บทบาทของ - ทำเนียบ นัก สร้าง สุข องค์กร

Download Report

Transcript บทบาทของ - ทำเนียบ นัก สร้าง สุข องค์กร

บทบาทของ
นสอ.นักสร้ างสุของค์ กร
1
คุณลักษณะของข้าราชการในทศวรรษหน้า
ความเป็ น
ข้ าราชการ
ราชการยุคใหม่
ยึดประชาชนเป็ นเป้าหมาย
ทางานที่โปร่งใส
ตรวจสอบได้
บริการมีคุณภาพสูง
ประสิทธิภาพสูง
มีเจ้าหน้าที่
มีวฒ
ั นธรรม
คุณภาพ
และคุณธรรม การทางานเป็ นทีม
ทาเฉพาะ
มีองค์กรที่
มีระบบบริหาร
ใช้อุปกรณ์
บทบาทที่จาเป็ น คล่องตัว กะทัดรัด บุคคลที่คล่องตัว
ที่ทนั สมัย
ทางานแบบ
มุ่งผลสัมฤทธิ์
องค์ประกอบของค่านิยมหลักข้าราชการไทย
1) ค่านิยมสาธารณะ/ค่านิยมการรับใช้ประชาชน
• ในปั จจุบนั ค่านิยมสาธารณะเป็ นค่านิยมที่พงึ ประสงค์และมี
ความสาคัญเป็ นอย่างยิ่งสาหรับข้ าราชการไทย โดยจะสังเกตได้ จาก
แนวโน้ มของการปฏิรูประบบข้ าราชการในปั จจุบนั ที่มีการนาเอาแนวคิด
การมุง่ เน้ นประโยชน์สขุ ของประชาชน การนาเอาแนวคิดของการให้
ประชาชนเป็ น “ศูนย์กลาง”
2) ค่านิยมความเป็ นข้าราชการมืออาชีพ
• “พระราชบัญญัติระเบียบข้ าราชการพลเรื อน พ.ศ. 2551” กล่าวได้ วา่
ค่านิยมความเป็ นมืออาชีพของข้ าราชการเป็ นค่านิยมที่สามารถพบเห็น
ได้ เด่นชัดในการบริหารส่วนราชการปั จจุบนั ทีมีการนาเอาแนวคิดของ
การบริหารจัดการของภาคเอกชนเข้ ามาประยุกต์ใช้ เพื่อให้ สว่ นราชการ
มีความทันสมัย รวดเร็วและสามารถสนองตอบต่อความต้ องการและ
ความคาดหวังของประชาชนได้ ดียิงขึ ้น
3) ค่านิยมการเป็ นข้าของแผ่นดิน
“ค่านิ ยมการเป็ นข้าของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั หรื อข้าของแผ่นดิ น”
อาจกล่าวโดยสรุปได้ วา่ หมายถึง ค่านิยมที่ข้าราชการนันยกย่
้
องและยึดถือ
ปฏิบตั ิตนตามแนวทางของกษัตริย์ที่ทรงใช้ ทศพิธราชธรรมในการปกครอง
ประเทศชาติ บ้ านเมือง เพือประโยชน์สขุ ของประชาชน
นสอ. คือใคร? นสอ. เป็ นใคร? นสอ. ทาอะไร?
นสอ. คือใคร?
นสอ. เป็ นใคร?
• นสอ. ไม่ใช่หมอ ไม่ใช่สถาปนิก ไม่ใช่วิศวกร ไม่ใช่นกั กฎหมาย
ไม่การวิธีการ/ขันตอน
้
การวินิจฉัยโรค ออกแบบ คานวณแบบ ว่าความ
ตัดสินคดี ที่แน่นอนตายตัว
ชม VDO กันก่ อนนะครับ
นสอ. เป็ นใคร?
เป็ นพี่น้อง เป็ นพวก เป็ นเพื่อน (3 พ)
เป็ นนักบริ หาร
ความหมายของการบริ หาร
พื ้นฐานการบริหารงานที่ดี มีความสาคัญทังในแง่
้
เป้าหมายและในแง่
วิธีการ ในการบริหารงานนันต้
้ องมีปัจจัยที่เกี่ยวข้ องคือ
1. งาน
2. คน
3. เงิน
การบริหารที่ดีขององค์กรภาครัฐ ต้ องตังเป
้ ้ าหมายซึง่ มี 2 ส่วน คือ
1. เป้าหมายตามพันธกิจ
2. เป้าหมายที่เป็ นการบริหารจัดการที่ดี
การบริ หารจัดการบ้านเมืองที่ดี
• คาว่า “ธรรมาภิบาล” มาใช้ ในเมืองไทยในยุคแรกๆ ใช้ ศพั ท์คาว่า “ธรรม
รัฐ” มาตังแต่
้ ยคุ ปี พ.ศ. 2541 ที่เสนอให้ มีการบริหารราชการแผ่นดิน
อย่าง “โปร่งใส”
• จากนันค
้ าว่า “โปร่งใส” ก็ถกู นามาใช้ อย่างแพร่หลาย ในความหมายว่า
เป็ นการบริหารตามหลัก “ธรรมาภิบาล” ซึง่ เป็ นคาที่แปลมาจากคา
ภาษาอังกฤษอีกต่อหนึง่
• ในความหมายอย่างไทย ธรรมาภิบาล มาจากคาว่า ธรรมะ และ
อภิบาล ซึง่ ภาษาอังกฤษใช้ คาว่า Good และ Governance เมื่อ
นามารวมกัน หมายถึง “การบริหารจัดการที่ดี”
ธรรมาภิบาล มีหลักการที่สาคัญดังนี้คือ
1. ความโปร่งใส (transparency)
2. อธิบายได้ (accountability)
3. ความรับผิดชอบ (responsibility)
เพราะฉะนัน้ ในการบริหารที่ดี ก็คือกระบวนการบริหารเพื่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดแก่
ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องในทุกกลุม่ “Stakeholder” ได้ แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้ า ผู้รับบริการ
พนักงาน
การบริ หารจัดการที่ดีแบบสังคมไทย
การทาตนให้ เป็ นที่รักของผู้ใต้ บงั คับบัญชาและบุคคลรอบข้ าง ตามหลักการ
สังคหวัตถุ 4
1. ทาน คือ การให้ ทังที
้ ่เป็ นสิ่งของ ความรู้ ความเมตตา กาลังใจ ชมต่อหน้ า
ว่ากล่าวตักเตือนในที่ลบั
2. ปิ ยะวาจา คือ การใช้ วาจาที่อ่อนหวานต่อกัน วาจาที่มีประโยชน์มี 5 ข้ อ
ได้ แก่ 1) พูดอย่างมีที่มา ที่อ้างอิง ไม่พดู ลอยๆ ตามอารมณ์ 2) พูดแต่
ความจริ ง 3) พูดถูกกาลเทศะ 4) พูดมีประโยชน์ 5) พูดให้ ไพเราะนิ่มนวล
3. อรรถจริ ยา คือ อะไรที่เป็ นประโยชน์ต้องทา
4. สมานัตตะตา ผู้บริ หารต้ องเสมอต้ นเสมอปลาย คือ มีวฒ
ุ ิภาวะทางอารมณ์
บุคลิกภาพที่ดีของนักบริ หารยุคใหม่
1. มีความคิดเชิงระบบดี การมองอย่างเป็ นขันตอน
้
มองอะไรเป็ นเหตุเป็ นผล
เป็ นกระบวนการ สัมพันธ์โยงใยมองว่าเรื่ องนี ้กับเรื่ องใด จะแก้ ปัญหาเรื่ องนี ้
จะกระทบเรื่ องไหน มีความคิดอย่างมีจินตนาการ มีความคิดริ เริ่ ม
สร้ างสรรค์
2. มีลกั ษณะสายตากว้ างไกล คมชัด มองการณ์ไกล มองอะไรในวงกว้ าง มอง
อย่างตลอดรอดฝั่ ง มองให้ เห็นอนาคตของงานที่คมชัด เป็ นรูปธรรม
3. มีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง รักงาน มีความแม่นยาในงาน รู้จดุ อ่อนจุด
แข็งขององค์กร คือเข้ าใจอย่างละเอียดลึกซึ ้งถึงงานต่างๆ มองได้ อย่างทะลุ
ปรุโปร่ง ชัดเจน
4. รู้จกั ความสามารถและข้ อจากัดของตัวเอง
7 อุปนิสยั ที่จะพัฒนาตนเองให้เป็ นผูน้ าที่มีประสิ ทธิภาพ
การนาพาตนเองไปสูก่ ารเป็ นผู้นาที่มีวฒ
ุ ิภาวะในระดับ Interdependence ได้ นนั ้ จะต้ องเริ่ ม
จาก
1. Be Proactive : รับผิดชอบในสิง่ ที่เลือก/ทา โดยไม่ปัดความรับผิดชอบ ทังนี
้ ้
เพราะทุกคนมีทางเลือกและทาอย่างมีสติ และรับผิดชอบในสิง่ ที่เลือกและ
ผลลัพธ์ของสิง่ ที่ทา
2. Begin with the End in Mind : ต้ องมีวิสยั ทัศน์ร้ ูวา่ สิง่ ที่ต้องการคือ
อะไร รู้จกั เป้าหมายที่ชดั เจน
3. Put First Things First : ทาแต่สิ่งที่สาคัญ และใช้ เวลาให้ ค้ มุ ค่าเต็มที่ มี
จุดมุง่ หมาย ไม่หลงทาง
• อุปนิสยั 3 ข้ อแรกนัน้ จะทาให้ เราสามารถจัดการชีวิตให้ ตนเองมีความมัน่ คง มีจดุ ยืน และมี
เป้าหมายที่ชดั เจน ซึง่ จะนาไปสูก่ ารเป็ นผู้นาในระดับ Interdependence
7 อุปนิสยั ที่จะพัฒนาตนเองให้เป็ นผูน้ าที่มีประสิ ทธิภาพ
4. Think Win-Win : ใจกว้ าง ไม่คิดถึงแต่ประโยชน์สว่ นตัว ยินดีตอ่
ความสาเร็ จของผู้อื่น
5. Seek First to Understand , Then to be Understood :
เข้ าใจซึง่ กันและกัน รับฟั งความต้ องการและข้ อแนะนาของผู้อื่น
6. Synergize : เกิดพลังร่วม เป็ น team work ที่สง่ เสริ มซึง่ กันและกัน
สามารถทางานร่วมจนเกิดผลสัมฤทธิ์ทาให้ 1+1 ได้ ผลลัพธ์ที่มากกว่าร้ อย มากกว่า
พัน
7. Sharpen the Saw : พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องทังกาย
้
วาจา ใจ
• แต่ทงนี
ั ้ ้ทังนั
้ นผู
้ ้ ที่จะมีภาวะผู้นาที่พงึ ประสงค์ จะต้ องพัฒนาตนเองไปสูผ่ ้ นู าที่มีวฒ
ุ ิภาวะในระดับ
Interdependence ให้ ได้ โดยการเสริ มสร้ างอุปนิสยั ในข้ อ 4-7 ซึง่ จะนาไปสูก่ ารพัฒนา
องค์กรอย่างต่อเนื่อง
นอกจากอุปนิสยั ทั้ง 7 ประการดังกล่าวแล้ว
บทบาทของผูน้ า ที่จะนาพาองค์กรไปสู่ ความสาเร็ จ ึ่่ งได้แก่
1. ผู้นาต้ องทาตัวเป็ นแบบอย่างที่ดี เพื่อให้ บคุ ลากรในองค์กรเกิดความ
ศรัทธา และต้ องการทาตามผู้นา
2. ผู้นาต้ องให้ วิสยั ทัศน์และทิศทางที่ชดั เจนขององค์กรและสื่อสารให้ ทกุ
คนในองค์กรเข้ าใจ
3. ผู้นาต้ องทาให้ สงิ่ ต่างๆ ในองค์กรมีความสอดคล้ อง มีระบบสนับสนุน
ที่ทาให้ การดาเนินงานต่างๆ ภายในองค์กรสามารถเกิดขึ ้นได้
4. ผู้นาต้ องรู้จกั empower บุคลากรในองค์กร เนื่องจากความสาเร็จ
ขององค์กรนัน้ จะเกิดขึ ้นได้ จากความร่วมมือในการปฏิบตั ิงานของทุก
คนในองค์กร
นักบริ หารยุคใหม่ตอ้ งไม่เผด็จการ
ผู้บริหารแบบเผด็จการ จะมีลกั ษณะดังนี ้
• เป็ นผู้วางแผนล่วงหน้ าแล้ วว่าจะเอาอย่างไร
• นาเสนอให้ ที่ประชุมอภิปรายพอเป็ นพิธี
• ใครเสนอแตกต่างก็จะตัดบท และตะล่อมให้ ตรงกับที่วางแผนเอาไว้
• อาศัยการประชุมบังหน้ า เพื่อเป็ นข้ ออ้ างว่าผ่านการพิจารณามาแล้ ว ถือ
เป็ นมติที่เห็นชอบ
บทบาท นสอ.
5 บทบาทของนักสร้างสุ ขในองค์กร
•
•
•
•
•
บทบาทผู้จดั การ (Manager Role)
บทบาทผู้สร้ างวิสยั ทัศน์ (Visionary Role)
บทบาทผู้ฝึกสอน (Coach Role)
บทบาทนักการศึกษา (Educator Role)
บทบาทนักการทูต (Ambassador Role)
every leader, to be effective, should play with absolute mastery the five following roles:
(Sanchez Arias, 2004)
บทบาทของผูจ้ ดั การ
• เป็ นบทบาทของ นสอ. ที่เน้ นการจัดตัง้ ให้ ความร่วมมือในการทางาน
สนับสนุนการทางาน ร่วมสร้ างผลลัพธ์ให้ กบั องค์กร ติดตาม ประเมินผล
ควบคุม รายงาน สร้ างความมัน่ ใจเรื่ องคุณภาพของกระบวนการทางาน
เพื่อเพิ่มผลผลิตขององค์กร
• MANAGER: A manager seeks to administrate
the necessary resources, coordinate actions,
generate results, measures, control, and
report and assure the quality of the processes,
goods and services.
บทบาทของผูส้ ร้างวิสยั ทัศน์
• เป็ นบทบาทของ นสอ. ในด้ านการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อทาให้
วิสยั ทัศน์นนกลายเป็
ั้
นจริ งให้ ได้ สร้ างสัญลักษณ์ของการเป็ นตัวแทนในการ
เปลี่ยนแปลง (Change Agent) และนาไปสูก่ ารยกระดับการ
เปลี่ยนแปลง (Leader Shift = Leaddership) ที่สร้ างแรงบันดาล
ใจอย่างหลากหลายให้ กบั บุคลากรในองค์กร
• VISIONARY: A visionary creates the vision, he or
she creates the means to communicate the vision
effectively to inspire it emotionally and rationally
to the members of his team. He acts as a change
agent.
บทบาทของผูฝ้ ่ กสอน
• เป็ นบทบาทของ นสอ. ที่ต้องปฏิบตั ิตนให้ เป็ นแบบอย่าง พยายามค้ นหา
บุคคลที่มีพรสวรรค์ พัฒนาบุคลการที่มีความรู้ความสามารถยิง่ ขึ ้น
เพื่อให้ เป็ นหลักที่จะก้ าวขึ ้นเป็ นตัวแทนในอนาคตขององค์กร โดยใช้
วิธีการเป็ นผู้ฝึกสอน
• COACH: A coach acts as a scout in sports,
seeking for talents internally and externally.
He or she works on the development of
successors and the need to expand their
potential through interaction of coaching.
บทบาทของนักการศ่กษา
• เป็ นบทบาทของ นสอ. ที่ทาหน้ าหน้ าที่ถอดรหัสหรื อแปลข้ อมูลความรู้และ
ประสบการณ์ผา่ นการประชุม การพูดคุย การฝึ กอบรมที่จดั ขึ ้นในองค์กร เพื่อ
พัฒนาความสามารถของทีมงาน และทุนทางปั ญญาขององค์กร
• EDUCATOR: An educator transfers information,
knowledge, and experience through educative
sessions such as conferences, workshops,
learning conversations in which members of a
team develop competencies as well as the
intellectual resources of an organization as a
whole.
บทบาทของนักการทูต
• เป็ นบทบาทของ นสอ. ในการเป็ นตัวแทน สร้ างภาพลักษณ์ โดยจะต้ อง
ประสานและสนับสนุนทุกฝ่ ายทังในและนอกองค์
้
กร วางแผนกลยุทธ์ทมี่ ี
ประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา แนวคิด และการ
บริ การ ภายใต้ แนวคิดการสร้ างสุขขององค์กร
• AMBASSADOR: An ambassador finds strategic
alliances and mutual support relationships, to
develop an effective strategy with the media and
public relations with other institutions, to
promote the philosophy, history and services of
the organization that you represent.
หน้าที่ นสอ.
บริ การด้านคุณภาพชีวิตการทางาน
1. พัฒนาและบริหารจัดการระบบคุณภาพชีวิตการทางาน โดยการ
สารวจและการประเมินความต้ องการ
2. อานวยความสะดวก ในการพัฒนาและวางยุทธศาสตร์ ด้านคุณภาพ
ชีวิตการทางานขององค์กร
3. จัดฝึ กอบรมด้ านคุณภาพชีวิตการทางาน เพื่อสนับสนุนค่านิยมและ
เป้าหมายขององค์กร
4. ส่งเสริมและรับรองมาตรฐานให้ บคุ ลลากรภายในองค์กร เกิด
นวัตกรรมที่เป็ นเครื่ องมือหรื อกลยุทธ์ที่เอื ้อต่อการสร้ างคุณภาพชีวิต
การทางาน
สมรรถนะ นสอ.
ความหมายของสมรรถนะในองค์กร
ผูท้ ี่มีความสามรถโดดเด่นในองค์การ
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็ นผลมาจาก ความรู ้ ทักษะ ความสามารถ
และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทาให้บุคคลโดดเด่นในองค์การ
คุณลักษณะของข้าราชการ
นสอ.
Core Competency ข้าราชการ
1.
2.
3.
4.
5.
การมุ่งผลสัมฤทธิ์
การบริ การที่ดี
การสัง่ สมความเชี่ยวชาญ
จริ ยธรรม
ความร่วมมือร่วมใจ
Work Skill
Functional Competency
Management Competency
 ภาวะผู้นา
 การจัดการเชิงกลยุทธ์
 การคิดเชิงระบบ
 การจัดการความเสี่ยง
 การเจรจาต่อรอง
 การสื่อสารองค์กร
 การสร้ างแรงจูงใจ
 การจัดการงบประมาณ
 การสร้ างเครื อข่าย
 การให้ อานาจแก่ผ้ อู ื่น
สารวจ
วิเคราะห์
สถานการณ์
เป็ น
แบบอย่ าง
เป็ นผู้
สอนงาน
ฝึ กอบรม
จัดทาและ
ประเมินแผน
2. Knowledge
growth
4. QWL Skill
Development
Center
สร้ าง
เครื่ องมือ
เป็ นที่
ปรึกษา
1. Standard
Operation Manual
3. Work-Life
Flexibility