริษทั ฯ จึงขอให้ยกเลิ ก
ผลการพิจารณาของผูว้ ่าราชการจังหวัด(หัวหน้าหน่วยงานผูจ้ ดั หา)
มติกวพ.อ
ระเบียบฯ ๔๙ ข้อ ๙(๓) ให้หวั หน้าหน่วยงานที่จดั หา
พัสดุ พิจารณาอุทธรณ์คณ
ุ สมบัตเิ บื้องต้น ให้เสร็จ
ภายใน ๗ วัน คาวินิจฉัยฯถือเป็ นที่สุดในชั้นบริหาร
เมื่อผูว้ ่าฯ พิจารณาแล้วเห็นว่าอุทธรณ์ฟังไม่ข้ ึน หรือ
ฟั งขึ้นแต่ไม่มีผลเปลี่ยนแปลงการพิจารณา
คาวินิจฉัยจึงเป็ นที่สุด
ดังนั้น หากบริษทั ฯไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัย ย่อมมีสิทธิ
ดาเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อไป
435
(๑)การอุทธรณ์ผลการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
อุทธรณ์ต่อหัวหน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หาแล้วย่อมถึงทีส่ ุด
ไม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อกวพ.อ อีก
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๐(ระเบียบข้อ ๙(๓))

ปั ญหา มหาวิทยาลัย กาหนด spec ว่า
“ผูเ้ สนอราคาต้องมีผลงานติดตั้งระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้ า
ระบบป้องกันอัคคีภยั ไม่นอ้ ยกว่า ๗.๕ ล้านบาท”
ห้างฯเสนอผลงานก่อสร้างอาคาร ซึ่งมีผลงานระบบสุขาภิบาล
ระบบไฟฟ้ าฯ .... รวมกันไม่ถงึ ๗.๕ ล้านบาท
มหาวิทยาลัยฯ ตัดสิน ไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้น
 ห้างฯอุทธรณ์ภายในกาหนด ๓ วัน ตามระเบียบฯ
(ต่อ)
436
(๒)อุทธรณ์ผลการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้ องต้นต่อหัวหน้าหน่วยงานทีจ่ ดั หา
แล้วย่อมถึงทีส่ ุด ไม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อกวพ.อ อีก(ต่อ)
มติกวพ.อ.
หากมหาวิทยาลัย.เห็นว่า เป็ นงานจ้างทีม่ ีลกั ษณะพิเศษ
แตกต่างจากงานจ้างทัวไป
่ จะต้องกาหนดให้ชดั เจนเจาะจง
หลักการพิจารณาผลงาน จะต้องพิจารณาผลงานรวมทัง้
สัญญาไม่แยกค่างานตามรายละเอียดปริมาณงาน
เมือ่ ห้างฯได้รบั แจ้งผลอุทธรณ์คุณสมบัติเบื้ องต้นแล้ว ถือเป็ น
ทีส่ ุดในชั้นบริหาร หากเห็นว่าไม่เป็ นธรรม ก็ไปใช้สิทธิ์ตาม
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป ไม่มีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อกวพ.อ
437
ตัวอย่างปั ญหา
การเสนอราคา
ทางอิเล็กทรอนิกส์
438
ราคากลางงานก่อสร้าง มีราคาสูงกว่าวงเงินงบประมาณ
หน่วยงานจัดหาไม่ได้ผลให้ตอ่ รองราคารายเสนอต ่าสุดได้
มติกวพอ.ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๑
ในหลักการ ส่วนราชการจะต้องตกลงกับสานักงบประมาณเพือ่
- ขอเพิม่ วงเงิน / หรือหากไม่ได้รบั งบประมาณเพิม่ อาจปรับลดรายการตาม
ความ จาเป็ นให้สอดคล้องกับงบประมาณทีม่ ีอยู่ ก่อนทีจ่ ะจัดหาพัสดุ
ปั ญหา เมือ่ ส่วนราชการดาเนินการจัดหาพัสดุไปแล้ว/
ไขา่ สุด
มีหนังสือเวียนของกวพ.อ /ว ๑๑๓ ลว.๒๓ มี.ค.๔๙ ผ่อนผัแนวทางแก้
นให้เรียกรายต
มาต่อรองราคาให้ตา่ สุดเท่าทีจ่ ะทาได้ หากยังสูงกว่าวงเงินงบประมาณไม่เกิน
ร้อยละ๑๐ และเห็นสมควรจ้างก็ให้ดาเนินการต่อไป หากต่อรองไม่ได้ตอ้ ง
ยกเลิกการประกวดราคา แล้วปรับลดรายการจัดหาใหม่
439
(ปั ญหาข้ออุทธรณ์ผผู ้ ่านการคัดเลือกเบื้องต้น)
ร้องเรียนว่า ไม่ได้รบั หนังสือแจ้งให้ไปเสนอราคา
• มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๑
ปั ญหาการส่งเอกสารไปยังนิตบิ ุคคล จะต้องส่งตามภูมิลาเนาของ
นิตบิ ุคคล คือ ที่ต้งั สานักงานใหญ่ หรือถิ่นที่ต้งั ที่ทาการ/ที่เลือกเป็ น
ภูมิลาเนาเฉพาะกาล ฯลฯตามตราสารจัดตั้ง ตามปพพ.มาตรา๖๘, ๖๙
เมื่อบริษทั ยังไม่ได้จดแจ้งการเปลี่ยนแปลงที่ต้งั สานักงานใหญ่
ทางทะเบียน การที่กรมฯ ส่งเอกสารแบบ บก๐๐๕ และบก๐๐๖แจ้ง
เป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคาและวัน / เวลาเสนอราคา ไปยังสานักงานใหญ่
จึงปฏิบตั ถิ ูกต้องด้วยระเบียบแล้ว “ข้อร้องเรียนจึงฟั งไม่ข้ นึ ”
- อนึ่ง หากขณะซื้อเอกสาร/ยืน่ ซองบริษทั แจ้งให้เปลี่ยนสถานที่จดั ส่ง
เอกสารไปที่สานักงานสาขาแล้ว กรมฯชอบที่จะใช้ดลุ ยพินิจคืนได้เอง
440
ผูร้ บั มอบอานาจเข้าเสนอราคา
ไม่ยนื่ สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของกรรมการบริษทั ฯผูม้ อบ
อานาจมาในวันลงทะเบียน
1• ปั ญหา
2• มติ กวพอ. ๕มี.ค.๕๒.
• ผูร้ บั มอบอานาจจากบริษทั ฯ
ไม่ย่ืนสาเนาบัตรประชาชน
ของผูม้ อบอานาจมา
• -คณะกรรมการประกวด
ราคาฯไม่ให้ลงทะเบียน
• ให้หมดสิทธิเสนอราคา /
• ยึดหลักประกันซอง
• ระเบียบฯข้อ ๑๐(๑)ให้ผมู ้ ีสิทธิ
เสนอราคาแจ้งชื่อผูแ้ ทนได้
ไม่เกิน ๓ คน
•หนังสือเวียน ว ๕๙ลว.๑๗ ก.พ.๔๙
ข้อ ๑๔.๒(๔) เมื่อถึงกาหนดเวลา
นัดหมาย ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคา
ยืน่ แบบ บก.๐๐๖ สาเนาหนังสือ
รับรองการจดทะเบียนนิตบิ ุคคล
441
3• สาเนาบัตรประชาชนของผูแ้ ทน 4• และในหมายเหตุทา้ ยแบบ บก.
ผูม้ ีสิทธิเสนอราคา หนังสือมอบ ๐๐๖ กาหนด กรณีเป็ นนิตบิ ุคคล
อานาจ ให้คณะกรรมการฯ
ผูล้ งนามต้องเป็ นผูม้ ีอานาจตาม
ตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่
หนังสือรับรอง และกรณีผลู ้ ง
จึงจัดให้ลงทะเบียน.....
นามไม่ได้เป็ นผูม้ ีอานาจตาม
หนังสือรับรอง ต้องมีหนังสือ
• แบบ บก.๐๐๖ ในช่องเอกสาร
แนบ กาหนดให้แนบ/๑.หนังสือ มอบอานาจมาด้วย
รับรองการจดทะเบียนนิติ
• ดังนั้น จึงเห็นว่า กรณีสง่ ผูแ้ ทน
บุคคล/๒. สาเนาบัตรประจาตัว มาเสนอราคา เอกสารที่ผแู ้ ทน
ประชาชน พร้อมรับรองสาเนา
ต้องนามาแสดงจึงได้แก่
../๓.หนังสือมอบอานาจ
แบบบก.๐๐๖ หนังสือรับรอง
การจดทะเบียนนิตบิ ุคคล
442
5
6
• สาเนาบัตรประจาตัว
• ทัง้ นี้ เพื่อตรวจสอบว่าเป็ นบุคคล
ประชาชนของผูแ้ ทน และ
คนเดียวกันกับที่ได้รบั มอบอานาจ
หนังสือมอบอานาจ
จากผูม้ ีสิทธิเสนอราคาหรือไม่
เท่านัน้
•สาหรับ กรณีแบบ บก.๐๐๖
เอกสารแนบที่กาหนดให้แนบ • เมื่อในวันเสนอราคา บริษทั ฯนา
สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน
เอกสารมาแสดงครบถ้วน แต่ไม่ได้
พร้อมทั้งรับรองสาเนาถูกต้อง
นาสาเนาบัตรประจาตัวประชาชน
ของกรรมการบริษทั ฯผูม้ อบอานาจ
นั้น หมายถึง สาเนาบัตร
มาแสดง กรณีจึงไม่อาจถือว่า
ประจาตัวประชาชนของ
บริษทั ฯ ยื่นเอกสารหลักฐานไม่
ผูแ้ ทน มิใช่ของผูม้ อบ
ครบถ้วนตามเงื่อนไขแต่อย่างใด
อานาจ
จึงไม่อาจยึดหลักประกันซองได้
443
ผูเ้ สนอราคาถูกตัดสิทธิ์เสนอราคา มาไม่ทนั ลงทะเบียน ไปแล้ว
แต่ในวันเสนอราคานัน้ ระบบของผูใ้ ห้บริการตลาดกลาง
เกิดขัดข้อง คณะกรรมการประกวดราคาจึงกาหนดวัน/
เวลาเสนอราคาใหม่ ผูน้ นั้ จะมาขอเข้าเสนอราคาอีกไม่ได้
มติกวพ.อ. (Rf11226; ลว.๘ มิ.ย.๒๕๕๒
เมื่อประธานคณะกรรมการประกวดราคา ประกาศแจ้ง
การหมดสิทธิ์ให้ผเู ้ สนอราคาทราบไปแล้ว
แม้จะได้เลื่อนวันเสนอราคาไปเป็ นวันอื่น โดยกระบวนการ
เสนอราคายังไม่ส้ ินสุด เพียงแต่มีการเลื่อนวันเสนอราคาไป
เท่านัน้ ไม่ถอื ว่าเป็ นการเสนอราคาครัง้ ใหม่
ดังนัน้ ผูเ้ สนอราคารายที่ถูกตัดสิทธิ์ไปแล้ว
จึงไม่สามารถเข้าร่วมเสนอราคาได้
444
การเสนอราคาในช่วง๓-๕ นาทีสุดท้ายของการประมูล
-หลักการ
สัญญา ๓ ฝ่ าย กาหนดให้ ผูต้ อ้ งการเสนอราคาในช่วงสุดท้ายของการ
ประมูล ให้เสนอราคาก่อนสิ้ นสุดการประมูล อย่างน้อย ๑ นาที
เพือ่ เป็ นการเผือ่ เวลาสาหรับการเดินทางของข้อมูลเข้าสู่ระบบ sever
-ทั้งนี้ จะถือเอาผลการเสนอราคาและเวลาทีแ่ สดงในระบบฐานข้อมู ล
กลาง จากเครือ่ งแม่ข่าย (log file) เป็ นหลักฐานการเสนอราคาเท่านั้น
-มติกวพอ. ความล่าช้าทีผ่ เู ้ สนอราคาเข้ามาในช่วงสุดท้ายของการ
ประมูลมิได้เกิดจากระบบผิดพลาด แต่เกิดจากความล่าช้าของระบบ
internet ทีอ่ าจผันแปรไปตามปริมาณการใช้ ในขณะใดขณะหนึง่ ซึง่ ถือ
เป็ นเรื่องปกติ
ผูเ้ สนอราคาจะโต้แย้งว่าเสนอราคาแล้วแต่ระบบผิดพลาดหรือล่าช้า
ไม่ได้ คณะกรรมการจะต้องถือ log file เป็ นเกณฑ์
445
ระเบียบฯ พ.ศ.๒๕๔๙ กาหนดเงื่อนไขไว้ในหนังสือ
แสดงเงื่อนไขการซื้อการจ้าง(สัญญา ๓ ฝ่ าย) ให้ผูเ้ สนอ
ราคาเผื่อเวลาเข้าในระบบให้ได้ ก่อนสิ้นสุดเวลาเสนอ
ราคา อย่างน้อย ๑ นาที (Rf34633; ลว.๓๐.ธ.ค.๒๕๕๑)
ปั ญหา บริษทั อ. อุทธรณ์ว่า เสนอราคาในช่วง ๒ นาทีสุดท้าย
ก่อนเสนอราคาไม่ได้
มติกวพ.อ เห็นว่า ผูใ้ ห้บริการตลาดกลางแจ้งว่า ก่อนเสนอ
ราคาได้แนะนาผูเ้ สนอราคาแล้วว่า การเสนอราคาช่วงท้ายๆให้
เผือ่ เวลาสาหรับการเดินทางเข้าสู่ระบบServer ของระบบ
เมือ่ บริษทั ไม่เสนอราคาในช่วง ๒ นาทีสุดท้าย และปรากฏว่า
ระบบยังยอมรับการเสนอราคาเป็ นปกติ /อุทธรณ์จึงฟังไม่ขึ้น
446
ไม่ยนื่ สัญญา๓ฝ่ าย ในวันยืน่ ซอง/แต่ให้ผ่านเข้ามาเสนอราคา
ระเบียบข้อ ๘ ,หนังสือเวียน ว ๕๙ ลว.๑๗ ก.พ.๔๙
 สัญญา ๓ ฝ่ ายต้องยืน่ พร้อมซองข้อเสนอด้านเทคนิค
 ถ้าไม่ยนื่ ถือว่าผิดเงือ่ นใขในสิง่ สาระสาคัญ
 มติกวพ.อที่ กค(กวพอ)๐๔๐๘.๔/๑๘๒๓๓ ๑๙ ก.ค.๕๐
 เรือ่ งทีห่ ารือข้อเท็จจริงปรากฏว่า คณะกรรมการฯ
ให้ผูเ้ สนอราคารายทีไ่ ม่ยนื่ นั้น มาเข้าร่วมเสนอราคาด้วย
ถือว่าได้รบั ประโยชน์จากการละเว้นการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่
แต่เมือ่ สิ้ นสุดเสนอราคา ไม่มีสญ
ั ญา ๓ ฝ่ ายให้ลงชื่อเพือ่ ยืนยัน
ราคา จึ งถูกตัดสิทธิพจิ ารณาราคา
447
ยืน่ หนังสือสัญญา ๓ ฝ่ ายแล้ว แต่คณะกรรมการไม่ได้นามาในวัน
เสนอราคาทุกราย เมื่อการเสนอราคาเสร็จสิ้น ค้นหาสัญญา๓ ฝ่ าย
ของรายต ่าสุดไม่พบรายเดียว จะตัดไม่รบั ราคารายต ่าสุดไม่ได้
• มติกวพอ.กค(กวพ๐๔๐๘.๔/๑๘๙๗๘ ลว. ๒๗ ก.ค. ๒๕๕๐
•ผูเ้ สนอราคาผ่านการตรวจสอบหนังสือสัญญา ๓ ฝ่ าย และได้ลงชื่อ
ในวันยืน่ ซองด้านเทคนิคแล้ว
•วันเสนอราคา คกก.ไม่ได้นาสัญญา ๓ ฝ่ าย ไปมอบให้ตลาดกลาง
และคกก.ต้องลงนามก่อนเคาะราคา เมื่อสิ้นสุดเสนอราคา กลับไป
ค้นหาสัญญา๓ฝ่ ายของรายตา่ สุดไม่พบ จะตัดสิทธิ์ไม่รบั ราคาไม่ได้
•ถือได้ว่า เป็ นความบกพร่องของหน่วยงานที่จดั หาพัสดุเอง จึงให้ทา
สัญญา ๓ฝ่ ายขึ้นใหม่กาหนดเงื่อนไขเท่าที่จาเป็ นไว้เป็ นหลักฐานด้วย
448
มีผรู ้ อ้ งเรียนให้ยกเลิกประกวดราคา เนื่องจาก
ผูเ้ สนอราคารายต ่าสุดอยูร่ ะหว่างถูกดาเนินคดี ใช้/อ้าง
เอกสารผลงานปลอมของเทศบาล (๑๐ก.ย.๕๒)
-เรื่องนี้ส่วนราชการ น. ได้ทราบภายหลังจากที่
คกก.ประกวดราคาได้ตรวจคุณสมบัตผิ ่านแล้ว ตามข้อ ๙(๒)
ถือได้ว่า ห้าง ฯ ส.ซึ่งเป็ นผูเ้ สนอราคาต ่าสุดรายนี้
เป็ นผูม้ ีสิทธิเข้าสูก่ ระบวนการเสนอราคา
อย่างไรก็ดี เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงภายหลังว่าผูเ้ สนอราคาตา่ สุด
รายนี้ มีคุณภาพ/คุณสมบัตไิ ม่เป็ นประโยชน์ตอ่ ราชการ ย่อม
ต้องใช้ดุลพินิจที่จะพิจารณาว่าสมควรยกเลิกหรือไม่
449
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐต้องประจาอยู่ในห้องเคาะราคาระหว่างมี
การเสนอราคา ระเบียบฯข้อ๑๐(๑) และ(ว๕๙)ข้อ ๑๔.๓
• กค(กวพอ) ๐๔๐๘.๔/๑๘๒๓๓ ๑๙ก.ค. ๒๕๕๐
• เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ได้รบั คาสังให้
่ ประจาห้องเคาะราคา
ห้องละ ๑ คน ในระหว่างทีม่ ีการเสนอราคา
• เมือ่ ถึงเวลาเข้าห้องเสนอราคา เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ นาผูเ้ สนอราคา
ไปทดสอบระบบ
• เมือ่ เรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าทีข่ องรัฐได้ออกไปอยู่นอกห้องเคาะ
ราคา มาคอยสังเกตการณ์ และดูแลอยู่บริเวณหน้าห้อง
เคาะราคา เป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบฯ
450
การทดสอบระบบก่อนเริ่มต้นการเสนอราคา
1 กการ หนังสือเวียน
หลั
ว ๕๙ /๑๗ก.พ.๔๙ ข้อ
๑๔.๑(๑)กาหนดให้ผู ้
ให้บริการตลาดกลาง
เตรียมระบบให้พร้อมเพือ่
จัดให้ผูเ้ สนอราคาทดสอบ
ระบบก่อนเสนอราคาจริง
ไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ นาที
2 ให้ผูเ้ สนอราคาศึกษาการ
ใช้โปรแกรมจากเว็ปไซต์
ด้วยตนเอง
3
ผูใ้ ห้บริการตลาดกลางมีหน้าที่
เตรียมระบบให้ทดสอบ ก่อนถึงเวลา
เริม่ เสนอราคา
แต่ไม่มีหน้าทีฝ่ ึ กอบรมการใช้ระบบ
4 เมือ่ ผูเ้ สนอราคาทุกรายเสนอราคาได้ถูกต้อง
กรณีผูอ้ ุทธรณ์ๆว่าผูใ้ ห้บริการตลาดกลางไม่ฝึกอบรมวิธีเสนอราคา
จึงฟั งไม่ขึ้น
451
ผูเ้ สนอราคาไม่มาในวันเสนอราคา
•
ห้างฯ ไม่ได้มาลงทะเบียนเข้าเสนอราคา
• หน่วยงานทีจ่ ัดหาพัสดุ จึงยึดหลักประกันซอง
• สาเหตุเนื่องจาก-:
• ได้รบั เอกสารแจ้งกาหนดการเสนอราคาล่าช้า
• จึ งเป็ นการพ้นวิสยั ทีจ่ ะเข้าร่วมเสนอราคาได้
หน่วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ ต้องคืนหลักประกันซองให้หา้ งฯ
452
การเสนอราคาผิดเงื่อนไข
กรณี เสนอราคาสูงกว่า หรือเท่ากับราคาเริ่มต้นการ
ประมูล หากมีการเสนอราคา ครั้งสุดท้ายตา่ กว่า
ก็ถอื ว่าถูกต้อง
มติกวพ.อ. (Rf๐๗๗๒๒ ลว.๑๒ มี.ค.๒๕๕๓)
แต่หากผลการเสนอราคาครั้งสุดท้ายก่อนหมดเวลา
เสนอราคา หากผูเ้ สนอราคารายนัน้ เสนอราคา
ตา่ กว่าราคาเริ่มต้น ก่อนหมดเวลาประมูล
ย่อมถือว่า การเสนอราคาครั้งสุดท้าย ผูเ้ สนอราคารายนั้น
ได้เสนอราคาถูกต้องตามเงือ่ นไขของระเบียบฯ พ.ศ.๒๕๔๙
453
จะเคาะราคาที่ตอ้ งการประมูล
แต่เคาะราคาที่ตอ้ งการลดราคา
• สัญญา ๓ ฝ่ ายข้อ ๒.๑(๒)กาหนดหน้าทีผ่ ูเ้ สนอราคาให้ศึกษาวิธีการ
และทดลองเสนอราคา ในwww.gprocurement.go.th
ก่อนการเสนอราคา ในวันเสนอราคามีเจ้าหน้าทีค่ อยตอบข้อซักถาม
บริษทั จะเสนอราคาทีต่ อ้ งการประมูล แต่กลับไปเสนอราคาทีต่ อ้ งการจะ
ลดราคา
ในวันเสนอราคา มีผูเ้ สนอราคา อีก ๕รายรับฟังคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่
คนเดียวกันและเสนอราคาถูกต้อง
การทีบ่ ริษทั เคาะราคาผิดพลาด เกิดจากความเข้าใจคลาดเคลือ่ นของ
บริษทั เอง จึ งไม่อาจขอให้ดาเนินการเคาะราคาใหม่ได้
454
เสนอราคาต ่ากว่าราคาเริ่มต้นการประมูลเพียง ๐.๐๑หรือ
๕.๐๐บาท ถือว่า เสนอราคาถูกต้องตามเงื่อนไขแล้ว
ระเบียบฯข้อ๑๑(๒) และหนังสือเวียน ว ๓๐๒ ลว. ๒๑ ก.ค.
๔๙ ข้อ ๒.๓.๓ กาหนดเงือ่ นไขว่า
ให้เสนอราคาตา่ กว่าราคาสูงสุด หรือราคาเริม่ ต้นการประมูล
โดยมิได้กาหนดว่าจะตา่ ลงเท่าใด
เมือ่ ปรากฏว่า ผูเ้ สนอราคา เสนอตา่ กว่าราคาเริม่ ต้นการ
ประมูลเพียง ๐.๐๑ หรือ ๕.๐๐บาท
ย่อมถือว่า เสนอราคาตามเงือ่ นไขในระเบียบแล้ว หน่วยงานที่
จัดหาพัสดุไม่สามารถยกเลิกการประมูลได้
455
เมื่อสิ้นสุดเสนอราคา คณะกรรมการรายงานผลครั้งที่ ๒ เกิน
กว่า ๕ วันทาการ นับจากวันที่รายงานผลครั้งแรก
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด โรงพยาบาล ส. มิได้กาหนด
ที่ กค ๐๔๐๘.๓/ว๓๐๒ ลว. ๒๑ ก.ค.
๔๙ ข้อ ๒.๓ ให้กาหนดเงื่อนไขการ
ยึดหลักประกันซองไว้ในเอกสาร
ประกวดราคา และ ที่ ๐๔๐๘.๔/ว
๑๓๘ ลว.๑๙ เม.ย.๕๐ ให้คณะกก.
ประกวดราคา หากจาเป็ นต้อง
รวบรวมรายละเอียดอีก ให้รายงาน
ผลต่อหน.หน่วยงานที่จดั หาพัสดุ
ได้อีกเป็ นครัง้ ที่ ๒ภายใน ๕วันทา
การถัดไป นับจากได้รายงานครัง้ แรก
เงื่อนไขการยึดหลักประกันซอง
ไว้ในประกาศ และรายงานผล
ครัง้ ที่ ๒ เกิน๕ วันทาการถัดไป
จึงเป็ นการปฏิบตั ผิ ดิ ระเบียบฯ
แต่เนื่องจาก การประกวดราคา
ก่อสร้างอาคารผูป้ ่ วยนอกของ
โรงพยาบาล ส.ได้ดาเนินการจน
ได้ผเู ้ สนอราคารายตา่ สุดแล้ว
จึงผ่อนผันให้เป็ นพิเศษเฉพาะราย
456
ผูช้ นะราคาขอเปลีย่ นข้อเสนอด้านเทคนิคก่อนทาสัญญา
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๓/๒๕๕๑ (งานจ้างประชาสัมพันธ์ )
ผูช้ นะราคาขอเปลี่ยนแปลงข้อเสนอด้านเทคนิค(ตัวพรีเซ็นเตอร์)
หน่วยงานต้องพิจารณาว่า เป็ นการเปลี่ยนแปลงสาระสาคัญและ
ก่อให้เกิดการได้เปรียบ เสียเปรียบระหว่างผูเ้ สนอราคา
ด้วยกันหรือไม่ ?
 หากเป็ นสาระสาคัญ /ไม่เป็ นประโยชน์แก่ราชการ ผูช้ นะราคาต้องผูกพันตาม
ข้อเสนอเดิมที่เสนอไว้ จะถอนการเสนอราคามิได้ หากเห็นว่ามิไช่สาระสาคัญ
และไม่เสียเปรียบกัน ก็เป็ นดุลยพินิจของหน่วยงานที่จะเปลี่ยนแปลงได้
หากประกาศให้เป็ นผูช้ นะราคารายต ่าสุดแล้ว ไม่มาทาสัญญา ต้องยกเลิก
ประกวดราคา /ยึดหลักประกันซอง /เรียกค่าเสียหายอื่น/สั ่งทิ้งงานเพราะ
ระเบียบฯ๔๙ ให้รบั รายต ่าสุดเท่านั้น ไม่สามารถเรียกรายต ่าถัดไปได้
457
ระเบียบฯ ๔๙ กาหนดให้รบั ราคารายต ่าสุดรายเดียวเท่านั้น
ตัวอย่างเอกสารประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์
กาหนดให้เก็บหลักประกันซองผูเ้ สนอราคารายต ่าสุดไว้
เพียงรายเดียว จะคืนเมื่อได้ทาสัญญาหรือข้อตกลง หรือ
พ้นข้อผูกพันแล้ว
มติกวพ.อ.โดยเจตนารมณ์ให้พิจารณารายต ่าสุด เพียง
รายเดียวเท่านั้น
เมื่อแจ้งผลให้ผเู ้ สนอราคาทุกรายทราบแล้ว หากราย
ต ่าสุดที่อนุมตั ใิ ห้สั ่งซื้อ/สั ่งจ้างแล้ว ไม่มาทาสัญญา
ย่อมไม่อาจเรียกรายต ่าถัดไปมาต่อรองราคาหรือ
สอบถามและรับราคาอีก
458
การอุทธรณ์ต่อ
กวพ.อ.
459
ผูเ้ สนอราคา อุทธรณ์ผิดหน่วยงาน
มติกวพ.อ ครั้งที่ ๒๗/ ๒๕๕๐ ลว.๑๐ม.ค.๒๕๕๐
 ระเบียบข้อ ๑๐ (๔) และหนังสือเวียน /ว ๕๙ ข้อ ๑๕
เมือ่ กระบวนการเสนอราคา สิ้ นสุดลงแล้ว หากไม่เห็นด้วยกับการ
พิจารณาผลการประกวดราคาของหน่วยงาน ต้องอุทธรณ์ต่อ กวพ.อ
บริษทั เข้าใจคลาดเคลือ่ น ได้อุทธรณ์ไปยัง หน่วยงานทีจ่ ดั หา
พัสดุ(จังหวัด ก.)ภายใน๓วัน นับจากได้รบั แจ้ง
-เป็ นการอุทธรณ์ทีไ่ ม่ชอบด้วยระเบียบ
ต่อมา บริษทั อุทธรณ์ไปยัง กวพ.อ ให้ถูกหน่วยงานอีกครั้งหนึง่
ให้ถอื ว่า เป็ นการอุทธรณ์ภายในกาหนดเวลา
460
อุทธรณ์ขอให้เสนอราคาใหม่
- ห้างฯ ขอให้เสนอราคาใหม่ เนือ่ งจากได้รับเอกสารกระชัน้ ชิด
- ระเบียบฯข้อ ๑๐(๕) ให้สิทธิผเู้ สนอราคาทีเ่ ข้าสู่กระบวนการ
เสนอราคา ทีไ่ ม่เห็นด้วยกับผลการพิจารณาของหน่วยงาน
อุทธรณ์ ต่อกวพ.อ.เพือ่ สังให้
่ หน่วยงานดาเนินกระบวนการ
พิจารณาใหม่ ซึง่ หมายถึง ต้องมาลงทะเบียนเข้าเสนอราคาแล้ว
- เมือ่ ห้างฯมิได้เข้าสู่กระบวนการพิจารณา จึงไม่มสี ิทธิอุทธรณ์
- กรณีนี้ ปรากฏว่ากรม ท. ส่งเอกสารให้ผูม้ ีสิทธิเสนอราคาทุกราย
ทาง EMS ซึ่งมีเวลาพอสาหรับการแจ้งล่วงหน้าแล้ว
- ไม่มีขอ้ เท็จจริงว่ากรม ท.กระทาไม่โปร่งใสในขั้นตอนใด
- ห้างฯจึ งไม่สามารถอุทธรณ์ขอให้มีการเสนอราคาใหม่
461
ผูเ้ สนอราคาทีเ่ ข้าสู่กระบวนการเสนอราคาเท่านัน้
เป็ นผูม้ สี ิทธิอุทธรณ์ต่อกวพ.อ.
มติกวพ.อ.(Rf04879; ลว.๙มี.ค.๒๕๕๒)
ประเด็น ๑.บริษทั ฯ T ไม่ผา่ นการคัดเลือกเบื้องต้น ได้รอ้ งเรียนต่อ
กวพ.อ.ว่า หน่วยงานที่จดั หาพัสดุพิจารณาคุณสมบัตเิ บื้องต้น โดยไม่
ชอบด้วยระเบียบ ทาให้ถูกตัดสิทธิ์เสนอราคา
ตอบ ถือว่าเป็ นที่สุดในชัน้ บริหาร จึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ตอ่ กวพ.อ. อีก
ประเด็นที่ ๒ บริษทั ฯ T ขอให้กวพ.อ.สั่งระงับการทาสัญญา
ของหน่วยงานที่จดั หา
ตอบ ระเบียบฯข้อ ๑๐(๕)ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคาที่เข้าสู่กระบวนการ
เสนอราคาที่ไม่ได้รบั ความเป็ นธรรม อุทธรณ์ตอ่ กวพ.อ.ได้
 เมื่อ บริษทั Tถูกตัดสิทธิเสนอราคาแล้ว จึงมิได้เป็ นผูเ้ ข้าสู่
กระบวนการเสนอราคา จึงไม่อาจใช้สิทธิ์ให้กวพ.อ.สั่งระงับได้
462
อุทธรณ์คาสั ่งยึดหลักประกันซอง ต้องอุทธรณ์ตอ่ ผูอ้ อกคาสั ่ง
(หน่วยงานที่จดั หาพัสดุ) มิใช่กวพ.อ
ระเบียบฯข้อ ๑๐(๕)กาหนดว่า
• ให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอราคา ที่ไม่เห็นด้วยกับการพิจารณาตัดสินราคาของ
หน่วยงานที่จดั หาพัสดุ สามารถอุทธรณ์ตอ่ กวพ.อ ภายใน ๓ วัน นับ
จากวันที่ได้รบั แจ้งผล......
• มติกวพ.อ
• กรณีปัญหา บริษทั อุทธรณ์ขอคืนหลักประกันซอง ต่อกวพ.อ ไม่ได้
เนื่องจากคาสั่งยึดหลักประกันซอง เป็ นการออกคาสั่งโดยหน่วยงาน
ผูจ้ ดั หาโดยตรง เป็ นคาสั่งทางปกครอง ดังนัน้ จึงต้องอุทธรณ์ตอ่
ผูอ้ อกคาสั่ง
• การอุทธรณ์คาสั ่งยึดหลักประกันซอง เป็ นคนละกรณีกบั การอุทธรณ์
การพิจารณาตัดสินราคาตามข้อ ๑๐(๕) ของระเบียบฯ
463
การยึด -คืนหลักประกันซอง เป็ นอานาจของหน่วยงานที่จดั หา
ให้พิจารณาคืนได้เฉพาะ เหตุสุดวิสยั ตามปพพ. มาตรา ๘
•มติกวพ.อ.ครั้งที่๑๗/๒๕๕๐ ก.ย.๕๐
เมือ่ การยึดหลักประกันซอง
•ระเบียบฯข้อ ๑๐ +หนังสือเวียน/
เป็ นอานาจหน้าทีข่ องหน่วยงานที่
ว๕๙ ลว. ๑๗ ก.พ.๔๙ ข้อ๑๔.๔
จัดหาพัสดุ
แบบแจ้งผูม้ ีสิทธิเสนอราคา
การคืนหลักประกันซอง จึ งเป็ น
(บก.๐๐๕) กาหนดให้ผมู ้ ีสิทธิเสนอ ดุลพินจิ ของหัวหน้าหน่วยงาน
ราคามาลงทะเบียนต่อหน้า
จัดหา ฯ ซึ่งต้องพิจารณาจาก
คณะกรรมการให้ทนั กาหนดเวลา
ข้อเท็จจริง และเหตุผลประกอบ
 ให้สง่ ผูแ้ ทนมาได้รายละ ไม่ หากเป็ นเหตุสุดวิสยั ตาม ปพพ.
เกิน ๓ คน หากมาไม่ทนั จะถูก มาตรา ๘ ก็ชอบทีจ่ ะคืนได้
ยึดหลักประกันซอง
464
จานวนเงินที่ยึดหลักประกันซอง
ให้ยึดได้เท่ากับที่ประกาศฯไว้
มติ กวพ. กค.(กวพอ.)๐๔๒๑.๓/๒๕๘๔๙ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๕๒
ในประกาศฯกาหนดให้วางหลักประกันซอง ๑๓๖,๙๙๓บาท
 ผูม้ ีสิทธิเสนอราคายืน่ ไว้เกินคือ ๑๕๐,๐๐๐ บาท
 การยึดหลักประกันซอง จึงต้องยึดตามจานวนที่ประกาศ
คือ ๑๓๖,๙๙๓ บาท เท่านั้น
ส่วนที่เกินให้คนื ผูเ้ สนอราคารายนัน้
465
จะคืนหลักประกันซองแก่ผเู ้ สนอราคา เมื่อใด?
มติกวพ.อ.Rf10109 25 พ.ค.2552
ข้อเท็จจริง โรงพยาบาล บ.ประกวดราคาจ้างก่อสร้างบ้านพักแพทย์
ใช้เงินบารุงฯโดยแจ้งให้ผเู ้ สนอราคารายตา่ สุดเข้าทาสัญญา แต่ไม่มา
จึงหารือว่า จะเรียกรายตา่ ถัดไปมาต่อรองและรับราคาได้หรือไม่
1
มติกวพ.อ.
ตัวอย่างเอกสารประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้กาหนดให้
เก็บหลักประกันซองของผูเ้ สนอราคาตา่ สุดไว้เพียงรายเดียว
2
หลักประกันซองจะคืนต่อเมื่อได้ทาสัญญา/ข้อตกลง/หรือพ้นข้อ
ผูกพันแล้วซึ่งเจตนารมณ์ตอ้ งการให้พิจารณารายตา่ สุดเพียง
รายเดียวเท่านัน้
(ต่อ)
466
3
เมื่อผูม้ ีอานาจสั่งซื้อ /สั่งจ้าง ตามระเบียบฯปี ๓๕ ข้อ ๖๕
ได้เห็ นชอบ และได้มีการแจ้งผลการพิจารณาให้ ผูม้ ีสิทธิ
เสนอราคาทุกรายทราบแล้ว
หากรายตา่ สุด ไม่ยอมเข้าทาสัญญา หรือ ข้อตกลง
4
กรณีจงึ ไม่อาจเรียกรายต ่าถัดไป มาสอบถาม และ
รับราคาเพื่อดาเนินการต่อไปได้
467
มีวจิ ารณ์ TOR ครั้งที่ 2 แต่ คนละประเด็นกับที่เคยวิจารณ์ ครั้งที1
่
ไม่ มีผ้ ูวจิ ำรณ์ TOR แต่ หน่ วยงำนจำเป็ นต้ องแก้ ไขเอง
มติกวพ.อ.Rf000274/6 ม.ค.2553
หลักการ/ระเบียบฯ ข้อ ๘(๑) และหนังสือเวียน ว ๓๐๒ ลว.
๒๑ ก.ค.๒๕๔๙ ข้อ ๒.๑.๓ ให้นาสาระสาคัญของร่างTOR และ
ร่างเอกสารประกวดราคาลงwebให้ประชาชนเสนอแนะวิจารณ์
หากมีวิจารณ์ เห็ นควรปรับปรุง ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงาน
เห็นชอบ และลง web อีกครั้งหนึ่ง
หรือ มีวิจารณ์ หากไม่ปรับปรุง ก็ให้ลงwebของหน่วยงาน
และของกรมบัญชีกลางอีกครั้งหนึ่ง เช่นกันไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
(ต่อ)
468
ต่อ
ประเด็นปั ญหา
๒.หากไม่มีผวู ้ ิจารณ์
๑.หากมีผวู ้ ิจารณ์ครั้งที่ ๒ ซึ่งได้รบั
แต่
ห
น่
ว
ยงานเห็
น
เองว่
า
ผลกระทบจากการแก้ไขครั้งที่ ๑ หรือ
เป็ นประเด็นอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็น ควรแก้ไข TOR.ในส่วนที่
ที่มีขอ้ วิจารณ์ในครั้งที่ ๑
เป็ นสาระสาคัญ เพื่อ
ประโยชน์ของหน่วยงาน
มติกวพ.อ. ให้อยูใ่ นดุลพินิจของคณะกก.
ร่าง TOR ที่จะแก้ไข หรือไม่
-แล้วเสนอหน.หน่วยงานเห็นชอบอีกครั้ง
หากมีแก้ไขต้องนาไปลงweb ของ
หน่วยงานและของกรมบัญชีกลางอีกครั้ง
หนึ่งไม่นอ้ ยกว่า ๓ วัน
มติกวพ.อ.
เมื่อคกก.ร่าง TOR.
แก้ไขแล้ว ก็ตอ้ งเริม่
ดาเนินการตามระเบียบฯข้อ
๘ ต่อไป (ลงwebให้
วิจารณ์ใหม่)
469
เจ้าหน้าที่ลงประกาศฯทางwebsiteของหน่วยงานเพียงวันเดียว
แล้วลบออก และไม่ลงประกาศทางwebกรมบัญชีกลาง
ผูร้ อ้ งเรียนแจ้งว่า เจ้าหน้าที่จงั หวัด ส.ไม่ลงประกาศฯ งานจ้างก่อสร้าง
๓ โครงการ มูลค่า ๕๐ ล้านบาทเศษ ทาง website ของกรมบัญชีกลาง
และไม่ยอมขายแบบอ้างว่าไม่มีโครงการในช่วงนี้บ้าง /ผูข้ ายแบบลาพัก
ร้อน/ไม่รู ้ ไม่เห็นบ้าง
จึงขอให้ กวพ.อ.สั ่งยกเลิก และให้ประกวดราคาใหม่
มติกวพ. อ.
ระเบียบฯข้อ ๑๑(๔)กรณีหน่วยงานเห็นเอง และข้อ ๑๐(๕) กรณีมีผู ้
ร้องเรียน ว่า เจ้าหน้าที่ หรือผูม้ ีสิทธิเสนอราคา หรือผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
มิได้ปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตามระเบียบนี้ มีเจตนาก่อให้เกิดความเสียหาย...
ให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อ
หน่วยงานของรัฐ หรือ กม.อื่นที่เกี่ยวข้อง
(ต่อ)
470
(ต่อ) กวพ.อ.ได้ตรวจสอบโดย:๑. ขอประกาศฯไปยังจังหวัด ส.
๒.ตรวจสอบจาก www.Gprocurement.go.th
พบว่า การจัดทาประกาศ ของจังหวัด ส.
มีการลงประกาศทั้ง ๓ โครงการในหน้า website ของ
หน่วยงานและลบออกในวันเดียวกันคือวันที่ ๒๒ ธ.ค.๒๕๕๒
และเป็ นการสร้างหลังวันสิ้นสุดวันขอรับเอกสาร
อีกทั้งไม่มีการประกาศที่www.Gprocurement.go.th ของ
กรมบัญชีกลาง
กวพ.อ.เชื่อว่า เป็ นการดาเนินการที่ไม่ถูกต้องตามระเบียบฯ
จึงให้จงั หวัด ส. สอบสวนข้อเท็จจริงโดยด่วน หากเข้าข่ายเป็ นความผิด
เกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ หรือกม.อื่น ให้พิจารณาตาม
อานาจหน้าที่ตอ่ ไป และแจ้งผลให้กวพ.อ.ทราบด้วย
471
การแจ้งวัน/เวลาเสนอราคา ไปยังภูมิลาเนา
ของผูเ้ สนอราคา แต่ไม่มีผรู ้ บั มิใช่เหตุสุดวิสยั
มติกวพ.อ.ครัง้ ที่ ๘/๒๕๕๓ 27 พ.ค.2553
ข้อเท็จจริง จังหวัด ส. จ้างก่อสร้างอาคารฟื้ นฟูคนไข้
ผูเ้ สนอราคาอุทธรณ์ว่า ไม่ได้รบั แจ้งวัน/เวลาเข้าเสนอราคา
เมื่อมาไม่ทนั จึงถูกยึดหลักประกันซอง
มติกวพ.อ.
ในประกาศกาหนดวันประกาศรายชื่อผูม้ ีสิทธิ์ วันที่ ๔ มี.ค.๕๓ และ
วัน/เวลาสถานที่เสนอราคาวันที่ ๑๑ มี.ค.ไว้แล้ว
เมื่อจังหวัดส่งเอกสารการแจ้งนัดหมายและให้ส่งผูแ้ ทนแก่หา้ งฯ ถึง
๒ ครั้ง แต่ไม่มีผรู ้ บั ประกอบกับไปรษณียแ์ จ้งให้ไปรับเอกสารได้ที่
ไปรษณียด์ ว้ ย ถือว่าส่งเอกสารโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
หากห้างฯไม่ได้รบั แจ้ง ก็ควรติดตามทวงถาม จึงเป็ นเรื่องที่หา้ งฯ
ละเลยสิทธิที่พึงมี กรณีน้ ีจึงมิใช่เหตุสุดวิสยั ตามที่หา้ งฯกล่าวอ้าง
472
หัวหน้าหน่วยงาน พิจารณาอุทธรณ์ไม่เสร็จภายใน ๗ วัน
ผูอ้ ุทธรณ์มีสิทธิเข้าเสนอราคา ไม่อาจยกเลิกประกวดราคา
ระเบียบฯ๔๙ ข้อ ๙(๓) กาหนดให้ หากหัวหน้าหน่วยงาน
แจ้งผลการพิจารณาอุทธรณ์คณ
ุ สมบัตเิ บื้องต้นไม่ทนั
ภายใน ๗ วัน ต้องให้ผอู ้ ุทธรณ์มีสิทธิเข้าเสนอราคา
หากจังหวัด ช. ยกเลิกการประกวดราคาด้วยเหตุพิจารณา
อุทธรณ์ไม่ทนั ภายใน ๗ วัน
ระเบียบฯข้อ๙(๓ไม่มีขอ้ กาหนดให้ยกเลิก จึงไม่อาจยกเลิกได้
แต่ท้งั นี้จังหวัด ช. จะยกเลิกการประกวดราคาด้วยเหตุอื่น
ก็ยอ่ มเป็ นดุลพินิจที่จะทาได้
แต่จะต้องมีเหตุผลประกอบการพิจารณาด้วย
47
3
คานวณราคากลางไม่มีเงินค่าจ้างล่วงหน้า แต่ในประกาศฯ
มีเงินล่วงหน้า ทาให้เสียประโยชน์ ต้องยกเลิก/จัดหาใหม่
ระเบียบฯ ๔๙ กาหนดให้ใช้ราคากลางเป็ น
วงเงินเริ่มต้นการประมูลสาหรับงานก่อสร้าง
โรงพยาบาล ร. ต้องกาหนดเงื่อนไขในเอกสารประกาศฯ
ให้สอดคล้องกับการคานวณราคากลาง
เมื่อการคานวณราคากลางไม่ได้คิดคานวณเงินค่าจ้าง
ล่วงหน้าไว้ดว้ ย ๑๕% จึงเป็ นการดาเนินการที่ไม่ถกู ต้อง
 เป็ นผลให้ราคากลางสูงกว่าความเป็ นจริงทาให้ราชการ
เสียเปรียบ โรงพยาบาล ร.จะเรียกผูเ้ สนอราคาทุกรายมีหนังสือ
ยืนยันว่าจะไม่รบั เงินล่วงหน้า ก็ไม่อาจทาได้ จึงให้จดั หาใหม่
47
4
ยืน่ เอกสารรับรองผลงานอันเป็ นเท็จ
ผล -ไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัตเิ บื้องต้น
-ไม่ยดึ หลักประกันซอง
แต่สั ่งทิ้งงาน -และเรียกชดใช้ค่าเสียหายได้
•
•
•
•
มติ(Rf10161; ลว. ๓๑มี.ค.๒๕๕๓)
หนังสือเวียน ว ๓๐๒ กาหนดเงื่อนไขยึดหลักประกันซองไว้ ๔ กรณี
ดังนัน้ การยื่นเอกสารเท็จ จึงไม่อยู่ในเงื่อนไขที่จะยึด
แต่ตามระเบียบฯปี ๓๕ ข้อ๕ ประกอบข้อ ๑๕ ฉ ถือว่าเป็ นการขัดขวาง
การแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีจะแสวงหา
ประโยชน์ระหว่างผูเ้ สนอราคา/เสนองานด้วยกัน...ให้มีสิทธิทาสัญญา
กับส่วนราชการ จึงต้องสอบสวนและเสนอปลัดกระทรวงตัดรายชื่อ
ออกจากเป็ นผูเ้ สนอราคา /เป็ นผูท้ ้ ิงงานและชดใช้คา่ เสียหาย
475
การเสนอราคาผิดพลาด
มติ กวพ.อ.)ครั้งที่ ๘/๒๕๕๓
ศูนย์มะเร็ง ล. ประกวดราคาก่อสร้างบ้านพัก วงเงิน๒๒ ล้านเศษ
 ห้างฯ ช.เสนอราคา ๔ ครั้ง แต่ครั้งที่ ๓ เสนอสูงกว่าวงเงิน
เริม่ ต้นประมูล ส่วนครั้งสุดท้ายเสนอต ่ากว่าวงเงินเริม่ ต้นประมูล
 หลักการตามส.เวียน ว ๓๐๒ ข้อ ๒.๓(๓)ห้ามเสนอราคาสูงกว่า
หรือเท่ากับราคาเริม่ ต้นประมูล หมายถึง การเสนอราคาครัง้ แรก
และไม่มีการเสนออีกเลย หรือก่อนสิ้นสุดเวลายังสูงหรือเท่ากับ
ราคาเริ่มต้น กรณีน้ ีจะถือว่าผิดเงื่อนไข ยึดหลักประกันซองได้
 เมื่อห้างฯเสนอราคาต ่ากว่าก่อนสิ้นสุดการประมูล และมีหนังสือ
แจ้งว่าเสนอราคาผิดพลาด ไม่มีเจตนาปฏิบตั ผิ ิดระเบียบแต่อย่างใด
 จึงถือไม่ได้ว่า ห้างผิดเงื่อนไขเสนอราคา ต้องคืนหลักประกัน
ซองให้แก่หา้ ง ฯ ไป
476
การปรับลดเนื้องาน
ภายหลังจากได้ผชู ้ นะราคารายต ่าสุดแล้ว กระทาไม่ได้
(Rf14178; ลว.๑๓ก.ค.๒๕๕๒)
• มหาวิทยาลัย น. จ้างก่อสร้าง
ผูเ้ สนอราคารายตา่ สุด เสนอสูงกว่า
วงเงินงบประมาณ
• จึงต่อรองราคาตามหนังสือ
กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค
๐๔๐๘.๓/ว ๑๑๓ ลว.๒๓ มี.ค.๔๙ ซึ่ง
หลักเกณฑ์ขอ้ ๒ กาหนดให้ตอ่ รอง
ราคาให้ต ่าสุดเท่าที่จะทาได้
• หากต่อรองไม่ได้ผล ให้ขอเงินเพิ่ม
หรือ ยกเลิกการเสนอราคา
• ต่อมา สานักงบประมาณ ปรับลด
วงเงินงบประมาณ จึงต้องลด
เนื้องานลงภายหลังจาก
กระบวนการประกวดราคาสิ้นสุด
ลงแล้ว กรณีจงึ ไม่เป็ นไปตามนัย
ข้อ ๒ ของหนังสือเวียนดังกล่าว
ดังนั้น จึงเห็นควรให้
มหาวิทยาลัย น.ยกเลิกการ
ประกวดราคาครั้งนี้
477
ถาม – ตอบ
ปั ญหา
478
479