การจัดแสงในห้องประชุม - สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.

Download Report

Transcript การจัดแสงในห้องประชุม - สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.

การจัดแสง
ในห้ องประชุม
ภาพตัวอย่างแสงน้อยเกินไป
(Under)
การจัดแสง
ในห้ องประชุม
ภาพตัวอย่างแสงมากเกินไป
(Over) สี จะซี ดจาง
การจัดแสง
ในห้ องประชุม
ภาพตัวอย่ างแสงพอดี
(สี จะสดใส)
การจัดมุมของภาพ
ภาพมุมต่า (Low angel) เหมาะสาหรับ
การทาให้วตั ถุดูน่าเกรงขาม มีความยิง่ ให ่
การจัดมุมของภาพ
ภาพมุมสู ง (High angel)
อาจจะสื่ อในอารมณ์ ท้อแท้ เสี ยใจ
การจัดมุมของภาพ
ภาพในระดับสายตา เหมาะสมทีส่ ุ ด
สาหรับการประชุ มในลักษณะการสนทนา
ช่ วยกันวิจารณ์ ของพวกเราหน่ อยครับ
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ภาพทีส่ วยจะประกอบด้ วย เรื่องราวในรู ป + มิติ + แสง + สี
นั้นคือ มี เทคนิค และ จินตนาการ
ช่ างภาพชาวจีนคนหนึ่งซึ่งมีชื่อเสี ยงเรียงนามว่ า หลี เหว่ ย (Li Wei)
ช่ างภาพฝี มือดีทมี่ ีความสามารถในการถ่ ายภาพ ทีม่ ีจินตนาการลา้ เลิศ
การจัดองค์ ประกอบของภาพ
ภาพทีส่ วยจะประกอบด้ วย เรื่องราวในรู ป + มิติ + แสง + สี
นั้นคือ มี เทคนิค และ จินตนาการ
ช่ างภาพชาวจีนคนหนึ่งซึ่งมีชื่อเสี ยงเรียงนามว่ า หลี เหว่ ย (Li Wei)
ช่ างภาพฝี มือดีทมี่ ีความสามารถในการถ่ ายภาพ ทีม่ ีจินตนาการลา้ เลิศ
การจัดองค์ประกอบของภาพ
จุดตัดเก้ าช่ อง โดยให้ จุดเด่ นของภาพถ่ าย อยู่ทบี่ ริเวณจุดตัด 4 จุด
การจัดองค์ประกอบของภาพ
วางฟักทองไว้จุดตัด ด้านซ้ายล่าง
การจัดองค์ประกอบ
ของภาพ
วางฟักทองไว้จุดตัด
ด้านซ้ายล่าง
การจัดองค์ประกอบของภาพ
วางกระรอกไว้จุดตัด ด้านซ้ายบน
การจัดองค์ประกอบของภาพ
กฏสามส่ วนในการถ่ายภาพท้องฟ้ า พื้นดิน หรื อน้ า
ตัวอย่าง แบ่งเป็ นฟ้ าสองส่ วนดินหนึ่งส่ วน
การจัดองค์ประกอบของภาพ
เส้นนาสายตา คือการพยายามหาวัตถุอะไรก็ได้มาดึงดูดสายตา
จะช่วยให้ภาพดูมีมิติข้ ึน
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ภาพที่มีองค์ประกอบทั้ง 3 ส่ วน คือ
กฏ จุดตัดเก้าช่อง กฏสามส่ วน เส้นนาสายตาพุง่ เข้าหาจุดตัด
การจัดองค์ประกอบของภาพ
เส้นสายตาอยูต่ รงไหน...???
สายตาของเด็กมองไปที่จุดตัดด้านบนคือของเล่นนัน่ เอง
เทคนิคการจัดแสง
ไฟหลัก (Key Light) เป็ นไฟทีส่ ่ องสว่ างให้ กบั ฉากหรือส่ องสว่ างให้ เห็นรู ปทรงพืน้ ฐานของวัตถุ ไฟ หลัก
นีเ้ ป็ นไฟทีก่ าหนดหน้ ากล้ อง (F-Stop) ปกติไฟหลักจะอยู่ประ มาณ 30 - 45 องศา ของเส้ นแกนระหว่ าง
กล้ องกับวัตถุนิยมใช้ ไฟสปอตแบบ Fresnel มีกาลัง 1 หรือ 2 กิโลวัตต์
เทคนิคการจัดแสง
ไฟเพิม่ (Fill Light) เป็ นไฟที่ใช้เพื่อเปิ ดเงา หรื อลบเงาอันเกิดจากไฟหลัก
ไฟเพิ่มนี้ตอ้ งมีความเข้มของแสงน้อยกว่าไฟหลัก ไม่เช่นนั้นแล้วภาพที่ได้
จะแบนไม่มีมิติ และไม่สวยงาม High Key หลอดไฟที่นิยมใช้ เป็ น
พวกสปอตหรื อไฟฟลัดหรื อไฟที่ให้แสงนุ่มนวลมากเช่น Scoop
อาจจะใช้บานประตูหรื อกระบังหน้า (Barn door) เพื่อควบคุมทิศทาง
ของแสงในทางตรงกันข้ามถ้าฉากนั้นต้องการให้มีแสงน้อย และ
ความตัดกันของแสงมากๆ ที่เรี ยกว่าจัดแสงแบบ Low Key อาจใช้
เฉพาะไฟสปอตที่มีควมเข้มของแสงน้อย ๆ ก็ได้
http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclass-uploads/libs/html/38745/unit05_007Technic_02.htm
ตัวอย่างการจัดแสง
ตัวอย่างการจัดแสง
อุณหภูมิของแสง
แหล่งกาเนิดแสงต่างกันจะให้อุณหภูมิของแสงที่แตกต่างกัน อุณหภูมิของแสงที่
มีค่าน้อยที่สุดจะเป็ นสี แดง และอุณหภูมิของแสงที่มีค่ามากที่สุด คือ สี น้ าเงิน
สี ของภาพที่อุณหภูมิแสงต่างๆ
- Tungsten เหมาะสาหรับสภาพแสงทีม่ าจากหลอด tungsten-quartz ซึ่งเป็ นไฟทีใ่ ช้ ถ่ายวีดโี อภายในอาคาร
- Day light เหมาะสาหรับงานรับถ่ ายวีดโี อภายนอกอาคาร
การเกิดภาพ Noise
แก้ไขโดยเพิ่ม ไฟจากหลอด Quartz หรื อหลอด LED หรื อ การหันวัตถุ
เข้าหาแสง หรื อการใช้ภาพ Zoom in เพื่อลดปริ มาณแสงจากด้านหลัง
การเลือกใช้ไมโครโฟน
ไดนามิคไมโครโฟน (DYNAMIC MICROPHONE)
มีแผ่ นไดอะแฟรม แผ่ นไดอะแฟรมและขดลวดซึ่ง
ศัพท์ ทางเทคนิคเรียกว่ าVOICECOILขดลวดนี้
จะเคลือ่ นทีต่ ัดกับเส้ นแรงแม่ เหล็กถาวรรูปตัว E
การทีข่ ดลวดเคลือ่ นทีต่ ัดเส้ นแรงแม่ เหล็กนีจ้ ะเกิด
สั ญญาณไฟสลับซึ่ง มีความถี่เท่ ากับ ความถี่ของคลืน่
เสี ยงทีก่ ระทบไดอะแฟรม
คุณสมบัติ มีความทนทานพอควร คุณภาพเสี ยง การตอบสนองความถี่และกาลัง
ออกอยูใ่ นเกณฑ์ดี การเก็บรักษาไมโครโฟนชนิดนี้จะต้องเก็บไว้ให้ห่างจาก
สนามแม่เหล็กเส้นเทปบันทึกเสี ยงเครื่ องบันทึกเสี ยงและลาโพง
การเลือกใช้ไมโครโฟน
คอนเดนเซอร์ ไมโครโฟน (CONDENER MICROPHONE)
คอนเดนเซอร์ ไมโครโฟนต้องมี
ไฟเลี้ยงจ่ายให้อยูต่ ลอดเวลา ที่มีการ
ใช้งานซึ่ งอยูร่ ะหว่าง 9-48 โวลท์
มีคุณสมบัติทางเสี ยงที่ดีเหมือน
ธรรมชาติ ใช้กบั งานที่ตอ้ งการการ
ตอบสนองทาง Transient เช่น
เครื่ องดนตรี ที่เป็ นนิยมใช้กนั มากใน
ห้องบันทึกเสี ยง และงานทัว่ ไป
การเลือกใช้ไมโครโฟน
ทิศทางการรับสั ญญาณของไมค์ โครโฟน
แบบรับเสี ยงได้ทิศทางเดียว
(UNI-DIRECTIONAL MIC) รับเสี ยง
ได้ทิศทางเดียวคือด้าน หน้า มีมุมรับเสี ยง
ค่อนข้างแคบ เหมาะที่จะนาไปใช้สาหรับ
การบรรยาย การบันทึกเสี ยง วงดนตรี
หรื อที่ที่ผพู ้ ดู อยูด่ า้ นหน้าไมโครโฟน
ช่วยกันเสี ยงหอนได้เป็ นอย่างดี
การเลือกใช้ไมโครโฟน
ทิศทางการรับสั ญญาณของไมค์ โครโฟน
แบบรับเสี ยงได้ 2 ทิศทาง
(BI-DIRECTIONALMIC)
รับเสี ยงได้ 2 ทิศทางที่อยูต่ รง
ข้ามกัน รับสั าณได้ดีท้ งั
ด้านหน้าและด้านหลังเท่ากัน
แต่ดา้ นข้างจะไม่ค่อยดี
การเลือกใช้ไมโครโฟน
ทิศทางการรับสั ญญาณของไมค์ โครโฟน
แบบรับเสี ยงได้รอบทิศทาง
(OMNI-DIRECTIONAL MIC)
รับเสี ยงได้รอบทิศทาง โดยมี ความไวใน
การรับเสี ยงเท่าๆ กัน เหมาะสาหรับใช้ใน
การแสดงบนเวที แต่มีขอ้ เสี ยคือ เสี ยงจะ
เข้ารอบทิศทาง ป้ องกันสั าณ
ย้อนกลับ (Feed back) ได้ยาก หรื อเกิด
เสี ยงหอนได้ง่ายนั้นเอง
การเลือกใช้ไมโครโฟน
ทิศทางการรับสั ญญาณของไมค์ โครโฟน
แบบรับเสี ยงบริ เวณด้านหน้ารู ปหัวใจ
(CARDIOID MIC) รับเสี ยงได้ทิศทาง
เดียว แต่สามารถรับเสี ยงได้เป็ น
มุมกว้าง รับสั าณเสี ยงได้ดีใน
ด้านหน้าของไมค์ แต่จะด้อยลงในทาง
ด้านข้าง คล้ายรู ปหัวใจหรื อใบโพธิ์
นิยมใช้กนั มากในปัจจุบนั สาหรับ
ไมค์โครโฟนที่ถือด้วยมือ
ไมค์ ชุดประชุม
ไมค์ ชุดประชุม
การเลือกใช้ไมโครโฟน
SM58® Cardioid Dynamic Microphone
Specifications
Type
Dynamic
Frequency Response
50 to 15,000 Hz
Polar Pattern
Cardioid
Sensitivity (at 1,000 Hz Open Circuit Voltage) –54.5 dBV/Pa (1.85 mV)
1 Pa = 94 dB SPL
Impedance
Rated impedance is 150Ω (300Ω actual) for connection to
microphone inputs rated low impedance
Connector
Three-pin professional audio connector (male XLR type)
ความหมายของคุณสมบัติเฉพาะ
- ความไวในการรับเสี ยง(Sensitivity) คือความสามารถในการรับความแรงของคลืน่ เสี ยงทีม่ าจาก
แหล่ งกาเนิดเสี ยง โดยวัดจากสั ญญาณทีไ่ ด้ ออกจากไมโครโฟนผ่ านไปเข้ าเครื่องขยายเสี ยง
เช่ น -90 dB -60dB -45dB เป็ นต้ น ค่ าติดลบมาก จะมีความไวกว่ า ค่ าติดลบน้ อย
- ผลในการตอบสนองความถีของเสี ยง (Frequency Response) คือความสามารถของไมโครโฟนในการ
รับความถี่ของคลืน่ เสี ยงได้ กว้ าง ถ้ าต้ องการคุณภาพของเสี ยงทีด่ เี ยีย่ ม ควรต้ องใช้ ไมโครโฟนทีใ่ ห้
ผลตอบสนองความถี่ทกี่ ว้ างและเก็บความถี่ได้ ละเอียด ยิง่ ขึน้ ควรอยู่ในช่ วง 50-15,000 เฮิรตซ์
- Impedance ของไมโครโฟน เป็ นเสมือนตัวทีบ่ อกว่ า ไมโครโฟนนั้นมีคุณภาพประสิ ทธิภาพดี
ขนาดไหน พูดอีกอย่ างหนึ่งก็คอื low impedance is better than high impedance
อิมพีแดนซ์ ต่า มีค่าอิมพีแดนซ์ อยู่ในช่ วง 200 ถึง 600 โอห์ มซึ่งมีคุณภาพดีให้ กาลังของสั ญญาณออกสู ง
(High Power Output) ไม่ มเี สี ยงรบกวนสามารถใช้ กบั สายยาว ๆ ได้ แต่ จะมีความไวในการรับเสี ยงต่า
ใช้ ต่อร่ วมกับเครื่องขยายเสี ยงทีช่ ่ อง Low Impedance ข้ อสั งเกตุง่าย ๆ ประการหนึ่งก็คอื สายไมค์ ที่
ใช้ Jack Tr มักจะเป็ นประเภท อิมพีแดนซ์ สูง สายไมค์ ทใี่ ช้ สายประเภท XLR มักจะเป็ นพวก
อิมพีแดนซ์ ต่า
เทคนิคสาหรับการป้ องกันเสี ยงก้ องและเสี ยง Feedback
Reberb เป็ นเสี ยงก้องสะท้ อนกลับไปกลับมาระหว่ างผนัง พืน้ และเพดานห้ อง
Feedback เป็ นเสี ยงหอนทีเ่ กิดขั้นจากลาโพงป้อนเข้ าสู่ ไมโครโพนเข้ าเครื่องขยาย
ให้ สัญญาณแรงขึน้ แล้วออกจากลาโพงเข้ าสู่ ไมโครโฟน
เทคนิคสาหรับการป้องกันเสี ยงก้องและเสี ยง Feedback
- พูดให้ ใกล้ ไมโครโฟนทีส่ ุ ด นอกจากจะใกล้ แล้ วยังต้ องพูดให้ ชัดเจนและมีความดังเพือ่ ที่จะไม่
ต้ องปรับการขยายเสี ยงให้ มากนัก
- ไมโครโฟนตัวไหนที่ยงั ไม่ ได้ ใช้ งาน ถ้ าพบว่ ามีกใ็ ห้ ลดความดังของไมโครโฟนนั้นลงสุ ด
หรือไม่ กก็ ดปุ่ ม Mute ในช่ องสั ญญาณไมโครโฟนตัวนั้น
- พยายามตั้งไมโครโฟนทุกตัวให้ อยู่ในตาแหน่ งคงทีไ่ ม่ มกี ารเคลีอ่ นย่ ายเพราะการเคลือ่ นย้ าย
ไมโครโฟนไปมามีผลต่ อระยะทางใกล้ไกลของไมโครโฟนกับลาโพงซี่งง่ ายต่ อการเกิด
Feedback
เทคนิคสาหรับการป้ องกันเสี ยงก้ องและเสี ยง Feedback
- ใช้ไมโครโฟนประเภทรับเสี ยงในทิศทางเดียวประเภท Cardioid หรื อ Hyper-Cardioid
แล้วตั้งในทิศทางตรงกันข้ามกับแนวเสี ยงของลาโพง ไมโครโฟนประเภทนี้จะมีความไวใน
การรับเสี ยงต่าในด้านหลังของตัวมัน
- พยายามหลีกเลี่ยงการจับไมโครโฟนใกล้ส่วนหัว หรื ออย่ากาหัวไมโครโฟน
- ติดตั้งลาโพงให้อยูด่ า้ นหน้าของไมโครโฟนเพื่อป้ องกันเสี ยงลาโพงเข้าสู่ ไมโครโฟนโดยตรง
- หลีกเลี่ยงการติดตั้งลาโพงในลัษณะที่เสี ยงมีโอกาสสะท้อนผนังกลับเข้าสู่ ไมโครโฟน
- ตูล้ าโพงอย่าให้สูง และมุมของลาโพง ต้องโพกัสกันที่กลางห้องประชุม หรื อ เอาลาโพงมา
วางอีกข้างละใบให้หกั ล้างกันบ้าง เฟสของเสี ยงต้องถูกด้วยนะ
- ใช้กราฟฟิ คอีคิวมาแก้ปั หา ด้วยการเน้นย่านความถี่เสี ยงกลางขึ้นมาระหว่าง 1 kHz ถึง
5 kHz ในขณะเดียวกันเสี ยงก้องมากๆมักจะมีปั หาเสี ยงในย่านความถี่ระหว่าง 125 Hz
ถึง 250 Hz ลองตัดความถี่ในช่วงนี้ ดู
- วัตถุที่มีรูพรุ น ทั้งหลาย สามารถดูกลืนเสี ยงได้มาก ถ้านาวัตถุที่มีรูพรุ นเหล่านี้มาประกบเข้า
กับกาแพงแข็งเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ น ฉนวนกันเสี ยงได้เป็ นอย่างดี
อุปกรณ์ ป้องกันการ Feedback
อีควอไลเซอร์ (Equalizer) คอมเพรสเซอร์ (Compresser)
ฟิ ลเตอร์ (Narrow Banwidth Filter) และนอยส์เกท (Noise Gate)
ความถีเ่ สียงที่มีผลต่ อเสียงตา่ อยู่ในช่ วงประมาณ 80 Hz – 400 Hz
ความถีเ่ สียงที่มีผลต่ อเสียงกลาง อยู่ในช่ วงประมาณ 630Hz-4KHz
ความถีเ่ สียงที่มีผลต่ อเสียงแหลม อยู่ในช่ วงประมาณ 5KHz-16KHz
วัสดุดูดซับเสี ยง(Acoustic)
ข้อปฏิบตั ิในการ Conference
- ทาสอบความพร้ อมก่ อนการประชุมล่ วงหน้ า 1 วัน
- เข้ าห้ องตามที่กาหนดไว้ เท่ านั้น
- เข้ าห้ องล่ วงหน้ าอย่ างน้ อย 1 ชั่วโมง หลังจากนั้น สพฐ.
จะปิ ดห้ อง ให้ เปิ ดเครื่องและตรวจสอบความพร้ อมให้
สพฐ. สามารถเรียก ท่ านเข้ าห้ องให้ เอง
- ทดสอบเสี ยงกับ สพฐ. โดย Fix ตาแหน่ ง ตาม
สถานการณ์ จริง เพือ่ ให้ ระดับเสี ยงพอดี
- กรุณาตรวจสอบ Mute Mic เมื่อทดสอบเสี ยงแล้ว
ข้อปฏิบตั ิในการ Conference
- ปรับตาแหน่ งภาพและแสง ให้ ชัดเจน สวยงาม
- มีป้ายหรือฉากหลังชื่อ สพท. ให้ เห็นชัดเจน
- แนะนาผู้เข้ าประชุม ให้ สามารถ ปิ ดเปิ ดไมค์ เมื่อมีการ
โต้ ตอบ กับ สพฐ. หรือ อยู่อานวยความสะดวกในขณะ
ประชุม
- เมื่อต้ องการถาม ถ้ าอยู่หน้ าจอให้ ยกมือขึน้ แล้ วแจ้ งชื่อ
สพท. ให้ ถามได้ เลย กรณีทไี่ ม่ ได้ อยู่หน้ าจอ ให้ แจ้ งชื่อ
สพท. และถามได้ เลย ภาพ สพท.จะขึน้ มาอัตโนมัติ
URL สาหรับระบบ Conference
เว็บไซต์ สานักนโยบายและแผน www.plan.obec.go.th
Scopia desktop
http://203.172.249.217/
Your name ใส่ ชื่อ สพท.
Meeting ID 511
Scopia Moblie
http://203.172.249.215/
Username : doc1
Meeting ID 511
password : 3382
การสารองระบบ
เพือ่ มิให้ การประชุมต้ องขาดหาย ควรสารองระบบการดู
การถ่ ายทอดสดผ่ านเว็บไซต์ ไว้ ให้ พร้ อมหากเกิดปัญหากับ
ระบบ Conference ที่
http://210.246.189.120 ช่ องทาง สพฐ.1
http://210.246.188.59 ช่ องทาง สพฐ.2
http://202.143.174.50 ช่ องทาง สพฐ.3
http://www.dmiinter.com/project/obec/cat.html ช่ องทาง
Cat
http://www.dmiinter.com/project/obec/tot.html ช่ องทาง tot
เว็บไซต์ สานักนโยบายและแผน www.plan.obec.go.th