การทำสัญญา

Download Report

Transcript การทำสัญญา

การบริหารสัญญา
และหลักประกัน
1
หัวหน้ าส่ วนราชการ
(ข้ อ 132)
(หรือผูร้ บั มอบอำนำจ
ตำมระเบียบฯ ข้อ 9)
หัวหน้ำเจ้ำหน้ำที่
พัสดุ
(ในวิธีตกลงรำคำข้อ 39 วรรคแรก)
2
รูปแบบของสัญญา
เต็มรูป (ข้ อ 132)
1.1) ทาสั ญญาตามตัวอย่ างที่ กวพ. กาหนด
1.2) มีข้อความแตกต่ าง เสี ยเปรียบ/ไม่ รัดกุม
1.3) ร่ างใหม่
ลดรูป (ข้ อ 133) ข้ อตกลงเป็ นหนังสื อ (ใบสั่ งซื้อ/สั่ งจ้ าง)
2.1) ตกลงราคา
2.2) ส่ งของภายใน 5 วันทาการ
2.3) กรณีพเิ ศษ
2.4) การซื้อ/จ้ างโดยวิธีพเิ ศษ (บางกรณี)
ไม่ มรี ูป (ข้ อ 133 วรรคท้ าย)
3.1) ไม่ เกิน 10,000 บาท
3.2) ตกลงราคา กรณีเร่ งด่ วน ตามข้ อ 39 วรรคสอง
จะไม่ ทาข้ อตกลงเป็ นหนังสื อไว้ ต่อกันก็ได้
การทาสั ญญา (ตามตัวอย่างที่ กวพ. กาหนด)
การกาหนดเงื่อนไข
1
4
2
การกาหนด ข้ อความหรื อรายการที่แตกต่าง จากตัวอย่างของ กวพ.
3
การร่ างสัญญาใหม่
การทาสัญญาเช่ า ที่ต้องผ่ าน สนง. อัยการ
4
1
สัญญาจ้างให้บริการรักษาความปลอดภัย
2
สัญญาจ้างทาความสะอาดอาคาร
ฯลฯ
5
รูปแบบสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ.กาหนด
1
2
สัญญาซื้ อ
ขาย
สัญญาจะซื้ อจะ
ขายแบบราคา
คงที่ไม่จากัด
ปริมาณ
3
8
สัญญา
แลกเปลีย่ น
สัญญาเช่า
รถยนต์
สัญญาจ้างบริการ
บารุงรักษาและ
ซ่ อมแซมแก้ไข
คอมพิวเตอร์
สัญญาซื้ อขาย
และอนุญาตให้ใช้
สิทธิในโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
สัญญาซื้ อขาย
คอมพิวเตอร์
9
10
4
7
สัญญาเช่า
คอมพิวเตอร์
11
สัญญาจ้างที่ปรึกษา
ออกแบบและ
ควบคุมงาน
5
สัญญาจ้าง
6
สัญญาจ้างบริการ
บารุงรักษาและ
ซ่ อมแซมแก้ไข
คอมพิวเตอร์
เงื่อนไขที่สาคัญของสัญญา
1
2
3
4
ข้ อตกลงเรื่อง
รูปแบบ ปริมาณ
จานวน ราคา
การจ่ ายเงิน
(งวดเงิน)
การจ่ ายเงิน
ล่ วงหน้ า
(ข้ อ 68)
หลักประกัน
8
7
6
5
การปรับ
การขยายเวลา
งดหรือลด
ค่ าปรับ
การส่ งมอบ
การตรวจรับ
การประกัน
ความชารุด
บกพร่ อง
เพื่อให้ งานที่จ้างเป็ นไปตามลาดับขันตอน
้
ตามหลักวิชาการ
ของการก่อสร้ าง และการแบ่งจ่ายเงินเมื่อผู้รับจ้ างส่งมอบงาน
ในแต่ละงวด เพื่อให้ ผ้ รู ับจ้ างเกิดสภาพคล่องทางการเงิน และ
ใช้ เป็ นทุนหมุนเวียนในการก่อสร้ างการกาหนดจ่ายเงินเป็ นงวด
นัน้ จึงต้ องกาหนดให้ สมั พันธ์กนั ระหว่างเนื ้องานกับเนื ้อเงิน
กรณีที่มีการแบ่งงวดงานและงวดเงินแล้ ว โดยหลัก ผู้วา่ จ้ างไม่อาจรับมอบงานและ
จ่ายเงินข้ ามงวดได้ เว้ นแต่ ตามข้ อเท็จจริงของหลักวิชาการของการก่อสร้ าง งานที่สง่
มอบนัน้ เป็ นอิสระไม่เกี่ยวข้ องกับงานในงวดก่อนหน้ านัน้
8
สัญญาซือ้
ขาย/สัญญา
จ้ างทั่วไป
จ่ ายตาม
เนือ้ งานที่
ทาเสร็จจริง
จ่ ายตาม
วงเงินที่
กาหนดใน
สัญญา
ราคาเหมา
รวม
สัญญาจ้ าง
ก่ อสร้ าง
จ่ ายตาม
วงเงินที่
กาหนดใน
สัญญา
ราคาต่ อ
หน่ วย
การกาหนดอัตราค่ าปรับในสั ญญา (ข้อ 134)
1
2
3
10
1.ซือ้ /จ้ าง จากส่ วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
2. ซือ้ จากต่ างประเทศ
จ่ ายได้ 50 %
จ่ ายตามที่ผ้ ูขายกาหนด
3. การบอกรับวารสาร,/สั่งจองหนังสือ/ ซือ้ ข้ อมูล E /
บอกรับสมาชิกInternet
จ่ ายเท่ าทีจ่ ่ ายจริง
4. ซือ้ /จ้ าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา (ต้ องกาหนด
เงื่อนไขไว้ ในประกาศด้ วย)
จ่ ายได้ 15%
5. ซือ้ /จ้ าง โดยวิธีพเิ ศษ
จ่ ายได้ 15%
11
หลักประกันการรับเงินล่ วงหน้ า (ข้อ 70)
การจ่ ายเงินล่ วงหน้ า กรณีสอบราคา/ประกวดราคา/วิธีพเิ ศษ
ต้ องวางหลักประกันการรั บเงินล่ วงหน้ าเป็ น
พันธบัตร
รั ฐบาลไทย
ยกเว้ น
หนังสือคา้ ประกันของ
ธนาคาร
ภายในประเทศ
การซื้อ/จ้ างจากส่ วนราชการ การซื้อพัสดุจาก ต่ างประเทศ
การบอกรับวารสารฯ ไม่ ต้องเรียกหลักประกัน
12
หลัก:
ผลของสั ญญา
13
การเพิ่มคู่สัญญา
การเปลี่ยนแปลง
คู่สัญญา
การขอเพิ่มคู่สญ
ั ญา เป็ นกรณี ที่ไม่ทาให้ทางราชการเสี ย
ประโยชน์ เนื่องจากมีผรู ้ ับผิดร่ วมกับลูกหนี้เพิ่มขึ้น จึงย่อม
กระทาได้ ทั้งนี้ คู่สญ
ั ญาที่เพิ่มขึ้นใหม่น้ นั จะต้องมี
คุณสมบัติเช่นเดียวกับคู่สญ
ั ญาเดิม และมีความรับผิดอย่าง
ลูกหนี้ร่วมด้วย
การขอเปลี่ยนแปลงคู่สญ
ั ญา ไม่อาจกระทาได้
14
กำรทำสัญญำจ้ำงก่อสร้ำงทุกประเภท
ต้องมีเงื่อนไขให้มีกำรทำสัญญำแบบปรับรำคำได้(ค่ำK)
มติคณะรัฐมนตรี หนังสือของสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ที่ นร ว ๑๐๙
ลงวันที่ ๒๒ สิงหำคม ๒๕๓๒ให้ควำมช่วยเหลือผูป้ ระกอบอำชีพก่อสร้ำง
โดยกำหนดให้ทุกส่วนรำชกำรมี
ข้อกำหนดในประกำศสอบรำคำ
ประกวดรำคำ ไว้ดว้ ยว่ำ
จะทำสัญญำแบบปรับรำคำได้
และ
ในขั้นตอนทำสัญญำต้องทำสัญญำ
แบบปรับรำคำได้
(ค่ำK)
* กรณีมีปัญหำ ให้หำรือสำนักงบประมำณ
15
สั ญญาจะซื้อจะขาย
ราคาคงทีไ่ ม่ จากัดปริมาณ
เป็ นสัญญาที่ใช้ สาหรั บการซือ้ ขายสิ่งของที่ผูกพันผู้จะขายให้ ขาย
สิ่งของนัน้ ๆ ตามจานวนที่ผ้ ูจะซือ้ สั่งซือ้ เป็ นคราว ๆ ไป โดยมี
ราคาต่ อหน่ วยคงที่ ภายในระยะเวลาที่กาหนดในสัญญา
จ่ ายได้ ไม่ เกินวงเงินที่กาหนดในสัญญา
16
Ex. สัญญาจะซือ้ จะขายราคาคงที่ไม่ จากัดปริมาณ
ส่ วนราชการได้ รับงบประมาณเป็ นค่ าจัดซือ้ วัสดุประกอบอาหารของ
บ้ านพักเด็กและครอบครั ว เนื่องจากจานวนผู้รับการสงเคราะห์ ไม่
แน่ นอนในแต่ ละวัน กรณีนีง้ บประมาณได้ มารวมทัง้ ปี จึงสมควร
จัดหาในครัง้ เดียว เพื่อความโปร่ งใส และเปิ ดโอกาสให้ มีการแข่ งขัน
กันอย่ างเป็ นธรรม หากมีปัญหาในการประมาณการจานวนการจัดซือ้
วัสดุประกอบอาหาร เนื่องจากจานวนผู้รับการสงเคราะห์ ในแต่ ละวัน
ไม่ แน่ นอน ก็ชอบที่จะกาหนดเงื่อนไขการทาสัญญาจะซือ้ จะขายแบบ
ราคาคงที่ไม่ จากัดปริมาณ โดยสามารถทยอยการสั่งซือ้ ตามจานวน
และปริมาณตามความต้ องการใช้ งานในแต่ ละวันได้
17
สัญญาแบบถือราคาเหมารวม
เป็ นสั ญญาทีค่ ู่สัญญาตกลงกันแบบราคาเหมารวมทั้งหมดของงาน
ตามสั ญญา โดยคิดค่ าจ้ างในการดาเนินการตามสั ญญาแบบเหมา
รวมทั้งสั ญญา
กรณีมีปริมาณงานเพิม่ -ลดไปจากรายละเอียดทีก่ าหนดไว้ ใน
สั ญญา คู่สัญญาทั้งสองฝ่ ายจะไม่ อาจใช้ สิทธิเรียกร้ องค่ าใช้ จ่าย
ในส่ วนที่เพิม่ ขึน้ หรือลดลงนั้นได้
18
การจ่ ายเงินล่วงหน้ า
หลัก
ข้ อยกเว้ น
จ่ ายไม่ ได้
มีความจาเป็ นจะต้ องจ่ าย
มีกาหนดเงื่อนไขไว้ ในเอกสารสอบราคา หรื อ
ประกวดราคา ก่ อนการทาสัญญาหรื อข้ อตกลง
จ่ ายได้ เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ ท่ ีกาหนด
19
Ex. การจ่ ายเงินล่ วงหน้ า
• ผู้รับจ้ างมีการเบิกจ่ายเงินล่วงหน้ าไปแล้ ว 15% ต่อมามีการแก้ ไขสัญญา
เพิ่มเติมปริมาณงาน ทาให้ วงเงินในสัญญาเพิ่มขึ ้น ผู้รับจ้ างขอเบิกเงิน
ค่าจ้ างล่วงหน้ า 15% ของวงเงินที่เพิ่มขึ ้น เมื่อไม่ได้ มีการตกลงไว้ ในสัญญาที่
แก้ ไขเพิ่มเติม จึงไม่สามารถจ่ายได้
• ใช้ วิธีอื่นแล้ วไม่ได้ ผลดี จึงได้ ดาเนินการโดยวิธีพิเศษ ในหนังสือเชิญชวนมิได้
กาหนดเงื่อนไขให้ มีการจ่ายเงินล่วงหน้ าไว้ ผู้เสนอราคาได้ มาขอให้ จ่ายเงิน
ล่วงหน้ า 15% ก่อนทาสัญญา จึงเป็ นการกาหนดเงื่อนไขขึ ้นใหม่
20
หลักประกันซอง
1
2
3
21
หลักประกันซอง
4
5
6
22
• เงินสด
• เช็คที่ธนาคารสั่ งจ่ าย
• หนังสื อคา้ ประกัน ธ
• หนังสื อคา้ ประกัน บ
• พันธบัตรรัฐบาล
• หลักประกันที่ใช้ กบั สั ญญา
• หนังสื อคา้ ประกันธนาคาร
ต่ างประเทศ (กรณีประกวด
ราคานานาชาติ)
การใช้ พนั ธบัตรรัฐบาลเป็ นประกัน
1. ผู้ประสงค์ จะใช้ พันธบัตรรั ฐบาลไปจดทะเบียนในการเป็ นหลักประกัน
ที่ ธปท. (กค 0502/38308 ลว. 27 ก.ย. 25)
หรือ
2. ส่ วนราชการมีหนังสือแจ้ ง ธปท. (กค 0507/48405 ลว. 27 ก.ย. 26)
3. ชื่อผู้ถือครองพันธบัตร ไม่ ตรงกับ ชื่อผู้เสนอราคา ต้ องมีหนังสือยินยอม
24
Ex. พันธบัตรเป็ นชื่อบุคคล
โดยหลักการ ผู้ทรงพันธบัตรควรเป็ นในนามของบริ ษัท หรื อห้ าง
หุ้นส่วน หรื อกิจการร่วมค้ า ซึง่ เป็ นผู้เสนอราคาหรื อคู่สญ
ั ญากับ
ทางราชการ ในกรณีที่จะนาพันธบัตรที่เป็ นชื่อของผู้ถือหุ้นรายใหญ่
กรรมการผู้จดั การ หุ้นส่วนผู้จดั การ หุ้นส่วน หรื อเป็ นชื่อบุคคลอื่น และ
บุคคลนันได้
้ มีหนังสือยินยอมให้ นาพันธบัตรมาใช้ เป็ นหลักประกันซอง
หลักประกันสัญญา กับส่วนราชการโดยปราศจากเงื่อนไขใดๆ ก็
สามารถกระทาได้ โดยต้ องไปจดทะเบียน หรื อแจ้ งการวางเป็ น
หลักประกันที่ ธปท.
25
Ex. เช็คบริษัท
เช็คสัง่ จ่ายในนามบริ ษัท ไม่ใช่หลักประกันตามความหมายของ
ระเบียบฯ
Ex. ตั๋วแลกเงิน
ตัว๋ แลกเงิน เป็ นตัว๋ เงินประเภทหนึง่ แต่ระเบียบฯ มิได้ กาหนดให้ ใช้
เป็ นหลักประกันได้ ดังนัน้ ตัว๋ แลกเงินจึงไม่สามารถนามาใช้ เป็ น
หลักประกันได้
26
การนาหลักประกันมากกว่ า 1 อย่ างมารวมกันได้ หรือไม่
กวพ. วินิจฉัย
* ตามระเบียบฯ ข้ อ 141 กาหนดว่ า “หลักประกันซองหรือ
หลักประกันสัญญาให้ ใช้ หลักประกันอย่ างหนึ่งอย่ างใด”
เจตนารมณ์ ตามระเบียบฯ ให้ เลือกหลักประกันอย่ างใดก็ได้
ดังนัน้ หากใช้ หลักประกันตามที่กาหนดไว้ ในข้ อ 141 รวมกัน
ก็ย่อมกระทาได้
27
การนาหลักประกันซองมาใช้ เป็ นหลักประกันสัญญา
ด่ วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 130 ลว 20 ตุลาคม 2549
หลักการ
* ผูเ้ สนอราคานาหลักประกันซองตามระเบียบฯ ข้อ 141 (1)
เงินสด และ (2) เช็คที่ธนาคารเซ็นสังจ่
่ าย เป็ นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็ค
นัน้ หรือก่อนวันนัน้ ไม่เกิน 3 วันทาการ
* ผูเ้ สนอราคารายนัน
้ ได้รบั คัดเลือกเข้าทาสัญญา
* ผูเ้ สนอราคาประสงค์จะนาหลักประกันซองมาใช้เป็ น
หลักประกันสัญญา
28
การนาหลักประกันซองมาใช้ เป็ นหลักประกันสัญญา (ต่ อ)
เงือ่ นไข
วันทาสัญญา ส่วนราชการต้องจัดทาหลักฐานการคืน
หลักประกันซอง และหลักฐานการวางหลักประกันให้
เสร็จภายในวันทาสัญญา โดยคู่สญ
ั ญาต้องนา
หลักประกันซอง
(เพิ่ม-ลด) มาวางให้เท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญา
29
31
ให้ คืนหลักประกันสัญญาโดยเร็วอย่ างช้ าไม่ เกิน 15 วัน นับแต่ วันที่ค่ ูสัญญาพ้ น
จากข้ อผูกพันตามสัญญาแล้ ว
หนังสือที่ นร (กวพ) 1305/ว 8608 ลงวันที่ 5 ต.ค. 44
ไม่ ต้องรอให้ มีการร้ องขอคืนจากคู่สัญญาก่ อน
คู่สัญญาไม่ มารับภายในกาหนด ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อ 144 วรรคท้ าย
พร้ อมกับให้ มีหนังสือรับรองให้ ผ้ ูคา้ ประกันไปด้ วยว่ า หลักประกัน
สัญญาดังกล่ าว หมดระยะเวลาการคา้ ประกันแล้ ว
32
1 ให้ หวั หน้ าหน่ วยงานผู้ครอบครองพัสดุ รับผิดชอบดูแลบารุ งรักษาและตรวจสอบความชารุด
บกพร่ องของพัสดุ
2 ในกรณีท่ ีปรากฎความชารุ ดบกพร่ อง ให้ ผ้ ูมีหน้ าที่ตาม 1. รีบรายงานหัวหน้ าส่ วนราชการเพื่อแจ้ งให้ ผ้ ูขาย
หรื อผู้รับจ้ างแก้ ไขซ่ อมแซมทันที
3
ก่ อนสิน้ สุดระยะเวลาการประกันความชารุ ดบกพร่ อง >ภายใน 15 วัน สาหรับ
หลักประกันอายุไม่ เกิน 6 เดือน >ภายใน 30 วัน สาหรับหลักประกันอายุตัง้ แต่
6 เดือนขึน้ ไปให้ ผ้ ูมีหน้ าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชารุ ดบกพร่ อง
33
ค่ าปรับ
(เบีย้ ปรับ)
เป็ นค่ าเสียหายที่ค่ ูสัญญาได้
ตกลงกันไว้ ล่วงหน้ าไม่ ต้องพิสูจน์ ความ
เสียหาย
ค่ าเสียหาย
เป็ นสิทธิเรี ยกร้ องของคู่สัญญาเมื่อมีความ
เสียหายเกิดขึน้ แล้ ว ต้ องพิสูจน์ ความ
เสียหาย
34
1
2
3
4
5
Ex. ปรับทั้งชุด
กรณีนี ้ ส่วนราชการต้ องพิจารณาให้ เป็ นไปตามเงื่อนไขของสัญญา ซึ่ง
สามารถแยกได้ เป็ น 2 กรณี กล่าวคือ
1. หากบริษัทไม่ได้ สง่ มอบเครื่ องวิเคราะห์แยกสารให้ ถกู ต้ องครบถ้ วน โดยขาดส่ง
ในส่วนของเครื่ องดูดไอแก๊ ส จานวน 2 เครื่ อง บริษัทจะต้ องชาระค่าปรับเป็ นรายวันใน
อัตราร้ อยละ 0.20 ของราคาเครื่ องดูดไอแก๊ สที่ยงั ไม่ได้ รับมอบ ตามเงื่อนไขของสัญญา
ข้ อ 10 วรรคหนึง่
2. หากการซื ้อขายเครื่ องดังกล่าวเป็ นการตกลงซื ้อขายในลักษณะประกอบกัน
เป็ นชุด การที่บริษัทไม่ได้ สง่ มอบเครื่ องดูดไอแก๊ สจะทาให้ เครื่ องวิเคราะห์ฯไม่สามารถ
ใช้ การได้ โดยสมบูรณ์ ให้ ถือว่า ผู้ขายยังไม่ได้ สง่ มอบสิ่งของนันเลย
้
จึงต้ องคิดค่าปรับ
จากราคาสิ่งของเต็มทังชุ
้ ด ตามเงื่อนไขฯ ข้ อ 10 วรรคสอง
36
Ex. ปรับตามราคาของทั้งหมด
ส่วนราชการได้ ทาสัญญาซื ้อขายโครงการส่วนขยายระบบงาน GFMIS เพื่อ
รองรับข้ อมูลของรัฐวิสาหกิจ โดยเงื่อนไขของสัญญากาหนดการส่งมอบงานแบ่งเป็ น
5 งวด ผู้ขายได้ สง่ มอบงานล่าช้ าระหว่างงวด ล่าช้ าไป 3 วัน ส่วนราชการจะสามารถ
ปรับผู้ขายได้ หรื อไม่ ?
กรณีนีเ้ ป็ นการตกลงซื ้อขายและติดตังคอมพิ
้
วเตอร์ อปุ กรณ์การประมวลผล
ให้ พร้ อมที่จะใช้ งานได้ ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ โดยการติดตังเครื
้ ่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ระบบ
เครื อข่ายทังระบบ
้
ฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่และผู้ที่เกี่ยวข้ องทังหมด
้
ซึ่งตามสัญญาข้ อ 6
กาหนดเรื่ องการตรวจรับว่า ถ้ าผู้ขายส่งมอบไม่ตรงตามสัญญา หรื อคุณสมบัติไม่
ถูกต้ อง หรื อใช้ งานได้ ไม่ครบถ้ วน ผู้ซื ้อทรงไว้ ซงึ่ สิทธิที่จะไม่รับคอมพิวเตอร์ นนั ้ และ
ตามสัญญาข้ อ 14 การบอกเลิกสัญญา
37
Ex. ปรับตามราคาของทั้งหมด (ต่ อ)
กาหนดว่า กรณีผ้ ขู ายไม่ติดตังและส่
้
งมอบคอมพิวเตอร์ บางรายการหรื อทังหมด
้
ภายในกาหนดเวลา หรื อส่งมอบไม่ถกู ต้ อง หรื อส่งมอบภายในกาหนดแต่ใช้ งานไม่ได้ ผู้
ซื ้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทังหมดหรื
้
อบางส่วนได้ ย่อมแสดงว่าผู้ซื ้อต้ องการซื ้อและติดตัง้
ทังระบบจนใช้
้
งานได้ และข้ อ 15 กาหนดเรื่ องค่าปรับไว้ วา่ ในกรณีที่คอมพิวเตอร์ ที่ตกลง
ซื ้อขายเป็ นระบบ ถ้ าผู้ขายส่งมอบเพียงบางส่วน หรื อส่งมอบทังหมดแต่
้
ใช้ งานไม่ได้
ถูกต้ องครบถ้ วน ให้ ถือว่ายังไม่ได้ สง่ มอบเลย และคิดค่าปรับจากราคาของทังระบบ
้
กรณีนี ้ คูส่ ญั ญามีเจตนาซื ้อขายและติดตังเพื
้ ่อพร้ อมใช้ งานได้ ทงระบบ
ั้
การคิด
ค่าปรับจึงต้ องถือเอาระยะเวลาสิ ้นสุดของสัญญางวดสุดท้ ายเป็ นเกณฑ์เริ่ มต้ นการปรับ
และเมื่อผู้ขายส่งมอบงานงวดที่ 2 ล่าช้ า แต่หากไม่เกินกาหนดส่งมอบงานทังหมดตาม
้
สัญญา ส่วนราชการก็ไม่อาจปรับผู้ขายได้
38
ตัวอย่ างการคิดค่าปรับ
1. .............กาหนดส่ง 17 ม.ค.
1 ส่ง 14 ม.ค.
1 รับ 20 ม.ค.
แจ้งแก้ไข
2.
2 ส่ง 24 ม.ค.
2 รับ 27 ม.ค.
ปรับ
ลดปรับ
39
ตัวอย่ างการคิดค่ าปรับ (ต่อ)
ข้ อ 71(4) “ถือว่ าผู้ขายหรือผู้รับจ้ างได้ ส่งถูกต้ องตัง้ แต่ วันที่ได้ นาพัสดุมาส่ ง”
......ปรับ
?
วัน
ครบกาหนด 17 ม.ค. ส่ งถูกต้ อง 24 ม.ค. ตามสัญญา
จะต้ องถูกปรับ 18 ม.ค. - 24 ม.ค. = X วัน
*กรรมการล่ าช้ า (เป็ นเหตุพจิ ารณาลดค่ าปรับตามระเบียบฯ ข้ อ 139)
15 ม.ค. – 20 ม.ค. = Y วัน
ผู้ขาย / ผู้รับจ้ าง ถูกปรับ X – Y = ? วัน
40
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (1)
หลัก:
ข้ อยกเว้ น:
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (2)
หัวหน้ าส่ วนราชการ
อานาจอนุมัตแิ ก้ ไข
เปลีย่ นแปลงสั ญญา
ตามสัญญาจ้ าง ข้ อ 16
ต้ องเป็ นงานที่อยู่ในขอบข่ ายทั่วไปแห่ งวัตถุประสงค์ ของ
สัญญาตามที่ได้ ตกลงกันไว้
อัตราค่ าจ้ างหรื อราคาของงานพิเศษ ให้ เป็ นไปตามที่กาหนดไว้
ในสัญญา หากไม่ มีให้ ตกลงกันใหม่
43
Ex. งานพิเศษ
• ผู้รับจ้ างพบน ้าไหลซึมออกจากฐานรากอาคาร เกรงจะส่งผลกระทบต่อการ
รับน ้าหนักของฐานรากอาคารได้ กรณีมิใช่เกิดจากความผิดหรื อความ
บกพร่องของผู้รับจ้ าง และเป็ นเหตุให้ ผ้ รู ับจ้ างต้ องทางานเพิ่มขึ ้น
นอกเหนือจากสัญญาจ้ าง
• การก่อสร้ างถนนพบว่า สายทางมีหินแข็ง ยากแก่การใช้ รถขุกตัก เห็นควรใช้
การระเบิดหิน เป็ นกรณีที่ไม่ได้ คาดหมายไว้ ก่อน จึงไม่ได้ กาหนดค่างานหิน
แข็งไว้ แต่ต้น จึงเป็ นดุลพินิจของผู้วา่ จ้ าง
ที่จะพิจารณาจ่ายเงินค่างานที่เพิ่มขึ ้นตามที่ผ้ รู ับจ้ างร้ องขอได้
44
หัวหน้ าส่ วนราชการ
เหตุเกิดจาก
ความผิด
ความบกพร่ อง
ของราชการ
เหตุเกิดจาก
พฤติการณ์ ที่
คู่สัญญาไม่ ต้อง
รับผิด
เหตุทเี่ กิดจากความผิด หรือความบกพร่ องของ
ส่ วนราชการ ต้ องเป็ นเหตุอุปสรรคทีท่ าให้ ผ้ ูรับจ้ างไม่
สามารถทางานจ้ างนั้นได้ และไม่ ว่าเหตุน้ันจะเป็ นผลมา
จากส่ วนราชการผู้ว่าจ้ างโดยตรง หรือมาจากหน่ วยงาน
อืน่ ที่เกีย่ วข้ องก็ตาม
47
ตามมาตรา 8 แห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เหตุสุดวิสัย หมายถึง “เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึน้ ก็ดี จะให้ ผลพิบัติ
ก็ดี เป็ นเหตุทไี่ ม่ อาจป้องกันได้ แม้ ท้งั บุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้
จะต้ องประสบเหตุน้ัน จะได้ จดั การระมัดระวังตามสมควร อันพึง
คาดหมายได้ จากบุคคลในฐานะและภาวะเช่ นนั้น
48
ตามมาตรา 205 แห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
“ตราบใดการชาระหนีน้ ้ันยังไม่ ได้ กระทาลงเพราะพฤติการณ์ อันใดอันหนึ่ง
ซึ่งลูกหนีไ้ ม่ ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนีย้ งั หาได้ ชื่อว่ าผิดนัดไม่ ”
พฤติการณ์ ทคี่ ู่สัญญาไม่ ต้องรับผิดชอบนั้น จะต้ องเป็ นสิ่ งทีอ่ ยู่นอกเหนือ
การควบคุมของผู้ขายหรือผู้รับจ้ าง และต้ องเกิดขึน้ ก่อนผิดนัดชาระหนี้
ด้ วย
49
มีเหต ุเชื่อได้ว่า ผูร้ บั จ้างไม่สามารถทางานให้แล้วเสรจ
ภายในเวลาที่กาหนด (137 วรรคหนึ่ง)
ไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา/ข้อตกลง และค่าปรับจะเกิน 10 % ของวงเงินทัง้
สัญญา เว้นแต่ จะยินยอมเสียค่าปรับ กให้ผอ่ นปรนได้เท่าที่จาเปน (138)
การตกลงเลิกสัญญาต่อกัน
ทาได้เฉพาะเปนประโยชน์ /หรือเพื่อแก้ไข
ข้อเสียเปรียบของราชการหากปฏิบตั ิ
ตามสัญญา/ข้อตกลงต่อไป
(137 วรรคสอง)
ตามมาตรา 391 แห่ งประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์
“เมื่อคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งได้ ใช้ สิทธิเลิกสั ญญาแล้ ว คู่สัญญาแต่ ละฝ่ าย
จาต้ องให้ อกี ฝ่ ายหนึ่งได้ กลับคืนสู่ ฐานะดัง่ ทีเ่ ป็ นอยู่เดิม
แต่ ท้งั นี้ จะให้ เป็ นทีเ่ สื่ อมเสี ยแก่ สิทธิของบุคคลภายนอกหาได้ ไม่ ”
51
ผู้มหี น้ าทีเ่ สนอความเห็น
ให้ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการ
ตรวจการจ้ าง เป็ นผู้เสนอความเห็นเพือ่ ประกอบ
การพิจารณาของหัวหน้ าส่ วนราชการ
ในการแก้ ไขเปลีย่ นแปลงสั ญญา การงด ลดค่ าปรับ หรือ
การขยายเวลาทาการตามสั ญญา
(หนังสือที่ นร (กวพ) 1305/ว 11948 ลว. 13 ธ.ค. 43)
52
ปัญหาที่พบในการหารื อแนววินิจฉัย การยกเว้น
ผ่อนผัน การไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบฯ ของ กวพ. และ กวพอ.
54
1
ไม่มีการวางแผนการจัดหาไว้ล่วงหน้า
2
Spec. ไม่มีความชัดเจน เป็ นเหตุให้เกิดข้อร้องเรียนทาให้ไม่สามารถดาเนินการ
ต่อไปได้
3
ได้รบั งบประมาณมาแล้วไม่สามารถดาเนินการจัดหาได้เนือ่ งจากหน่วยงานไป
เปลีย่ นแปลงสถานที่ก่อสร้าง
4
การกาหนดรายละเอียดของงานที่ตอ้ งดาเนินการควรกาหนดไว้ต้ งั แต่เริ่มแรก มิใช่กาหนด
รายละเอียดของเนื้ องานเพิม่ เติม ภายหลังจากเนื้ องานตามสัญญาได้ดาเนินการแล้วเสร็จ
การกาหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรือ
งานจ้าง / คุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา หรือ ผูเ้ สนองาน
ต้องกาหนดให้ชดั เจนตามความต้องการของหน่วยงานตั้งแต่เริม่ แรก
ต้องเปิ ดเผย โปร่งใส และเปิ ดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็ นธรรม
ต้องไม่เข้าข้างรายใดรายหนึง่ หรือเข้าข้าง หรือใกล้เคียงยีห่ อ้ ใดยี่หอ้ หนึง่
Ex. โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
ประเด็นปั ญหา
1
2
มีการร่างขอบเขตของงาน (TOR) และร่างเอกสารประกวดราคาที่กาหนดคุณสมบัติ
ทางเทคนิคหลายข้อ เป็ นการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะเพือ่ เอื้ อประโยชน์ให้กบั
ผลิตภัณฑ์เพียงยีห่ อ้ เดียว
มีการกาหนดคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคาเพิม่ เติมจาก TOR ที่ผ่านการวิจารณ์และ
หน่วยงานเห็นชอบแล้ว
Ex. โครงการสารวจและออกแบบสถานที่ก่อสร้างอาคารสานักงาน
ประเด็นปั ญหา
1
กรณีหน่วยงานได้รบั จัดสรรงบประมาณเพือ่ ดาเนินการโครงการ
ดังกล่าวแล้ว แต่ไม่สามารถดาเนินการทาสัญญากับผูร้ บั จ้างต่อไปได้
เนือ่ งจากหน่วยงานได้มีการเปลีย่ นแปลงสถานที่ก่อสร้างจากเดิมที่
ได้กาหนดไว้
กรณีนี้ หน่วยงานควรจะกาหนดรายละเอียดของสถานที่ในการก่อสร้างให้ชดั เจน
ตั้งแต่แรก