ดาวน์โหลดไฟล์แนบ - สพป.ลำปาง เขต 1

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดไฟล์แนบ - สพป.ลำปาง เขต 1

การประชุมชี้แจงแนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาทักษะการคิด
ตามจุดเน้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
6 พฤษภาคม 2557
ณ ห้ องประชุมคุรุมนตรี
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
ความสาคัญของ
การคิดและการสอนคิด
ความสาคัญของการคิดและการสอนคิด
• การคิดเป็ นกระบวนการทางสมองซึ่งมีศักยภาพสู ง และเป็ นส่ วนทีท่ าให้
มนุษย์ แตกต่ างไปจากสั ตว์ โลกอืน่ ๆ
• การคิดเป็ นเป้าหมายสาคัญของการสอน ดังจะเห็นได้ จาก พรบ.การศึกษา
แห่ งชาติ และหลักสู ตรแกนกลางฯ
• การสอนและพัฒนาความสามารถทางการคิดเป็ นเรื่องทีค่ ่ อนข้ างยาก เนื่องจาก
การคิดมีลกั ษณะเป็ น “กระบวนการ” ไม่ ได้ มลี กั ษณะเป็ นเนือ้ หาที่ครู จะ
สามารถเห็นได้ ง่าย และนาไปสอนได้ ง่าย
ความสาคัญของการคิดและการสอนคิด
• การสอนคิดจึงต้ องเป็ นการสอน “กระบวนการ”
• การสอนคิดให้ ได้ ผลต้ องอาศัยความเข้ าใจในกระบวนการคิดว่ า
ลักษณะอย่ างไร เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร และประกอบไปด้ วยอะไรบ้ าง
• การสอนคิดต้ องใช้ วธิ ีการที่หลากหลายส่ งเสริมกัน
มิติของการคิด
มิติของ “การคิด” มี 6 ด้ าน ดังนี้
• ข้ อมูลหรือเนือ้ หาทีใ่ ช้ ในการคิด
• คุณสมบัตทิ เี่ อือ้ อานวยต่ อการคิด
• ทักษะการคิด
• ลักษณะการคิด
• กระบวนการคิด
• การควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง
ข้ อมูลหรือเนือ้ หาทีใ่ ช้ ในการคิด
• บุคคลไม่ สามารถคิดโดยไม่ มีเนือ้ หาของการคิดได้ เพราะการคิด
เป็ น “กระบวนการ” ในการคิดจึงต้ องมีการคิด “อะไร” ควบคู่ไปกับ
การคิด “อย่ างไร”
• ข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการคิด แบ่ งออกเป็ น 3 ด้ าน คือ
• ข้ อมูลเกีย่ วกับตนเอง
• ข้ อมูลเกีย่ วกับสั งคมและสิ่ งแวดล้ อม
• ข้ อมูลวิชาการ
คุณสมบัติทเี่ อือ้ อานวยต่ อการคิด
• “การคิด” เป็ นความสามารถทีอ่ ยู่แล้ วในตัวมนุษย์ ทุกคน แต่ จะมีความ
แตกต่ างกันในแง่ ของ “คุณภาพ” ในการคิด
• คนที่คดิ แล้ วได้ สิ่งที่มีประโยชน์ เรียกได้ ว่าคนคนนั้น “คิดเป็ น”
• คุณสมบัตขิ องการคิดเป็ นเชื่อมโยงกับคุณสมบัตพิ นื้ ฐานภายในบาง
ประการของมนุษย์ ควบคู่ไปกับการพิจารณาข้ อมูล 3 ด้ าน
คุณสมบัตภิ ายในทีเ่ อือ้ อานวยต่ อการคิด
• ใจกว้ างและเป็ นธรรม
• กระตือรือร้ น ใฝ่ รู้
• ชอบวิเคราะห์ และผสมผสาน
• ขยัน ต่ อสู้ และอดทน
• มัน่ ใจในตัวเอง
• น่ ารักน่ าคบ
ทักษะการคิด
หมายถึง ความสามารถย่ อย ๆ ในการคิดในลักษณะต่ าง ๆ
ซึ่งเป็ นองค์ ประกอบของกระบวนการคิดที่
สลับซับซ้ อน
ทักษะการคิดพืน้ ฐาน (Basic Skills)
ทักษะทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานเบือ้ งต้ นต่ อการคิดในระดับทีส่ ู งขึน้ หรือซับซ้ อน
ขึน้ จะมีลกั ษณะเป็ นทักษะย่ อย ซึ่งมีกระบวนการหรือขั้นตอนใน
การคิดไม่ มาก ประกอบด้ วย ทักษะการสื่ อความหมาย/การสื่ อสาร
และทักษะการคิดแกนหรือทักษะการคิดทั่วไป
ทักษะการสื่ อสาร
ทักษะการรับสารทีแ่ สดงถึงความคิดของผู้อนื่ เข้ ามา เพือ่ รับรู้ ตีความ
แล้ วจดจา และเมื่อต้ องการทีจ่ ะระลึกเพือ่ นามาเรียบเรียงและถ่ ายทอด
ความคิดของตนให้ แก่ ผู้อนื่ โดยแปลงความคิดให้ อยู่ในรูปของภาษาต่ าง ๆ
ทั้งทีเ่ ป็ นข้ อความ คาพูด ศิลปะ ดนตรี คณิตศาสตร์ ฯลฯ
ทักษะการสื่ อสาร
• การฟัง
• การอ่าน
• การรับรู้ (perceiving)
• การจดจา (memorizing)
• การจา (remembering)
• การเก็บความรู้ (retaining)
• การดึงความรู้ (recalling)
• การแสดงออก
•
•
•
•
•
•
•
การใช้ ข้อมูล/ความรู้
การบรรยาย
การอธิบาย
การทาความกระจ่ าง (clarifying)
การระลึก (recognizing)
การพูด
การเขียน
ทักษะที่เป็ นแกนหรือทั่วไป
ทักษะทีจ่ าเป็ นต้ องใช้ อยู่เสมอในการดารงชีวติ ประจาวัน และเป็ น
พืน้ ฐานของการคิดขั้นสู งทีม่ คี วามสลับซับซ้ อน ซึ่งคนเรา
จาเป็ นต้ องใช้ ในการเรียนรู้ เนือ้ หาวิชาการต่ าง ๆ ตลอดจนใช้ ใน
การดารงชีวติ อย่ างมีคุณภาพ
• การสั งเกต
ทักษะที่เป็ นแกนหรือทั่วไป
• การสารวจ
• การตั้งคาถาม
• การเก็บรวบรวมข้ อมูล
• การระบุ
• การจาแนก แยกแยะ
• การจัดลาดับ
• การเปรียบเทียบ
•
•
•
•
•
•
•
•
การจัดหมวดหมู่
การสรุปอ้ างอิง
การแปล
การตีความ
การเชื่อมโยง
การขยายความ
การให้ เหตุผล
การสรุปย่ อ
ทักษะการคิดขั้นสูงหรือทักษะการคิดที่ซับซ้ อน
ทักษะการคิดที่มีข้นั ตอนหลายชั้น ต้ องอาศัยทักษะการสื่ อสารและ
ทักษะแกนหลาย ๆ ทักษะในแต่ ละขั้น ทักษะการคิดขั้นสู งจะ
พัฒนาได้ เมื่อเด็กได้ พฒ
ั นาทักษะพืน้ ฐานจนมีความชานาญ
พอสมควรแล้ว
ทักษะการคิดขั้นสูง
• การสรุปความ
• การให้ คาจากัดความ/นิยาม
• การวิเคราะห์
• การผสมผสานข้ อมูล
• การจัดระบบความคิด
• การสร้ างองค์ ความรู้ ใหม่
• การกาหนดโครงสร้ างความรู้
• การปรับโครงสร้ างความรู้
•
•
•
•
•
•
•
•
การค้ นหาแบบแผน
การหาความเชื่อพืน้ ฐาน
การคาดคะเน/พยากรณ์
การตั้งสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐาน
การกาหนดเกณฑ์
การพิสูจน์ ความจริง
การประยุกต์ ใช้ ความรู้
ลักษณะการคิด
ลักษณะการคิด
ประเภทของการคิดที่แสดงลักษณะเฉพาะที่ชัดเจน ลักษณะการคิด
แต่ ละลักษณะจะอาศัยทักษะพืน้ ฐานบางประการและมี
กระบวนการหรือขั้นตอนในการคิดไม่ มากนัก ลักษณะการคิดใดที่
มีกระบวนการหรือขั้นตอนมากและซับซ้ อนขึน้ จะเรียกการคิดนั้น
เป็ น “กระบวนการคิด”
ลักษณะการคิด
• การคิดคล่ อง
• การคิดหลากหลาย
• การคิดละเอียด
• การคิดชัดเจน
• การคิดอย่ างมีเหตุผล
•
•
•
•
การคิดถูกทาง
การคิดกว้ าง
การคิดลึกซึ้ง
การคิดไกล
กระบวนการคิด
กระบวนการคิด
ลาดับขั้นตอนในการดาเนินการคิดเพือ่ ให้ ได้ การคิดที่ต้องการออกมา
โดยในแต่ ละขั้นตอนจาเป็ นต้ องอาศัยทักษะการคิดพืน้ ฐานและ
ขั้นสู งตามความเหมาะสม กระบวนการคิดจึงเป็ นการคิดในระดับ
ทีส่ ู งกว่ าทักษะการคิดและลักษณะการคิดซึ่งมีข้นั ตอนใน
การดาเนินการน้ อยกว่ า
กระบวนการคิด
• กระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
• กระบวนการคิดตัดสิ นใจ
• กระบวนการคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
• กระบวนการคิดไตร่ ตรอง
• กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
• กระบวนการแก้ ปัญหา
• กระบวนการวิจัย
การควบคุมและการประเมิน
การคิดของตนเอง
(Metacognition)
Metacognition
การควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง ซึ่งเป็ นความสามารถของบุคคล
ทีไ่ ด้ รับการพัฒนาเพือ่ ควบคุมกากับกระบวนการทางปัญญาหรือ
กระบวนการคิด มีความตระหนักในงาน และสามารถใช้ ยุทธวิธีทางาน
จนสาเร็จอย่ างสมบูรณ์
Metacognition
การตระหนักรู้ถงึ ความคิดของตน รู้ว่าเรารู้อะไร และ ไม่ รู้อะไร เป็ นสิ่ งที่
ผู้ทางานหรือผู้คดิ ทีต่ ้ องรู้เสมอเพือ่ ใช้ ในการจัดการเกีย่ วกับการคิด การมี
เมตาคอกนิชันจึงเป็ นความสาคัญของผู้ใช้ ทกั ษะการคิด กระบวนการคิด
“การคิดอย่ างมียุทธศาสตร์ ”
องค์ ประกอบของ Metacognition
• การวางแผน
• การควบคุมกากับการกระทาของตนเอง
• การตรวจสอบความก้าวหน้ า
• การประเมินผล
การพัฒนา
Metacognition
ยุทธวิธีพนื้ ฐานของเมตาคอกนิชัน
• การเชื่อมโยงความรู้ ใหม่ กบั ความรู้ เดิมทีม่ อี ยู่
• เลือกยุทธวิธีการคิดอย่ างพิถพี ถิ นั และรอบคอบ
• วางแผนกากับหรือตรวจสอบ และประเมินกระบวนการคิด
ยุทธวิธีทใี่ ช้ พฒ
ั นาเมตาคอกนิชัน
• ระบุว่าเรารู้ อะไร ไม่ รู้ อะไร โดยฝึ กเขียน
• สนทนาหรืออภิปรายเกีย่ วกับการคิด
• เขียนอนุทนิ หรือบันทึกการเรียนรู้ เพือ่ สะท้ อนความคิดของตนเอง
• วางแผนและกากับตนเอง
ยุทธวิธีทใี่ ช้ พฒ
ั นาเมตาคอกนิชัน
• สรุปกระบวนการคิดทีใ่ ช้ เมื่อทากิจกรรมเสร็จแล้ ว
• ครู แนะให้ ผ้ ูเรียนทบทวนกิจกรรม รวมรวมข้ อมูล กระบวนการคิดทีใ่ ช้ และ
ความรู้ สึกทีเ่ กิดขึน้
• ครู ให้ ผ้ ูเรียนจาแนกทักษะการคิดทีใ่ ช้ พร้ อมระบุยุทธวิธีการคิดทีใ่ ช้
• ครู ให้ ผ้ ูเรียนประเมินความสาเร็จสรุปกระบวนการคิดทีใ่ ช้ เมือ่ ทากิจกรรม
เสร็จแล้ ว
• ประเมินเกีย่ วกับการคิดของตนเอง
แนวทางในการพัฒนา
กระบวนการคิดหรือ
ความสามารถในการคิด
แนวทางในการพัฒนากระบวนการคิดหรือความสามารถในการคิด
• การส่ งเสริมปัจจัยที่เอือ้ ต่ อการพัฒนาสมอง เช่ น อาหาร น้า การ
หายใจ การพักผ่ อน การบริหารสมอง
• การเป็ นแบบอย่ างที่ดี การจัดสภาพแวดล้ อม และการสร้ าง
บรรยากาศที่เอือ้ ต่ อการคิด
• การสอนและฝึ กทักษะการคิดโดยตรงโดยใช้ โปรแกรม/หลักสู ตร/
สื่ อ/วัสดุ/กิจกรรม ทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ อย่ างสาเร็จรูป
แนวทางในการพัฒนากระบวนการคิดหรือความสามารถในการคิด
• การสอนและฝึ กทักษะการคิดผ่ านทางกิจกรรมการเรียนรู้ ที่
พัฒนาขึน้ ตามทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดที่ส่งเสริมการคิด
• การสอนและฝึ กทักษะการคิด โดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอน
และกระบวนการต่ าง ๆ ที่เน้ นการพัฒนาการคิด
แนวทางในการพัฒนากระบวนการคิดหรือความสามารถในการคิด
• การบูรณาการการสอนและฝึ กทักษะการคิดในการเรียน
การสอนเนือ้ หาสาระต่ าง ๆ
• การใช้ เทคนิคต่ าง ๆ ที่ส่งเสริมและพัฒนาการคิด เช่ น การทา
ผังกราฟิ ก การใช้ คาถาม การบริหารสมอง (Brain Gym) การ
อภิปรายโดยใช้ หมวกความคิด 6 ใบ เป็ นต้ น
เทคนิคการใช้ ผงั กราฟิ ก
เทคนิคการใช้ ผงั กราฟิ ก
• ผังความคิด (Mind Map)
• ผังมโนทัศน์ (Concept Map)
• ผังแมงมุม (Spider Map)
• ผังลาดับขั้นตอน (Sequential Map)
• ผังก้างปลา (Fishbone Map)
• ผังวัฏจักร (Circle or Cyclical Map)
• ผังวงกลมซ้ อนหรือเวนไดอะแกรม (Venn Diagram)
• ผังวีไดอะแกรม (Vee Diagram)
• ผังพล็อตไดอะแกรม (Plot Diagram)
ผังความคิด (Mind Map)
• ใช้ แสดงความสั มพันธ์ ของสาระหรือความคิดต่ าง ๆ ให้ เห็นเป็ นโครงสร้ างในภาพรวม
ผังมโนทัศน์ (Concept Map)
• ใช้ แสดงมโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอดใหญ่ ไว้ ตรงกลางและแสดงความสั มพันธ์
ระหว่ างมโนทัศน์ ใหญ่ และมโนทัศน์ ย่อย ๆ เป็ นลาดับขั้นด้ วยเส้ นเชื่อมโยง
ผังแมงมุม (Spider Map)
• เป็ นผังมโนทัศน์ อกี แบบหนึ่ง ซึ่งมีลกั ษณะคล้ ายใยแมงมุม
ผังก้ างปลา (Fishbone Map)
• เป็ นผังแสดงสาเหตุของปัญหาซึ่งมีความซับซ้ อน ผังก้ างปลาจะช่ วย
ทาให้ เห็นสาเหตุหลักและสาเหตุย่อยทีช่ ัดเจน
ผังวัฏจักร (Circle or Cyclical Map)
• เป็ นผังที่แสดงลาดับขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันเป็ นวงกลม หรือเป็ นวัฏจักรทีไ่ ม่ แสดง
จุดสิ้นสุ ดหรือจุดเริ่มต้ นทีแ่ น่ นอน
ผังวงกลมซ้ อน (Venn Diagram)
• เป็ นผังวงกลม 2 วงหรือมากกว่ าทีม่ ีส่วนหนึ่งซ้ อนกันอยู่ เหมาะสาหรับการนาเสนอ
สิ่ ง 2 สิ่ งหรือมากกว่ า ซึ่งมีท้งั ความเหมือนและความต่ างกัน
ผังวีไดอะแกรม (Vee Diagram)
• เป็ นผังรู ปตัววี ใช้ ในการศึกษาธรรมชาติความรู้ และผลผลิตของความรู้ ในวิชา
วิทยาศาสตร์ ซึ่งแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างทฤษฎีกบั วิธีการ ความคิดกับการสั งเกต
และวิธีการเชื่อมโยงความเข้ าใจระหว่ างกิจกรรมการทดลองกับเนือ้ หาในตาราเรียน
ผังพล็อตไดอะแกรม (Plot Diagram)
• เป็ นผังทีช่ ่ วยในการอ่ านเรื่องราวทีม่ ีเหตุการณ์ ต่อเนื่องกันยืดยาว เหมาะสาหรับ
การสอนอ่ าน ผู้เรียนสามารถใช้ ผงั นีช้ ่ วยในการหาพล็อตเรื่อง ซึ่งก็คอื เหตุการณ์ สาคัญ
ทีน่ าไปสู่ จะสุ ดยอดของเรื่องและเหตุการณ์ ในบทสรุปของเรื่อง
เทคนิคการใช้ คาถาม
เทคนิคการใช้ คาถาม
• เทคนิคการใช้ คาถามตามระดับจุดมุ่งหมายทางด้ าน
พุทธิพสิ ั ยของบลูม
• เทคนิคการใช้ คาถามเพือ่ พัฒนาลักษณะการคิด
• เทคนิคการใช้ คาถาม R-C-A
เทคนิคการใช้ คาถามตามระดับจุดมุ่งหมาย
ทางด้ านพุทธิพสิ ั ยของบลูม
• ระดับความรู้ความจา
• ระดับความเข้ าใจ
• ระดับการนาไปใช้
• ระดับการวิเคราะห์
• ระดับการสั งเคราะห์
• ระดับการประเมินค่ า
ตัวอย่ างคาถาม
• ระดับความรู้ ความจา
– กลอน 8 คืออะไร
• ระดับความเข้ าใจ
– จากตัวอย่ างที่ให้ นี้ กลอนบทไหนเป็ นกลอน 8
• ระดับการนาไปใช้
– กลอนบทนี้ มีลกั ษณะผิดหลักกลอน 8 อยู่กแี่ ห่ ง ตรงไหนบ้ าง
ตัวอย่ างคาถาม
• ระดับการวิเคราะห์
– กลอนของสุ นทรภู่บทนีต้ ้ องการบอกความจริงอะไรแก่ผู้อ่าน
• ระดับการสั งเคราะห์
– จงให้ ชื่อที่เหมาะสมและน่ าสนใจแก่ บทร้ อยกรองต่ อไปนี้
• ระดับการประเมินค่ า
– กลอน 8 จานวน 3 บทต่ อไปนี้ บทไหนดีทสี่ ุ ด เพราะอะไร
ตัวอย่ างคาถามเพือ่ พัฒนาลักษณะการคิด
• คิดคล่อง
– บอกสาเหตุทที่ าให้ บ้านเมืองสกปรกให้ มากทีส่ ุ ดและเร็วทีส่ ุ ด
• คิดหลากหลาย
– ขยะมีกปี่ ระเภท จงยกตัวอย่ างขยะแต่ ละประเภทมาให้ มากทีส่ ุ ด
• คิดละเอียด
– ขยะอันตรายแต่ ละประเภทมีโทษอย่างไร
• คิดชัดเจน
ตัวอย่ างคาถามเพือ่ พัฒนาลักษณะการคิด
– จากข้ อมูลเกีย่ วกับขยะ นักเรียนรู้ และเข้ าใจอะไรบ้ างจงอธิบาย
• คิดอย่ างมีเหตุผล
– ทีม่ ผี ้ ูเสนอว่ า ถ้ าผู้คนทิง้ ขยะให้ เป็ นทีเ่ ป็ นทาง บ้ านเมืองจะสะอาด นักเรียนเห็น
ด้ วยหรือไม่ เพราะอะไร
• คิดถูกทาง
– ถ้ าทุกคนทิง้ ขยะ 1 ชิ้นในวันนี้ จะเกิดผลอะไรตามมาบ้ างในระยะสั้ นและระยะยาว
• คิดกว้ าง
ตัวอย่ างคาถามเพือ่ พัฒนาลักษณะการคิด
– ปัญหาขยะเกีย่ วข้ องกับใครบ้ างบอกมาให้ มากทีส่ ุ ด
• คิดลึกซึ้ง
– นักเรียนพอจะสรุปได้ ไหมว่ าอะไรเป็ นต้ นตอหรือต้ นเหตุ อะไรเป็ นปลายเหตุ
ของปัญหาขยะ
• คิดไกล
– นักเรียนคิดว่ าปัญหาขยะของ กทม. จะอยู่ในสภาพอย่ างไรในอีก 5-10 ปี ข้ างหน้ า
เทคนิคการใช้ คาถาม R-C-A
• สะท้ อนความรู้ สึก (Reflect)
• เชื่อมโยง (Connect)
• ประยุกต์ ใช้ (Apply)
เทคนิคการใช้ คาถาม R-C-A
เป็ นคาถามทีใ่ ช้ ในการอภิปรายแสดงความรู้ สึกนึกคิดและการประยุกต์ ความคิด
อย่ างมีประสิ ทธิภาพหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แต่ ละครั้ง โดยครู หรือผู้จัด
กิจกรรมเป็ นผู้ต้งั ประเด็นคาถามทีส่ ะท้ อน (Reflect) ความรู้ สึกและความคิดที่
ได้ รับจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม เชื่อมโยง (Connect) กับประสบการณ์ ในชีวติ ที่
ผ่ านมาหรือทีต่ นเองได้ เรียนรู้ มาแล้ ว เป็ นองค์ ความรู้ ใหม่ แล้ วนามา ปรับใช้
(Apply) ในชีวติ ประจาวันของตนเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพือ่ ให้ ผ้ ูเรียนได้
เรียนรู้ บทเรียนสาคัญ รู้ จักคิดวิเคราะห์ ตัดสิ นใจและแก้ ปัญหาอย่ างสร้ างสรรค์
หลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนการสอนเนือ้ หาสาระตามบทเรียนแล้ ว
ลักษณะคาถาม R – C – A
คาถาม R : Reflect : การสะท้ อน
เป็ นคาถามทีใ่ ห้ ผู้เรียนได้ สะท้ อนความรู้สึกหรือมุมมองของตนเอง
ที่เกิดขึน้ ระหว่ างปฏิบัติกจิ กรรม
เป็ นการถามถึงสิ่ งที่ผู้เรียนสั งเกตเห็น มองเห็น สั มผัสได้ หรือถาม
ถึงความรู้ สึกของผู้เรียนที่เกิดขึน้ ขณะร่ วมกิจกรรมการเรียนรู้ ในกิจกรรม
ครั้งนั้น ๆ (ปัจจุบันนั้น)
ตัวอย่ าง
“ในขณะทากิจกรรม มีคาพูดใดบ้ างทีท่ าให้ นักเรียนสบายใจ ทาไมจึงรู้สึก
อย่ างนั้น”
“ในขณะฟังข่ าว เธอเชื่อทันทีหรือไม่ เพราะเหตุใด”
“ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในห้ องเรียนวันนี้ เกิดจากสาเหตุใด”
“มีความรู้สึกอย่ างไรทีไ่ ด้ รับมอบหมายจากเพือ่ นให้ ไปรายงานหน้ าชั้นเรียน”
คาถาม C : Connect : เชื่อมโยง
เป็ นคาถามที่ให้ ผู้เรียนได้ นึกย้ อนความรู้ ประสบการณ์ ที่เคยมี
มาก่อน (ความรู้ / ประสบการณ์ เดิม) แล้วนามาเชื่อมโยงกับความรู้
ความคิด หรือประสบการณ์ ทีเ่ กิดจากการเรียนรู้ ในชั่วโมงเรียนนั้น
ตัวอย่ าง
“ที่ผ่านมานักเรียนเคยโกรธเพือ่ นหรือไม่ ? โกรธเรื่องอะไร? ผลของ
การโกรธครั้งนั้นเป็ นอย่างไร? นักเรียนจัดการกับความโกรธนั้น
อย่ างไร?”
“นักเรียนเคยทาหน้ าทีอ่ ะไรบ้ างในกลุ่ม หน้ าทีใ่ ดทีช่ อบและทา
หน้ าที่ได้ ประสบความสาเร็จ นักเรียนทาหน้ าที่อย่ างไร”
คาถาม A : Apply (ปรับใช้ )
เป็ นการถามถึงสิ่ งที่ได้ เรี ยนรู้ มาในชั่ วโมงนั้นและจะนาไปใช้ กับ
ตนเอง / ส่ วนรวมในอนาคตอย่ างไร
เป็ นค าถามเพื่อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ฉุ ก ใจคิด สั่ ง สมความคิ ด แนวคิด
วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ดี เตรี ย มพร้ อมในการเผชิ ญ กั บ เหตุ ก ารณ์ หรื อ
สถานการณ์ ต่างๆ ในอนาคต
ตัวอย่ าง
“ในโอกาสต่ อไป หากจาเป็ นจะต้ องวิพากษ์ วจิ ารณ์ เพือ่ น เราจะใช้ คาพูดแบบใด
เพือ่ นจึงไม่ โกรธ” หรือ “หากพลาดพลั้งทาให้ เพือ่ นโกรธ นักเรียนจะพูด
อย่ างไร”
“หากคนในสั งคมไม่ ร้ ู จักบทบาทหน้ าทีข่ องตนและไม่ ทาหน้ าทีข่ องตน สั งคมจะ
เป็ นเช่ นไร? และในฐานะทีเ่ ป็ นนักเรียนเป็ นสมาชิกของครอบครัว จะปฏิบัติตน
อย่ างไร จึงจะถือว่ ารู้ บทบาทหน้ าทีข่ องตน”
ตัวอย่ าง
วิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3
เรื่อง ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม
1.มาตรฐานการเรียนรู้ (ว.1.2)
2.ตัวชี้วดั
อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนาความรู้ ไปใช้
ประโยชน์
3.จุดประสงค์ การเรียนรู้
3.1 จาแนกและอธิบายความผิดปกติของพันธุกรรม/โครโมโซม
3.2 สื บค้ นข้ อมูลและยกตัวอย่ างความผิดปกติ
4. สาระเนือ้ หา
4.1 ความผิดปกติทางพันธุกรรม
4.2 โรคทางพันธุกรรม
5. ชิ้นงาน
- แฟ้ม ความรู้ เกีย่ วกับโรคทางพันธุกรรม
6. กิจกรรมการเรียนรู้
6.1 สนทนา ทบทวนบทเรียนเรื่องการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
6.2 แบ่ งกลุ่มศึกษา สื บค้ น เรื่องความผิดปกติ/โรคทางพันธุกรรม
6.3 นักเรียนแต่ ละกลุ่มนาเสนอข้ อมูลจากการสื บค้ น
6.4 นักเรียนแต่ ละกลุ่มเลือกโรคทางพันธุกรรมทีเ่ กิดจากความผิดปกติทางโรคโมโซม
แบบต่ าง ๆ กลุ่มละ 1 โรค (อาการ สาเหตุ การรักษา วิธีการทีผ่ ้ ูป่วยใช้ ชีวติ ฯลฯ)
6.5 นาข้ อมูลมาทาแฟ้ มโรคทางพันธุกรรม รู ปแบบต่ าง ๆ (E – book, หนังสื อ, รู ปภาพ
ประกอบบทความ ฯลฯ)
6.6 แบ่ งปัน แลกเปลีย่ น เรียนรู้ รู ปแบบพืน้ ฐาน
6.7 สรุปความรู้ ร่วมกัน
ลองตั้งคาถาม R-C-A
R
C
A
การวัดและประเมิน
ความสามารถในการคิด
การวัดและประเมินความสามารถในการคิด
• แนวทางของนักวัดกลุ่มจิตมิติ
• การใช้ แบบสอบมาตรฐาน
• การใช้ แบบวัดความสามารถทางการคิด
• แนวทางของการวัดจากการปฏิบัตจิ ริง
• การวัดจากการปฏิบัติในชีวติ จริงหรือคล้ ายจริง
• การสั งเกตสภาพงานที่ปฏิบัติ (ภาระงาน)
• ผลงาน/ชิ้นงานต่ าง ๆ