Transcript now
Digital Rights Management
การจัดการลิขสิ ทธิดจิ ิทัล
ดร.มหศักดิ์ เกตุฉ่ ำ
Digital Rights Management (DRM)
• หรื อการจัดการสิทธิ ดิจิทัล เป็ นการควบคุมหรื อจากัดการใช้ สื่อดิจิ ทัลบนอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ โดย DRM ประกอบด้ วยส่วนประกอบทางเทคโนโลยีจานวนหนึ่ ง
เช่น การเข้ ารหัส (Encryption), ลายน ้า (Watermarking) และการเพิ่ม
ความปลอดภัย ให้ กั บ เอกสาร PDF เป็ นต้ น นอกจากนี เ้ พื่ อ เป็ นการปกป้ อง
เทคโนโลยี ข องตนเองสู่ ก ารคัด ลอกผลงานอย่ า งผิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ห รื อ ผิ ด กฎหมาย
ผลิตภัณฑ์ ประเภทคอนเทนท์ แบบดัง้ เดิมนัน้ ใช้ วิธีการจัดจาหน่ายโดยบรรจุคอน
เทนท์ลงในบรรจุภณ
ั ฑ์ตา่ งๆ ที่จบั ต้ องได้ (Physical Media) เช่น ตลับเทป
(Cassette Tape) แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี หรื อหนังสือ เป็ นต้ น
Digital Right Management (DRM) มาใช้เพื่อป้ องกัน
การละเมิดลิทสิ ทธิ์บนคอนเทนท์หลายประเภท
• เสียง (Audio) ได้ แก่ เพลงและหนังสือเสียง (Audio Book)
• วิดีโอ (Video) ได้ แก่ ภาพยนตร์ และมิวสิควิดีโอ
• สิ่งพิมพ์ (Publishing) ได้ แก่ หนังสือ เอกสาร และสิง่ พิมพ์อื่นๆ
• เกมคอมพิวเตอร์ (Computer game)
• ซอฟต์แวร์ (Software)
DRM มาใช้เพื่อป้ องกันการละเมิดลิทสิ ทธิ์บนคอนเทนท์หลาย
ประเภท
• เทคโนโลยีการปกป้องลิขสิทธิ์ในคอนเทนท์โดยการใส่ซอฟต์แวร์ DRM ทาให้
ผู้ผลิตสามารถสร้ างกฎ-กติกา (Usage rules) เพื่อควบคุมการใช้ ของผู้บริ โภค
เช่น จานวนครัง้ ที่ผ้ ใู ช้ สามารถทาสาเนาจากไฟล์ต้นฉบับ การเคลื่อนย้ ายไฟล์จาก
เครื่ องคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลไปเครื่ องเล่นชนิดอื่น หรื อ การทาสาเนาเพื่อป้องกัน
การสูญหายลง Hard-drive เป็ นต้ น ซึง่ การตังกฎดั
้ งกล่าวทาให้ เกิดแบบจาลอง
ธุรกิจใหม่ขึ ้นมา โดยทัว่ ไปแบบจาลองธุรกิจของ คอนเทนท์ ที่มีเทคโนโลยี DRM
แบ่งออกได้ หลายแบบ เช่น
DRM มาใช้เพื่อป้ องกันการละเมิดลิทสิ ทธิ์บนคอนเทนท์หลาย
ประเภท
• Paid download โดยลูกค้ าต้ องชาระเงินทุกครัง้ เมื่อมีการดาวน์โหลดคอน
เทนท์ไปใช้ ซึง่ วิธีนี ้เหมาะสมสาหรับคอนเทนท์ที่มีราคาสูง
• Subscriptionก า ร บ อ ก รั บ ส ม า ชิ ก มี พื น้ ฐ า น ที่ ซั บ ซ้ อ น ก ว่ า วิ ธี Paid
download ซึง่ การบอกรับสมาชิกเป็ นผลดีต่อทัง้ Content provider
และผู้ใช้ โดยผลดีต่อ Content provider ช่วยให้ สามารถประมาณรายได้
ของตนเองได้ สาหรับผู้ใช้ ที่เป็ นสมาชิกสามารถใช้ คอนเทนท์ได้ สะดวกขึน้ แต่ปัญหา
ที่ ส าคัญ ของวิ ธี ก ารบอกรั บ สมาชิ ก คื อ เทคโนโลยี ก ารบัง คับ ใช้ สิ ท ธิ ยั ง ไม่ มี
ประสิทธิภาพเพียงพอ
DRM มาใช้เพื่อป้ องกันการละเมิดลิทสิ ทธิ์บนคอนเทนท์หลาย
ประเภท
• Pay-per-view และ Pay-per-listen แบบจาลองธุรกิจนี ้เหมาะสาหรับคอนเทนท์
ประเภท Video หรื ออาจเรี ยกว่า Video on demand ซึง่ การให้ บริ การประเภทนี ้
เป็ นคอนเทนท์ที่มีความอ่อนไหวต่อเวลา และเมื่อเวลาผ่านไปคอนเทนท์จะมีมลู ค่าลดลง
• Usage metering คือการเรี ยกเก็บเงินจากลูกค้ าโดยวัดจากคอนเทนท์ที่ลกู ค้ าใช้ ไป
ซึง่ วิธีนี ้เหมาะสาหรับกลุม่ คนที่มีรายได้ น้อย เพราะสามารถควบคุมการใช้ และจานวนเงินที่
ต้ องชาระได้ โดย DRM สามารถบันทึกการใช้ คอนเทนท์ของลูกค้ าและส่งรายงานไปยัง
Content provider นอกจากนี ้ Usage metering ยังสามารถรวบรวมหรื อ
ศึกษาแบบแผนหรื อวิธีการใช้ คอนเทนท์ที่ลกู ค้ าพึงพอใจได้
DRM มาใช้เพื่อป้ องกันการละเมิดลิทสิ ทธิ์บนคอนเทนท์หลาย
ประเภท
• Peer-to-peer และ Super distribution เครื อข่าย P2P สามารถ
ส่ ง ผ่ า น ข้ อ มู ล ไ ป ต า ม ห่ ว ง โ ซ่ ผู้ ใ ช้ ภ า ย ใ น เ ค รื อ ข่ า ย ส า ห รั บ Super
distribution เป็ นกระบวนการซึง่ คอนเทนท์ถกู จัดจาหน่ายไปตามห่วงโซ่ ผ้ ใู ช้
โดยผู้ใช้ ทกุ คนในห่วงโซ่มีบทบาทเป็ นผู้จดั จาหน่าย ซึง่ การใช้ เทคโนโลยี DRM ใน
เครื อข่าย P2P หรื อ Super distribution ทาให้ สามารถจัดจาหน่ายคอน
เทนท์ได้ อย่างรวดเร็ ว โดย Content provider จะสามารถค้ นพบกลุม่ ผู้ใช้ ที่
กว้ างขึน้ ด้ วยการลงทุนเพียงเล็กน้ อย ขณะที่ผ้ ูใช้ ได้ รับคอนเทนท์ ส ามารถเข้ าถึง
ฐานข้ อมูลขนาดใหญ่ได้
การจัดการสิ ทธิดิจิทัล (Digital Rights Management)
DRM หรื อการจัดการสิทธิดิจิทลั (Digital Rights Management) เป็ นวิธี
ควบคุมการเข้ าถึงสื่อดิจิทลั ซึง่ มีผ้ ใู ห้ ความหมาย หรื อคาจากัดความของ DRMไว้ หลากหลาย
ด้ วยกันเช่น
• Digital Rights Management หรื อ การจัดการสิทธิดิจิทลั เป็ นเทคโนโลยีที่ สร้ าง
เงื่อนไขบางอย่างเกี่ยวกับวิธีการของผลิตภัณฑ์ดิจิทลั ซึ่งสามารถนามาใช้ และแบ่งปั นกันได้
DRMถู ก ตัง้ ขึ น้ อย่ า งเป็ นระบบในการป้ องกั น ของการท างานดิ จิ ทั ล ดัง นั น้ Digital
Rights Management (DRM) คือระบบที่สร้ างขึ ้นหรื อได้ รับออกแบบมาเพื่ อ
ป้องกันการทาสาเนาที่ไม่ได้ รับอนุญาต และการเผยแพร่ ที่ผิดกฎหมายของผลิต ภัณฑ์ดิจิทลั ที่
มีลขิ สิทธิ์ (Maji, 2009)
การจัดการสิ ทธิดิจิทัล (Digital Rights Management)
• การจัดการสิทธิดิจิทลั (DRM)คือการควบคุมการเข้ าถึง การติดตาม และขีดจากัด
ของการใช้ ประโยชน์จากการทางานแบบดิจิทลั การควบคุมเหล่านี ้ฝั งอยู่ ในรู ปแบบ
ปกติในการทางาน และติดตามเมื่อมีการกระจายไปยังผู้บริ โภค ระบบ DRM มี
เจตนาจะทางานหลังจากผู้ใช้ ได้ เข้ าถึงงาน
(American Library Association, 2011)
การจัดการสิ ทธิดิจิทัล (Digital Rights Management)
• DRM ย่อมาจาก “การจัดการสิทธิดิจิทลั ” DRM หมายถึงคอลเล็กชันของระบบ
ที่ใช้ ในการปกป้องทรัพย์สินทางปั ญญาของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมถึ งเพลงดิจิทัล
และภาพยนตร์ เช่นเดียวกับข้ อมูลอื่น ๆ ที่ถูกจัดเก็บและถ่ายโอนในรู ปแบบดิจิทลั
ตัวอย่างเช่นร้ าน Apple iTunes Music ใช้ ระบบ DRM เพื่อจากัดจานวน
ของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเล่นเพลงได้ แต่ละไฟล์เสียงที่ดาวน์โหลดมาจากที่เก็บ
เพลง iTunes ประกอบด้ วยข้ อมูลเกี่ยวกับเจ้ าของไฟล์ และวิธีการหลายครัง้ ที่ไฟล์
ได้ รับการถ่ายโอน ไฟล์ที่ได้ รับการป้องกันจะไม่เล่นบนเครื่ องคอมพิ วเตอร์ ที่ยงั ไม่ได้
รับอนุญาตให้ เล่นเพลง (Techterms.com, 2011)
ความหมายของ Digital Rights Management
• DRMในความหายอย่ า งแคบ หมายถึ ง การปกป้ องคุ้ มครองข้ อมู ล ดิ จิ ทั ล
(protection of digital content) ให้ ปลอดภัยจากการเข้ าถึง
(access control) หรื อทาซ ้า (copy control) โดยไม่ได้ รับอนุญาตจาก
เจ้ าของลิขสิทธิ์ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวอาจจาเป็ นต้ องพึ่งพาเทคโนโลยี เช่น ใส่
encryption ในไฟล์ข้อมูลที่ต้องการคุ้มครอง และอนุญาตให้ ผ้ ใู ช้ เข้ าถึงข้ อมูลก็
ต่อเมื่อระบบได้ ตรวจสอบตัวตน (identity) ของผู้ใช้ และตรวจสอบสิทธิในการ
เข้ าถึงไฟล์นนั ้ เสียก่อน (authenticated) การคุ้มครองไฟล์ข้อมูลด้ วยวิธีนี ้
ค่อนข้ างมีความปลอดภัย เนื่องจาก DRM จะติดอยูก่ บั ไฟล์ดิจิทลั ไม่วา่ ไฟล์ข้อมูล
นันจะมี
้ การถ่ายโอนไปที่ใด การปกป้องคุ้มครองไฟล์ดิจิทลั
การปกป้ องคุม้ ครองไฟล์ดิจิทลั มีองค์ประกอบทางเทคนิคดังนี้
• Packagers จะทาการรวบรวมข้ อมูล และ metadata ให้ อยู่ในรูปของไฟล์ที่ปลอดภัย
(secure file) ซึง่ บางครัง้ จะถูกเรี ยกว่า packages หรื อ envelopes
• Controllers จะอาศัยอยู่บนอุปกรณ์ของผู้ใช้ เช่น เรื่ องคอมพิวเตอร์ (PC) เรื่ องเล่นเพลง
(music players) เครื่ องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book readers) เป็ นต้ น
เมื่อผู้ใช้ ร้องขอให้ มีการส่งไฟล์มายังเครื่ องของตน controllers จะทาหน้ าที่ตรวจสอบ
ตัวตน (identity) ของอุปกร์ ของผู้ใช้ และตัวผู้ใช้ เอง รวมทังตรวจสอบลั
้
กษณะของการ
เรี ยกไฟล์ จากนันจะท
้
าการถอดรหัสข้ อมูลไฟล์ (decrypt) และเปิ ดให้ มีการเข้ าถึงไฟล์
controllers บางตัวอาจทาหน้ าที่เรี ยกเก็บค่าธรรมเนียมการใช้ งานของไฟล์ข้อมูลนันด้
้ วย
การปกป้ องคุม้ ครองไฟล์ดิจิทลั มีองค์ประกอบทางเทคนิคดังนี้
• License servers ระบบป้องกันแบบใหม่ในปั จจุบนั มักจะมีการติดตัง้ license
servers ด้ วย ซึง่ ระบบนี ้จะมีการเข้ ารหัส licenses ซึง่ บางครัง้ เรี ยกว่า tickets หรื อ
vouchers ซึง่ จะบ่งบอกถึงสิทธิในคอนเทนท์, ตัวตนของผู้ใช้ และ อุปกรณ์ หรื อเครื่ องมือที่
จะสามารถอ่า นคอนเทนท์ นัน้ ได้ รวมทัง้ จะมี ก ารบอกเงื่ อนไขของการใช้ ค อนเทนอท์ ด้ วย
อย่ า งไรก็ ต าม DRMหลายประเภท ก็ ติ ด อยู่กับ ตัว แฟ้ มข้ อ มูล เลยโดยไม่ จ าเป็ นต้ องมี
encrypted license servers
ความหมายของ Digital Rights Management (ต่ อ)
• จะเห็นได้ ว่า DRM ในความหมายอย่างแคบก็คือการทาหน้ าที่เป็ นเครื่ องมือควบคุมการ
เข้ าถึง และการทาซ ้า (access control and copy control) ข้ อมูลดิจิทลั เท่านัน้
แต่ DRM ในความหมายอย่างกว้ าง รวมถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่สามารถบริ หารจัดการและ
ติดตามการใช้ digital content ได้ ซึง่ มุ่งเน้ นใน “การบริ หารจัดการสิทธิ ” ใน digital
content มากกว่า โดย DRM ในความหายอย่างกว้ างจะเกี่ยวข้ องกับ
• (1) สิทธิที่เจ้ าของ content พึงมี (business rights) เช่น สิทธิของผู้เขียนบทความที่
จะอนุญาตให้ นาบทความไปตีพิมพ์ หรื อไม่ หรื อ สิทธิ ของนักแต่งเพลง ที่ จะอนุ ญาตให้ นา
ผลงานไปทาเป็ นสิ่งบันทึกเสียงหรื อไม่ ซึ่งการอนุญาตให้ มีการใช้ ผลงานในลัก ษณะดังกล่าว
ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้ องกับการจ่ายค่าธรรมเนียม (royalties) ด้ วย
ความหมายของ Digital Rights Management (ต่ อ)
• (2) เทคโนโลยีติดตามการเข้ าถึง content (access tracking) การมี
ความสามารถที่จะติดตามได้ วา่ มีผ้ เู ข้ าถึง digital content ชิ ้นหนึง่ ๆ มากน้ อย
เพียงใดนัน้ มีความสาคัญอย่างยิ่งแก่ผ้ ใู ห้ บริ การ content ไม่วา่ จะมีการเก็บ
ค่าธรรมเนียมก่อนที่จะเข้ าสู่ content หรื อไม่ก็ตาม และ
• (3) การอนุญาตให้ ใช้ สิทธิ (rights licensing) ผู้ให้ บริ การข้ อมูลอาจกาหนด
ขอบเขตของการอนุญาตให้ ผ้ อู ื่นนาเอางานของตนไปใช้ โดยกาหนดไว้ ภายใต้
หนังสือสัญญา เป็ นต้ น
หลักการทางานของการจัดการสิ ทธิดิจิทลั
• ในยุคต้ นของการพัฒนาการจัดการสิทธิดิจิทลั DRM นัน้ จะเน้ นในการพัฒนา
เพียงเพื่อควบคุมการทาสาเนาสื่อดิจิทลั เท่านัน้ แต่เนื่องจากรู ปแบบการใช้ งานของ
สื่ อ ดิ จิ ทัล ที่ มี ค วามหลากหลาย และมี ค วามทัน สมัย มากยิ่ ง ขึน้ จึง ท าให้ เ กิ ด การ
พัฒนา DRM ในรู ปแบบใหม่ๆ ขึ ้นมา โดยมุ่งเน้ นในการควบคุมการเปิ ดใช้ งาน
การทาสาเนา การพิมพ์ การแก้ ไข ตลอดจนการทางานอื่นๆ DRM จะใช้ หลักการ
ของการเข้ ารหัสไฟล์ โดยจะให้ ใบอนุญาตในการใช้ ไฟล์กบั ผู้ที่ได้ รับอนุ ญาตเท่านัน้
โดยการอนุญาตอาจให้ ครัง้ ต่อครัง้ โดยสามารถกาหนดเงื่อนไขต่างๆ เช่น การทาซ ้า
หรื อเงื่อนไขอื่นๆได้
หลักการทางานของระบบ DRM นั้น สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ส่ วน
หลัก ได้แก่
• การสร้ างสื่อดิจิทลั ที่มีการผนวกข้ อมูลลิขสิทธิ์เข้ าไว้ ด้วยกัน
• การควบคุมการเผยแพร่สื่อดิจิทลั
• การควบคุมการใช้ งานสื่อดิจิทลั ของผู้ใช้
ในระบบของการท างานทัง้ 3ส่ว นนี จ้ าเป็ นต้ อ งทราบถึง ข้ อ มูล ผู้ ใช้ ข้ อ มูล
เนื ้อหา ข้ อมูลสิทธิ์การใช้ และความสัมพันธ์ของข้ อมูลเหล่านัน้ เพื่อให้ เกิดการทางาน
ในทัง้ 3 ส่วน เช่นเมื่อมีการดาวน์โหลดเพลงผ่านทางอินเทอร์ เน็ต ระบบจะต้ องทราบ
ข้ อมูลของผู้ใช้ วา่ มีสิทธิ์ในการดาวน์โหลดข้ อมูลเนื ้อหานันหรื
้ อไม่ และมีสิทธิ์ในการใช้
งานอะไรได้ บ้าง เช่น สามารถทาสาเนาหรื อส่งต่อไปใช้ ร่วมกับอุปกรณ์อื่นได้ หรื อไม่
รูปแบบการใช้ DRM ในการจัดการสิ ทธิประโยชน์ ของข้ อมูลดิจิทัล
ประเภทต่ างๆ
• ในการบริ หารจัดการ digital content ขึ ้นอยู่กบั ปั จจัยหลายประการ
ได้ แก่ แบบจาลองทางธุรกิจ (business model), ตัวเทคโนโลยีเอง
(technologies) รวมทัง้ มาตรฐาน (standards) โดยคอนเทนท์
แต่ละประเภทมีการวิธีจัดจาหน่าย วิธีการควบคุมการใช้ คอนเทนท์ และ
วิธีการบริ หารจัดการสิทธิในคอนเทนท์ที่แตกต่างกันไป เช่น
อุตสาหกรรมดนตรี (Music)
• การจัดจาหน่ายทางออฟไลน์ หรื อการจัดจาหน่ายโดยมีบรรจุภณ
ั ฑ์ ดังเช่นตัวอย่างของบริษัท
Sony BMG Music Entertainment ได้ ป้องกันการทาซ ้าจาก Audio CD ของ
บริษัท โดยการใส่ rootkit ลงในแผ่นซีดี เมื่อแผ่นซีดีถกู เล่นบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ จะทาให้
ซอฟต์แวร์ ป้องกันการทาซ ้าถูกติดตังโดยอั
้
ตโนมัติ และเมื่อผู้ใช้ พยายามเล่นซีดีแผ่นดังกล่าว
จะทาให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ โดนโจมตีจากไวรัส เวอร์ ม หรื อ เมลล์แวร์ รูปแบบอื่น ซึง่ ความ
พยายามป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วยวิธีดงั กล่าว มีแรงจูงใจมาจากการที่มีผ้ ทู าสาเนาซีดี
ด้ วยเครื่ องเขียนแผ่นซีดี (CD Burner) บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นจานวนมาก อย่างไรก็
ตาม เทคโนโลยีประเภทนี ้ได้ รับการโจมตีเป็ นอย่างมากจากผู้ใช้ เนื่องจากทาให้ เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ ได้ รับความเสียหาย
อุตสาหกรรมดนตรี (Music)
• การจัดจาหน่ายทางออนไลน์ การจัดจาหน่ายรูปแบบนี ้ได้ รับความนิยมเพิ่มขึ ้น โดย
ในปี 2006 มียอดขายเพลงทางออนไลน์เพิ่มขึ ้นจากปี 2005 ร้ อยละ 5.5 ซึง่ คิดเป็ น
ยอดขายเพลงดิจิตอลมูลค่า 2 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐฯ ในปี 2006 และมีแนวโน้ มเพิ่ม
สูงขึ ้น โดยช่องทางการจัดจาหน่ายแบ่งออกเป็ น
การจัดจาหน่ายทางออนไลน์
• บริ การดาวน์โหลด (Download Services) เป็ นการขายเพลงรูปแบบดิจิตอล โดยขาย
เป็ นรายเพลง โดยเพลงที่ขายผ่านระบบนี ้จะถูกใส่ซอฟต์แวร์ DRM เพื่อป้องกันการเข้ าถึง
การทาซ ้า และเผยแพร่ตอ่ โดยละเมิดลิขสิทธิ์ โดย DRMมีลกั ษณะเป็ นการควบคุมพฤติกรรม
ของผู้ใช้ เช่น จานวนและประเภทของเครื่ องเล่นที่สามารถนามาเล่นเพลงที่ถูกดาวน์ โหลด
จานวนครัง้ ของการบันทึกไฟล์เพลงลงบนแผ่นซีดีในกรณีที่สามารถบันทึกไฟล์ดังกล่าวได้ หรื อ
ความเป็ นไปได้ ในการถ่ายโอนไฟล์ จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไปสู่เครื่ องเล่นแบบพกพา เช่น
เครื่ องเล่น MP3 หรื อโทรศัพท์ มือถื อ ตัวอย่างการให้ บริ การรู ปแบบนี ้ คือ iTune-iPod
ของบริ ษัท Apple โดยเพลงที่ดาวน์โหลดจาก iTune Music Store สามารถเล่นได้
เฉพาะบนเครื่ อง iPod เท่านัน้ เพราะ Apple ได้ ใช้ เทคโนโลยี FairPlay เพื่อป้องกันการ
ละเมิดลิขสิทธิ์
การจัดจาหน่ายทางออนไลน์ (ต่อ)
• การบอกรับสมาชิก (Subscription Service) การบริ การประเภทนี ้แตกต่าง
จากบริ การดาวน์ โหลด โดยผู้ใช้ ต้องช าระค่าธรรมเนี ยมรายเดือนถึงสามารถใช้
บริ การได้ โดยคอนเทนท์จะถูกส่งให้ ผ้ ใู ช้ ในรูปแบบ Stream online จากคลัง
เพลง (Music Library) ดังนันการเข้
้
าถึงของสมาชิกต้ องอยู่ในขณะที่เชื่อมต่อ
อินเตอร์ เน็ต โดยทัว่ ไปแล้ วการให้ บริ การประเภทนี ้ต้ องการให้ สมาชิกเพียงแต่เข้ าถึง
(Access) เพลง แต่ไม่ใช่ซื ้อเพื่อเป็ นเจ้ าของเพลง (Ownership) ดังนัน้
สมาชิกสามารถเข้ าถึงเพลงโดยการดาวน์ โหลดมาฟั งได้ แต่ไม่สามารถทาสาเนา
หรื อถ่ายโอนเพลงจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ลงบนเครื่ องเล่นประเภทอื่นได้ น อกจากจะ
มีการชาระเงินเพิ่มเติม ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั ผู้ให้ บริ การ
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ (Film)
• อุตสาหกรรมภาพยนตร์ เป็ นอีกอุตสาหกรรมหนึ่งที่ได้ รับผลกระทบจากปั ญ หาการ
ละเมิดลิขสิทธิ์อย่างมากเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมเพลง ในอดีต เครื่ องเล่นวิดีโอ เคย
ถูก มองเป็ นภัย คุก คามส าหรั บ อุต สาหกรรมภาพยนตร์ อย่ า งไรก็ ต าม ปั จ จุ บัน
อุปกรณ์ดงั กล่าวได้ พิสจู น์แล้ วว่าเป็ นลู่ทางในการเผยแพร่ ภาพยนตร์ ต่อจากโรงฉาย
ภาพยนตร์ ซึ่งรายได้ จากการให้ เช่าและรายได้ จากการขายภาพยนตร์ ในรู ปแบบ
CD และ DVD ได้ สร้ างรายได้ อย่างมหาศาล
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ (Film) (ต่ อ)
• ทาให้ อตุ สาหกรรมภาพยนตร์ จาเป็ นต้ องหาวิธีการเพื่อปกป้องลิขสิทธ์ ของตนเอง
ด้ วยวิธีตา่ งๆ ทังการจั
้
ดจาหน่ายผ่านช่องทางออฟไลน์และออนไลน์ การจัดจาหน่าย
ผ่านช่องทางออฟไลน์ หรื อการจัดจาหน่ายผ่านบรรจุภณ
ั ฑ์ที่มี DRM แบ่งออกเป็ น
2 วิธีหลัก ได้ แก่
1. การจัดจาหน่าย DVD ภาพยนตร์ ที่มีระบบป้องกันแบบ CSS4 (Content
Scrambling System)
2. การจัดจาหน่าย DVD ภาพยนตร์ ที่มีระบบป้องกันแบบ AACS5
(Advanced Access Content System)
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ (Film) (ต่ อ)
• การจัดจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ ซึง่ เป็ นการจัดจาหน่ายคอนเทนท์ในรู ปแบบดิ จิตอล โดยมี
วิธีการจัดจาหน่ายดังนี ้
• การดาวน์โหลดภาพยนตร์ ทางออนไลน์เช่น Movielink.com ซึง่ เป็ นความร่ วมมือระหว่าง
บริ ษัท MGM Studios Paramount Pictures Sony Pictures Universal
และ Warner Bros. ให้ บริ การแก่ลกู ค้ าซึง่ ใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับอินเทอร์ เน็ต
ความเร็ วสูง ซึง่ การบริ การของ Movielink ใช้ วิธีอนุญาตให้ ผ้ ใู ช้ เข้ าถึง คอนเทนท์ ภาพยนตร์
ได้ ชวั่ คราว โดยจะให้ บริ การในช่วงเวลาเดียวกับที่ภาพยนตร์ ดงั กล่าวได้ จดั จาหน่ ายไปยังร้ านเช่า
ภาพยนตร์ โดยผู้ใช้ สามารถดาวน์โหลดภาพยนตร์ ลงใน Hard-drive ของตนได้ แต่จะมีอายุ
เพียง 24 ชั่วโมงเท่านัน้ หลังจากที่ได้ รับการเปิ ดชมครัง้ แรกแล้ ว โดยภายใน 24 ชัว่ โมงนี ้ผู้ใช้ จะ
สามารถเปิ ดรั บชมภาพยนตร์ กี่ครั ง้ ก็ได้ ในขณะเดียวกันผู้ใช้ มีระยะเวลา 30 วันในการเข้ าถึง
ภาพยนตร์ ที่ดาวน์โหลดมา เมื่อสิ ้นสุดเวลาที่ได้ รับอนุญาต คอนเทนท์ ดังกล่าวจะถูกลบออกจาก
Hard-drive
อุตสาหกรรมโทรทัศน์ (TV)
• การจัดจาหน่าย คอนเทนท์ ของอุตสาหกรรมโทรทัศน์ แบบดังเดิ
้ มมีรายได้ จาก 2
ช่องทาง คือ รายได้ จากการโฆษณาสาหรับการให้ บริ การโทรทัศน์แบบทัว่ ไป และ
รายได้ จากการบอกรับสมาชิกสาหรับผู้ให้ บริ การเคเบิลทีวี ซึ่งในอดี ตการใช้ ระบบ
สัญญาณเป็ นแบบ Analog ซึง่ เป็ นระบบสัญญาณที่เหมาะสาหรับอยู่กับที่ ดังนัน้
ช่องทางการจัดจาหน่าย คอนเทนท์ จึงกาจัดอยูใ่ นเฉพาะโทรทัศน์เท่านัน้
อุตสาหกรรมโทรทัศน์ (TV)(ต่ อ)
• ในปั จจุบนั มีการใช้ ระบบสัญญาณแบบดิจิตอล ซึ่งสามารถให้ บริ การแบบเคลื่อนที่
ได้ เช่น ให้ บริ การรายการโทรทัศน์บนโทรศัพท์มือถือ หรื ออุปกรณ์พกพาที่สามารถ
รั บสัญญาณได้ และยังสามารถเลือกชมรายการโดยตัดโฆษณาออกไป โดยผู้ที่
ต้ องการรับสัญญาณโทรทัศน์ระบบดิจิตอลสามารถรับได้ จากโทรทัศน์แบบดิจิตอล
โดยตรง (Digital TV) หรื อ ติดตังอุ
้ ปกรณ์รับสัญญาณ (Set-Top-Box)
อุตสาหกรรมโทรทัศน์ (TV)(ต่ อ)
• Personal Video Recorder (PVR) หรื อ Digital Video Recorder
(DVR) ซึง่ ผู้ใช้ สามารถบันทึกสัญญาณโทรทัศน์แบบดิจิตอลลงบนหน่วยความจา HardDisk ได้ โดยผู้ใช้ สามารถเลือกบันทึกเฉพาะเนื ้อหารายการโดยสามารถตัดโฆษณาออกได้
สาหรับคุณภาพที่ได้ มีความคมชัดมากกว่าการบันทึกรายการโทรทัศน์ ลงบนตลับ เทปวิดีโอ
(Video Cassette Recorder) โดยเทคโนโลยี DRM ที่นามาใช้ กบั ช่องทางจัด
จาหน่ายนีค้ ือ ควบคุมการถ่ายโอนรายการโทรทัศน์ ลงบนอุปกรณ์ พกพา และควบคุม การ
บันทึกรายการโทรทัศน์ลงบนหน่วยความจา สาหรับผู้ที่ต้องการใช้ บริ การประเภทนี ้ต้ องสมัคร
เป็ นสมาชิก
อุตสาหกรรมโทรทัศน์ (TV)(ต่ อ)
• Internet Protocol Television (IPTV) หรื อโทรทัศน์บนอินเตอร์ เน็ต
ซึง่ เป็ นการบริ การดิจิตอลทีวีโดยส่งผ่าน Internet Protocol (IP) โดยส่ง
ข้ อมูลผ่านการเชื่อมต่อกับอินเตอร์ เน็ต Broadband และสามารถเชื่อมต่อกับ
อุปกรณ์อื่นภายในครัวเรื อนได้ โดยผ่าน Set-Top-Box และสัญญาณที่เชื่อม
ต่อไปยังอุปกรณ์ประเภทอื่นจะถูกควบคุมด้ วยเทคโนโลยี DRM เพื่อปกป้อง คอน
เทนท์ ที่ถูกส่งต่อไปยังอุปกรณ์อื่นภายในบ้ าน สาหรับในอนาคตการพั ฒนา SetTop-Box อาจเป็ นเหมือน Server ที่สามารถส่งงานผ่านอุปกรณ์กต่างๆ
ภายในครัวเรื อน
อุตสาหกรรมสิ่ งพิมพ์ (Publishing)
• สาหรับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ไม่ค่อยได้ รับผลกระทบจากการใช้ อินเตอร์ เน็ตมากนัก
เนื่ องจากคนส่วนใหญ่ ยังมีพฤติกรรมอ่านหนังสือที่เป็ นรู ปเล่ม ดัง นัน้ การตีพิมพ์
หนังสือในรูปแบบดิจิตอล เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ หรื อ E-book อาจมีปัญหา
ละเมิดลิขสิทธิ์อยูบ่ ้ าง แต่ไม่รุนแรงเท่าคอนเทนท์ประเภทอื่น
อุตสาหกรรมสิ่ งพิมพ์ (Publishing) (ต่ อ)
• การใช้ เทคโนโลยี DRM บน E-book ส่วนใหญ่เพื่อป้องกันการทาสาเนาและ
แจกจ่ายโดยไม่ได้ รับอนุญาต สาหรับการจัดจาหน่าย E-book แบ่งออกเป็ น 2 วิธี
คือ จัดจาหน่ายทางอินเตอร์ เน็ต และจัดจาหน่ายโดยผ่านบรรจุภณ
ั ฑ์ เช่น แผ่นซีดี
โดยผู้ให้ บริ การ E-book ใช้ วิธี Encryption สาหรับจัดจาหน่ายทาง
อินเตอร์ เน็ตและแผ่นซีดี ซึง่ ผู้ที่ต้องการเข้ าถึง E-book ต้ องสมัครสมาชิกเพื่อรับ
รหัส Decryption เพื่อนาไป Decrypt และสามารถอ่าน E-book ได้
เทคโนโลยี DRM (DRM Technology)
1. กำรเข้ ำรหัส (Encryption)
2. Watermarking
3. กำรเพิ่มควำมปลอดภัยให้ กับเอกสำร PDF
การเข้ ารหัส (Encryption)
• หมายถึง วิธีการที่ทาการเปลี่ยนแปลงข้ อมูลเพื่อไม่ให้ สามารถแปลความได้ จาก
บุ ค คลที่ ไ ม่ ต้ องการให้ บุ ค คลนั น้ สามารถเข้ าใจข้ อมู ล Widebase.net
(2011) ได้ ให้ อธิบายว่า Encryption เป็ นการแปลงข้ อมูลเป็ นรู ปแบบที่
เรี ยกว่า Cipher text ซึ่งจะไม่สามารถเข้ าใจได้ ง่ายโดยบุคคลที่ไม่มี อานาจ
Decryption เป็ นกระบวนการของการแปลงข้ อมูล Encryption กลับไป
เป็ นรูปแบบดังเดิ
้ มที่สามารถอ่านเข้ าใจได้
Watermarking
• ลายน า้ (Watermarking) เป็ นภาพที่ ป รากฏบนกระดาษหรื อ บนเอกสาร
บางอย่างเพื่อป้องกันการปลอมแปลง ลายน ้าถูกออกแบบมาเพื่อให้ ปรากฏเฉพาะ
เมื่อกระดาษที่จะจัดขึ ้นที่มมุ ที่เจาะจงหรื อพื ้นหลังสีดา มาตรฐานของกระดาษมักจะ
ไม่รวมถึงลายน ้า การทาเป็ นลายน ้าจะเป็ นการผลักค่าใช้ จ่ายของกระดาษที่เพิ่มขึ ้น
เอกสารศิลปะใช้ ลายนา้ เพื่อระบุผ้ ูผลิต และบริ ษัท เช่นธนาคารมักใช้ กระดาษที่ใส่
ลายน ้าดิจิทลั เป็ นพิเศษ เพื่อรักษาความปลอดภัย (Smith, 2012)
ลายน้ าดิจิทลั (Digital Watermarking)
• หมายถึ ง บางสิ่ ง บางอย่ า ง เช่ น ข้ อความ หรื อ ภาพที่ จ ะถู ก จั ด เก็ บ ด้ ว ยระ บบ
อิเล็กทรอนิกส์ ในทางตรงกันข้ าม ข้ อความหรื อข้ อมูลที่อยู่ในรู ปแบบที่เป็ นรู ปธรรม
อย่ า งเช่ น ชิ น้ ส่ว นของกระดาษ ลายน า้ ในโลกของการพิ ม พ์ แ ล้ ว ลายน า้ ดิ จิ ทัล
หมายถึง เครื่ องหมายที่โปร่ งแสงรวมอยู่ในกระดาษในการระบุผ้ ผู ลิตและ หรื อเป็ น
เครื่ องหมายของความถูกต้ อง และเพื่อป้องกันการปลอมในกรณีของเงินตรา ลายน ้า
ดิจิทลั คือ การรวมกันของเครื่ องหมายที่คล้ ายคลึงกับไฟล์ดิจิทลั
(Elizabeth, 2012)
Watermarking (ต่ อ)
• ลายน ้า คือการทาสัญลักษณ์บางอย่างลงบนตัวกระดาษหรื อลงบนตัวเอกสารเพื่อ
ป้องกันการปลอมแปลง คัดลอก เพื่อรักษาความปลอดภัยเอกสาร ปั จจุบนั ลายน ้า
ได้ มีการพัฒนาไปเป็ นในรู ปแบบของลายนา้ ดิจิทลั คือ เอกสาร ข้ อความ รู ปภาพ
หรื อเสียง ที่จะถูกจัดเก็บด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ มีคณ
ุ สมบัติในการป้องกันการ
ปลอมแปลงเอกสารและยังสามารถแสดงสิทธิความเป็ นเจ้ าของในข้ อมูลที่ผ่า นการ
ลงลายน ้า ทาโดยใช้ เทคโนโลยีในการการฝั งตัว (Embed) และจะปรากฏใน
รูปแบบของเครื่ องหมาย สัญลักษณ์ อักษร หรื อข้ อมูลสาคัญอื่นๆ ของผู้ผลิตลงไปใน
ตัวของกระดาษ
วัตถุประสงค์ของการใส่ ลายน้ า
• สาหรับการบันทึกเจ้ าของลิขสิทธิ์
• สาหรับการบันทึกการจัดจาหน่าย
• สาหรับการบันทึกช่องทางการจัดจาหน่าย
• สาหรับการระบุผ้ ทู ี่จดั ซื ้อเพลง
ขั้นตอนการฝังลายน้ าดิจิตอล (Digimarc, 2012)
• การลงลายน ้าของไฟล์ข้อมูลแบบ
PDF ศูนย์ข้อมูลการวิจยั
digital วช. 2557
การเพิม่ ความปลอดภัยให้ กบั เอกสาร PDF
• PDF Security คือการรักษาความปลอดภัยที่มีคณ
ุ สมบัติที่ช่วยป้องกันการทาสาเนา หรื อ
แจกจ่ายให้ กบั ผู้ใช้ อื่น ๆ (ในทางเดียวกันกับที่ผ้ ใู ช้ ที่จะถูกห้ ามจากการทาสาเนาของเอกสาร
สิ่ ง พิ ม พ์ )การรั ก ษาความปลอดภั ย ชนิ ด นี ไ้ ด้ บั ง คั บ ให้ ใช้ ในกฎหมายลิ ข สิ ท ธิ์ ที่ มี อ ยู่
(Techstreet, 2012)
• การเพิ่มความปลอดภัยให้ กบั เอกสาร PDF หรื อ (PDF Security) เป็ นการจากัดสิทธิ
หรื อป้องกัน และกาหนดความปลอดภัย ในการเข้ าใช้ ไฟล์เอกสาร PDF เพื่อป้องกันไม่ให้ ไฟล์
เอกสารนันถู
้ กเปิ ดอ่านโดยไม่ได้ รับอนุญาต โดยใส่รหัสให้ กบั ไฟล์เอกสารนัน้ ได้ แก่ การป้องกัน
การเปิ ด การสัง่ พิมพ์เอกสาร การแก้ ไข เป็ นต้ น และวิธีการในการเพิ่มความปลอดภั ยให้ กับ
เอกสาร ได้ แก่ การจากัดสิทธิ์ในการเปิ ด แก้ ไข และการสัง่ พิมพ์ การกาหนดสิทธิ์ในการเข้ าถึง
เอกสารสาหรับกลุม่ บุคคลเฉพาะที่ได้ ระบุไว้ เท่านัน้ และการกาหนดการรับรองเอกสาร เป็ นต้ น
การเพิม่ ความปลอดภัยให้ กบั เอกสาร PDF (ต่ อ)
• โดยสามารถกาหนดเพิ่มรหัสผ่านและความปลอดภัยของเอกสารโดยใช้ คณ
ุ สมบั ติ
ใน Acrobat ไม่ว่าจะเป็ น การสัง่ พิมพ์ และการแก้ ไข เป็ นต้ น ซึ่งเอกสารที่ถูก
จากัดสิทธิ์ซงึ่ จะสังเกตได้ วา่ รายการต่างๆบนเมนูคาสัง่ จะจางลงและไม่สามารถกด
หรื อเลือกได้ นอกจากนี ้ Acrobat เพื่อการป้องกันเอกสาร ในเอกสาร PDF
สามารถกาหนดรหัสผ่านได้ สองแบบ ได้ แก่
การเพิม่ ความปลอดภัยให้ กบั เอกสาร PDF (ต่ อ)
• รหัสเปิ ดเอกสำร (Document Open Password) เป็ นวิธีการใช้ รหัส
เพื่อจากัดสิทธิการเปิ ดและแก้ ไขเอกสาร
• รหัสอนุญำต (Permission Password) เป็ นวิธีการใช้ รหัสเพื่อจากัดสิทธิ
การแก้ ไข เปลี่ยนแปลงการกาหนด การป้องกันและรักษาความปลอดภัยของ
เอกสาร
Digital Rights Management System (DRMS)
• ระบบ DRMได้ รั บ การออกแบบมาเพื่ อ ท าให้ มั่ น ใจว่ า วั ต ถุ นั น้ เข้ ากั นได้
เพราะฉะนัน้ วัตถุจะไม่ได้ ตัดกันก่อนที่จะขนส่ง และช่วยให้ มั่นใจในระบบความ
ปลอดภัยทังหมดของวั
้
ฏจักรการขนส่ง เพราะวัตถุนนจะถู
ั ้ กย้ ายได้ เฉพาะแค่ลกู ค้ าที่
ได้ รับอนุญาตและอุปกรณ์เท่านัน้ ระบบ DRM ทาให้ ผ้ ใู ช้ เทคโนโลยีและอุปกรณ์ที่
จะสร้ างความไว้ ใจในตัวบรรจุภณ
ั ฑ์ และการกระจายของระบบเพื่อป้องกันเนื ้อหา
เทคโนโลยีการควบคุมการเข้ าถึงการทางานแบบดิจิทลั
(Technology to control access to digital works)
• ระบบปฏิบัติกำรคอมพิวเตอร์ (Computer operating systems) ที่มี
คุณลักษณะด้ านความปลอดภัย และความสมบูรณ์ เช่นสิทธิ์การเข้ าถึงไฟล์แบบดังเดิ
้ ม
• สิทธิกำรจัดกำรภำษำ (Right management language) แสดงในรูปแบบเครื่ อง
อ่านที่ถกู ต้ อง และความรับผิดชอบของเจ้ าของ ตัวแทนจาหน่าย และผู้ใช้ ซึง่ จะช่วยให้ เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ กาหนดว่าความต้ องการอยูใ่ นช่วงที่ได้ รับอนุญาตหรื อไม่
• รหั ส ลั บ (Encryption)การเข้ า รหัส ลับ อนุ ญ าตท าให้ ก ารท างานของดิ จิ ต อลที่ จ ะมี
สัญญาณรบกวนเพื่อให้ ผ้ ใู ช้ สามารถถอดรหัส โดยผู้ใช้ ที่ถกู ต้ องตามกฎหมาย การเข้ ารหัสลับ
สามารถนามาใช้ กับเนือ้ หาในคาสัง่ เพื่อที่จะทาให้ ไม่สามารถใช้ ได้ ในผู้ใ ช้ ที่ไม่ได้ รับอนุญาต
จนกว่าบุคคลนันจะได้
้
เป็ นเจ้ าของของกุญแจที่เกี่ยวข้ อง: รหัสที่จะสามารถถอดรหัสข้ อความที่
เข้ ารหัสลับ
เทคโนโลยีการควบคุมการเข้ าถึงการทางานแบบดิจิทลั
(Technology to control access to digital works)
• ใบอนุ ญำตกำรเข้ ำรหัสแบบถำวร
(Persistent
encryption
permits) ให้ ผ้ ซู ื ้อใช้ เพื่อเป็ นข้ อมูลในขณะที่ระบบการเก็บรักษาอยูใ่ นรูปแบบที่มี
การเข้ ารหัส
• ลำยนำ้ ดิจิทัล (Digital watermarks) ลายน ้าดิจิตอลเพิ่มจานวนของ
ข้ อมูลขนาดเล็กในการทางาน ซึง่ ระบุที่ทางาน และไม่สามารถจะถูกลบออกได้ อย่าง
ง่ายดาย เนื ้อหาแทนด้ วยเครื่ องหมายดังต่อไปนี ้ เมื่อถูกคัดลอกไม่ว่ าจะเป็ นวิธีการ
คัดลอกใดๆก็ตาม เครื่ องหมายเหล่านีจ้ ะถูกใช้ โดยผู้ที่ต้องการสิทธิ์ ในการติดตาม
การคัดลอกใด ๆ และการกระจายของการทางานแบบดิจิทลั ของพวกเขา
เทคโนโลยีการควบคุมการเข้ าถึงการทางานแบบดิจิทลั
(Technology to control access to digital works)
• ลำยพิมพ์ นิว้ มือ (Fingerprinting) ขันตอนวิ
้
ธีการพิมพ์ลายนิ ้วมือที่จะใช้
ชิน้ ส่วนเล็ก ๆ ของข้ อมูลที่ระบุการทางาน เป็ นรู ปแบบหรื อข้ อความที่ มีลักษณะ
เฉพาะที่ถูกฝั งลงในสื่อเพื่อพิสจู น์ผ้ ูรับสื่อหรื อผู้ใช้ ซึ่งลายนิ ้วมือดิจิตอลไม่สามารถ
ขัดขวางการทาซ ้าที่ผิดกฎหมาย แต่ผ้ ถู ือลิขสิทธิ์หรื อผู้จดั จาหน่ายสื่อสามารถสืบหา
ร่ อ งรอยผู้ใ ช้ สื่ อ ที่ จัด จ าหน่ า ยสื่ อ ดัง กล่า วโดยไม่ ถูก ต้ อ ง เทคนิ ค การตรวจสอบ
ลายนิว้ มือส่วนใหญ่ใช้ เทคนิคเช่นเดียวกับการพิมพ์ลายน ้าโดยการฝั งลายนิ ้วมือที่
สร้ างไว้ ลงไป แต่ความแตกต่างระหว่างเทคนิคทัง้ 2 ประเภทคือ ลายนิ ้วมือจะถูกฝั ง
ลงในสื่อที่ถกู ทาซ ้าในแต่ละสาเนาโดยเฉพาะ
ลายพิมพ์นิว้ มือ (Fingerprinting) (ต่ อ)
• ขณะที่เทคนิคการพิมพ์ลายน ้าจะมีลายน ้าเหมือนกันในทุกสาเนาแต่ อย่างไรก็ตาม
ข้ อด้ อยของลายนิว้ มือดิจิตอลคือ มีความเป็ นไปได้ ที่จะโดนผู้ต้องการละเมิดสิทธิ์
รวมตัว กั น (Collusion)โจมตี ซึ่ ง จ านวนส าเนาลายนิ ว้ มื อ ที่ มี จ านวนมาก
เพียงพออาจถูกรวบรวมเพื่อค้ นหาลักษณะเฉพาะ (mark) บางส่วนที่แตกต่างไป
จากสาเนาอื่นที่รวบรวมมา ซึง่ ความแข็งแรงของระบบตรวจสอบลายนิ ้วมือ สามารถ
ถูกทาให้ ออ่ นแอลงเมื่อมีลกั ษณะเฉพาะมากขึ ้น
การออกกฎหมาย (Legislation)
• การละเมิดลิขสิทธิ์เป็ นเรื่ องที่ทาได้ งา่ ย สะดวกและรวดเร็ วไม่วา่ จะเป็ นการทาสาเนา
คัดลอก การผลิตครัง้ ละมาก ๆ ซึ่งทาได้ อย่างสะดวก ผู้บริ โภคไม่สามารถแยกออก
ได้ วา่ สิ่งไหนเป็ นต้ นฉบับ หรื อสิ่งไหนละเมิดลิขสิทธิ์ และเมื่อระบบอินเทอร์ เน็ตมีการ
พัฒนาให้ เร็ วขึ ้น ได้ รับความนิยมมากขึ ้น โอกาสที่เนื ้อหาจะถูกละเมิ ดลิขสิทธิ์ก็มาก
ขึ ้น การค้ นหาวิธีการปกป้องผลงานของตัวเองจึงเกิดขึน้ อย่างเช่น เทคโนโลยี การ
จัดการสิทธิดิจิทลั แต่อย่างไรก็ตามการปกป้องเนื ้อหาด้ วยเทคโนโลยี การจัดการ
สิทธิ ดิจิทัล ดังกล่าวยังไม่เพียงพอ ดังนัน้ จึงเกิดกฎหมายที่ใช้ ปกป้องเทคโนโลยี
ขึ ้นมา โดยตัวอย่างรายการหลักของกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับระบบ การจัด การสิทธิ
ดิจิทลั มีดงั นี ้
Digital Millennium Copyright Act of 1998
(DMCA)
• สาระสาคัญประการหนึ่งของกฎหมาย DMCA คือ การปกป้องเทคโนโลยีและ
ระบบบริ หารลิขสิทธิ์ (Technological Protection and Copyright
Management Systems) กล่าวคือ ประเทศภาคีสมาชิกสนธิสญ
ั ญาของ
WIPO มีพนั ธกรณีจดั ให้ มีมาตรการต่อต้ านการหลีกเลี่ยงเทคโนโลยีที่ ใช้ เพื่อ
คุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์และการคุ้มครองข้ อมูลการบริ หารจัดการสิทธิ ตามข้ อ 11
และข้ อ 12 ของสนธิสญ
ั ญา WCT
DMCA ถือว่าการกระทาดังต่อไปนี้เป็ นการต้องห้ามตามกฎหมาย
• การกระทาที่เป็ นการหลีกเลี่ยงเทคโนโลยีที่ใช้ เพื่อป้องกันการเข้ าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์
• การจาหน่ายจ่ายโอนเครื่ องมือใด ๆ หรื อการให้ บริ การใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงเทคโนโลยี
ที่ใช้ ป้องกันการเข้ าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์
• การจ าหน่ า ยจ่ า ยโอนเครื่ อ งมื อ ใด ๆ หรื อ การให้ บ ริ ก ารใด ๆ เพื่ อ หลี ก เหลี่ ย ง
เทคโนโลยีที่ใช้ ในการป้องกันการทาซ ้างานอันมีลิขสิทธิ์
WIPO Copyright Treaty 1996 (WCT)
(สนธิสัญญาลิขสิ ทธิ์ WIPO 1996)
• ลิขสิทธิ์สนธิสญ
ั ญา WIPO (WCT) เป็ นข้ อตกลงพิเศษที่บญ
ั ญัติโดยประชามติ
มากกว่า 100 ประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป ในเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์
ได้ นามาใช้ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ปี 1996 ลิขสิทธิ์สนธิสญ
ั ญา WIPO (WCT)
ได้ สง่ เสริ มในสนธิสญ
ั ญากรุงเบิร์น สาหรับการคุ้มครองวรรณกรรม และศิลปะ (อนุ
สัญญาเบิร์น) และอนุสญ
ั ญาระหว่างประเทศเพื่อการคุ้มครองของนักแสดงที่ผ้ ผู ลิต
Phonograms (ตัวหนังสือแสดงเสียง) และองค์กรกระจายเสียง และแพร่ภาพ
(สนธิสญ
ั ญาโรม) ในขณะที่เบิร์น และอนุสญ
ั ญากรุงโรมไม่ได้ รับการปรับเปลี่ยน
ระยะเวลา 25 ปี
ประเด็นของนโยบายที่สาคัญที่เกิดขึ้นในการประชุมทางการทูตปี
1996
• ความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ใ ห้ บ ริ ก ารออนไลน์ และหน่ ว ยงานการสื่ อ สารอื่ น ๆ ที่ ใ ห้
สามารถเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตและ
• ขอบเขตของการทาสาเนาที่ถูกต้ องที่ใช้ ประโยชน์ในการคัดลอกข้ อมูลแล้ วส่งผ่าน
ทางอินเทอร์ เน็ต
จุดเด่ น การจัดการสิ ทธิดจิ ิทลั
• การจัดการสิทธิดิจิทลั จะเอื ้อประโยชน์ต่อเจ้ าของข้ อมูลเป็ นหลัก เช่น ช่วยปกป้อง
ข้ อมูลไม่ให้ ถูกคัดลอกได้ อย่างอิสระ ข้ อมูลจะถูกเข้ ารหัสโดยเทคโนโลยีที่ทนั สมัย
และจะถอดรหัสได้ ก็ตอ่ เมื่อผู้ชมได้ รับสิทธิ์แล้ วเท่านัน้ นอกจากนี ้ยังช่วยสร้ างกระแส
รายได้ จากข้ อมูลที่มีอยู่ และสามารถเก็บเงินจากค่าดูข้อมูลที่มีอ ยู่ได้ อย่างเต็มเม็ด
เต็มหน่วย ทังนี
้ ้ยังช่วยลดค่าใช้ จ่ายในการจัดจาหน่าย ซึ่งไม่จาเป็ นต้ องลงทุนผลิต
ซีดีหรื อดีวีดี รวมทังค่
้ าบรรจุภณ
ั ฑ์
สิ ทธิประโยชน์ สาหรับผู้ให้ บริการเนือ้ หา
• เมื่อผู้ใช้ ได้ เข้ าสูร่ ะบบอินเทอร์ เน็ต ผู้ใช้ จะพบร้ านค้ าออนไลน์ที่มีนบั ไม่ถ้วน ที่ให้ ไฟล์
สื่อที่ตวั ผู้ใช้ เอง และจาหน่ายสินค้ าดิจิทลั ที่มีการป้องกันด้ วยเทคโนโลยี การจัดการ
สิทธิดิจิทลั และตอนนี ้ผู้ที่ให้ บริ การเนื ้อหาส่วนใหญ่ค่อนข้ า งมีความมัน่ ใจเกี่ยวกับ
การป้ องกั น ไฟล์ สื่ อ ดิ จิ ทัล ด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ทัน สมัย และสามารถรั ก ษาความ
ปลอดภัยจากการปั ญหาการคัดลอกบนเนื ้อหาของเว็บ
ผลประโยชน์ ของผู้บริโภค
• เทคโนโลยี การจัดการสิทธิดิจิทลั มีข้อดีหลายประการ ไม่ว่าจะต่อผู้ บริ โภครวมถึง
การจัดส่งเนื ้อหาที่มีความปลอดภัยในการเล่นสื่อบนเครื่ องพีซี อุป กรณ์พกพา และ
เครื อข่ายอื่นๆ เนื่องจากการกระจายของเนื ้อหา ในรู ปแบบดิจิทลั จะทาให้ ผ้ ูบริ โภค
เข้ าถึงเนื อ้ หาทัง้ หมดได้ อ ย่า งสะดวกตามที่ ต้อ งการ หรื อ ไม่ ว่า จะเวลาใดก็ ต าม
เนื่องจากผู้บริ โภคซึ่งในขณะนีส้ ามารถถ่ายโอนเนือ้ หาทัง้ หมดไปยัง อุปกรณ์ แบบ
พกพาของตัวผู้ใช้ เอง
ข้ อจากัด การจัดการสิ ทธิดิจิทัล
• นอกจากนี ้เทคโนโลยี การจัดการสิทธิดิจิทลั ยังมีข้อเสียที่สาคัญคือ เข้ มงวดกับผู้ใช้
มากเกินไปในการจากัดสิทธิ์ ของผู้ใช้ ในการเข้ าถึงตัวสินค้ า จึงไม่เป็ นที่นิยมของ
ผู้บริ โภคส่วนใหญ่ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อผู้ขายเพลงปิ ดบริ การไปผู้ซื อ้ เพลงก็จะไม่
สามารถเปิ ดเพลงนัน้ ฟั งได้ อีก โดยการใช้ เทคโนโลยี การจัดการสิ ทธิ ดิจิ ทัล ใน
วงการเพลงนัน้ มีลดน้ อยลง เพราะผู้ผลิตต่างได้ รับบทเรี ยนว่าผู้บริ โภคไม่ต้องการ
การจัดการสิทธิดิจิทลั