กระบวนการในการผลิต Production - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript กระบวนการในการผลิต Production - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

กระบวนการในการผลิต
Production
กระบวนการในการผลิต
ก่อนการผลิต Pre Production



การซ้อมถ่ายภาพ
– ซ้อมแห้ง
– ซ้อมจริง
บันทึกเสียง
– จากสถานทีจ่ ริง
– จากห้องบันทึกเสียง
กราฟิก/วัสดุประกอบ
– วัสดุประกอบ
– งานฉาก
ก่อนการผลิต การซ้อม
 การซ้อมถ่ายภาพ
– ซ้อมแห้ง
– ซ้อมจริง
– ซ้อมผูแ้ สดง
– ซ้อมกล้อง
ก่อนการผลิต บันทึกเสียง
 บันทึกเสียง
– จากสถานทีจ่ ริง
– จากห้องบันทึกเสียง
ก่อนการผลิต กราฟิก/วัสดุประกอบ
 กราฟิ ก/วัสดุประกอบ
– วัสดุประกอบ
– งานฉาก
ขณะผลิต Production
ถ่ายภาพ
– indoor
– Outdoor
– ประเภทของการถ่ายทา
 ENG
 EFP
 SNV
 บันทึกเสียง
– ขณะถ่ายทา
– พากย์
 กราฟิ ก
– in Scene
– งานฉาก

ขณะผลิต ถ่ายภาพ

ถ่ายภาพ
– Indoor ภายในสถานที่ เป็ นการถ่ายทาที่ สามารถควบคุมทุกอย่างได้ เช่น
เสียง แสง สิง่ แวดล้อม
– Outdoor เป็ นการถ่ายทาในสถานทีจ่ ริง ให้ความสมจริง แต่ควบคุมยาก อาจ
ต้องใช้ ร่วมกับ การถ่ายในสถานที่
ขณะผลิต ประเภทของการถ่ายทา
ประเภทของการถ่ายทา
 ENG
 EFP
 SNV
การผลิตรายการ ENG
1.วิธีการผลิตรายการโทรทัศน์ โดยใช้ กระบวนการตัดต่ อแบบ
ภาพยนตร์ หรือข่ าว

ในการผลิตภาพยนตร์ ผูผ้ ลิตจะต้องถ่ายภาพและบันทึก
เรื่ องราวต่าง ๆ ไว้จนครบ แล้วจึงนามาตัดต่อภาพและเสี ยงของฉากต่าง
ๆ เข้าด้วยกันจนครบตามบทที่กาหนดไว้

ประเภทของการถ่ายทา ENG
• การถ่ายข่าว ENG ( Electronic News Gathering ) ใช้ กล้ องตัวเดียว
•มักจะใช้ กบั งานผลิตข่าว สกู๊ป,สารคดี การถ่ายทาภาพยนตร์ หรื อละคร
โทรทัศน์ที่ ต้ องการลดงบประมาณ
•อุปกรณ์ประกอบด้ วย
กล้ องวีดิทศั น์
ไมค์โครโฟน
รี เฟลก – ไฟกลางคืน
ขาตังกล้
้ อง
การผลิตรายการ EFP



2.วิธีการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ให้ แล้ วเสร็จภายในสตูดโิ อ
การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ให้แล้วเสร็จภายในสตูดิโอ หรื อ “StudioFinished Pro-gramming Approach” เป็ นวิธีการผลิตที่ใช้กนั มาตั้งแต่เริ่ มมี
วิทยุโทรทัศน์ แม้ทุกวันนี้กย็ งั ใช้กนั อยูท่ วั่ ไป ในสถานีโทรทัศน์ที่ความพร้อมด้านเทปภาพทัศน์
ยังมีไม่มาก วิธีการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์แนวนี้คือ ผูผ้ ลิตรายการต้องจัดเตรี ยมวัสดุรายการ
ฉาก งานศิลปกรรม สไลด์ ฟิ ล์มภาพยนตร์ เทปภาพทัศน์ ผูร้ ่ วมรายการ และผูแ้ สดงให้พร้อม และ
มีการซ้อมล่วงหน้าเป็ นอย่างดี เมื่อถึงเวลาออกอากาศก็ดาเนินรายการ และการแสดงตามบท
โทรทัศน์ที่ได้ซอ้ มไว้แล้ว
แม้ในปัจจุบนั ที่มีเครื่ องเทปภาพทัศน์เข้ามาช่วย วิธีการผลิตรายการตามแนวนี้
ก็ยงั ใช้อยู่ โดยมีการออกอากาศรายการล่วงหน้า และบันทึกเทปภาพทัศน์ไว้ ข้อดีกค็ ือ หากมีการ
ผิดพลาดก็สามารถหยุดเครื่ องเทปภาพทัศน์และแก้ไขได้อีก นับเป็ นวิธีที่ประหยัดและใช้เวลา
น้อย หากมีการตระเตรี ยมและซ้อมไว้อย่างดี ก็จะได้รายการที่มีคุณภาพดีทีเดียว เพียงแต่การผลิต
รายการวิธีน้ ีไม่สามารถใช้เทคนิคพิเศษที่สลับซับซ้อนได้แต่ทดแทนได้ดว้ ยการผลิตเป็ น
ภาพยนตร์แทน
ประเภทของการถ่ายทา EFP
• การถ่ายแบบงานสนามอิเลคทรอนิกส์
•( Electronic Field Production ) ใช้
กล้ องหลายตัวมีหน่วยควบคุมกล้ อง ( CCU ) ทางานร่วมด้ วย
ประเภทของการถ่ายทา EFP
อุปกรณ์ประกอบด้วย
กล้องวีดิทศั น์ 2 กล้อง
ไมค์โครโฟน
รีเฟลก – ไฟกลางคืน
ขาตัง้ กล้อง
อุปกรณ์ควบคุมกล้อง CCU
เครื่องบันทึกเทป
สวิทช์เลือกภาพ
อุปกรณ์ในการสื่อสาร
ประเภทของการถ่ายทา EFP
กล้องวีดิทศั น์ 2 กล้อง
อุปกรณ์ในการตรวจภาพ Monitor
CCU
Switcher
สวิทช์เลือกภาพ
CCU
Mixer
เครื่องผสมเสียง
ไมค์โครโฟน
เครื่อง
บันทึกเทป
ประเภทของการถ่ายทา SNV
• การถ่ายแบบผ่านดาวเทียม Satellite News Vehicles
การสือ่ สาร
สาย
 อินเตอร์คอม
 โทรศัพท์
ไร้สาย
 วิทยุรบ
ั ส่ง
 โทรศัพท์
การสือ่ สารวิทยุรบั ส่ง
 วิทยุรบ
ั ส่ง
การสือ่ สารวิทยุรบั ส่ง
วิทยุรบั ส่งทางานเป็ นเครือข่าย วงกว้าง ทุกเครือ่ งฟงั ได้หมด ไร้สาย
 ใช้กดเมือ่ จะพูดเป็ นระบบ Haft Duplex ผลัดกันพูด

Radio Code ว.
ว.0
ขอทราบคาสัง่ คาสัง่
ว.23
ผ่าน...(สถานที่)
ว.59
เปลี่ยนทิ ศทาง
ว.00
รอก่อน ให้คอยก่อน
ว.24
เวลา
ว.60
ญาติ เพื่อน
ว.01
ที่ทางาน ที่โรงเรียน
ว.25
ไปยัง...(สถานที่
ว.61
ขอบคุณ สวัสดี
ว.02
ที่บ้าน
ว.26
ให้ติดต่อทางวิ ทยุให้น้อยที่สดุ
ว.62
สิ่ งของ
ว.1
จุดที่กาลังออกอากาศ
ว.27
ติ ดต่อทางโทรพิ มพ์
ว.63
บ้านพัก
ว.2
ได้ยินหรือไม่/ได้ยินแล้ว
ว.28
ประชุม
ว.64
ธุระส่วนตัว
ว.3
ทวนข้อความ
ว.29
ธุระ
ว.65
ภรรยามาพบ
ว.4
ปฏิ บตั ิ หน้ าที่ ดาเนิ นการ
ว.30
จานวน คน สิ่ งของ
ว.66
ขอพบเรือ่ งราชการ
ว.5
ราชการลับ
ว.31
เปลี่ยนไปใช้ช่องความถี่ 1
ว.67
ขอพบเรือ่ งส่วนตัว
ว.6
ขอติ ดต่อ
ว.32
เปลี่ยนไปใช้ช่องความถี่ 2
ว.68
แจ้งความ
ว.7
ขอความช่วยเหลือ
ว.33
เปลี่ยนไปใช้ช่องความถี่ 3
ว.69
ระมัดระวัง
ว.8
ข่าว, ข่าวสาร ข้อความ
ว.34
เปลี่ยนไปใช้ช่องความถี่ 4
ว.70
ถึงแก่กรรม
ว.9
เหตุฉุกเฉิ น
ว.35
ให้เตรียมพร้อมเพื่อปฏิ บตั ิ การ
ว.71
พักผ่อน
ว.10
อยู่ประจาที่ ติ ดต่อทาง ว.ได้
ว.36
ให้เตรียมพร้อมเต็มอัตรา
ว.73
ด้วยความปรารถนาดี
ว.11
หยุดพัก ติ ดต่อทาง ว. ได้
ว.37
ให้เตรียมพร้อมครึง่ อัตรา
ว.78
คลื่นอื่นมาแทรก
ว.12
หยุดพัก ติ ดต่อทาง ว.ไม่ได้
ว.38
ให้เตรียมพร้อม 1 ใน 3
ว.81
ติ ดธุระ
ว.13
ติ ดต่อทางโทรศัพท์
ว.39
การจราจรติ ดขัด
ว.88
รักและจุมพิ ต
Radio Code ว.
ว.14
เลิกงาน ปิดสถานี
ว.40
อุบตั เิ หตุจากรถ
ว.99
อย่างยุง่ เกีย่ ว
ว.15
พบ
ว.41
สัญญาณไฟจราจรเสีย
ว.100
ขอโทษ
ว.16
ทดสอบสัญญาณวิทยุ
ว.42
การเดินทางเป็ นขบวน
ว.600
แฟน
ว.16-1
จับใจความไม่ได้
ว.43
จุดตรวจสอบยานพาหนะ
ว.601
เครื่องวิทยุรบั -ส่ง
ว.16-2
ไม่ชดั เจน แต่พอฟงั ได้
ว.44
โทรสาร
ว.602
สายอากาศวิทยุรบั -ส่ง
ว.16-3
ชัดเจนพอใช้
ว.45
เหตุการปกติ
ว.603
รถยนต์
ว.16-4
ชัดเจนดี
ว.50
ว.604
โทรทัศน์ บันเทิง
ว.16-5
ชัดเจนดีมาก
ว.51
รับประทานอาหาร
ปว่ ย
ว.605
รับประทานอาหาร
ว.17
มีอนั ตราย
ว.52
ยกเลิก
ว.606
ไม่ถูกต้อง (โกหก)
ว.18
รถเสีย
ว.53
อยูร่ า้ นอาหาร
ว.607
ทาธุระส่วนตัว(เข้า
ห้องน้ า)
ว.19
ถูกโจมตี สถานีถูกปิด
ว.54
อยูโ่ รงแรม
ว.608
ถูกรบกวน (บุคคล)
ว.20
จับกุม
ว.55
ผกก. มาตรวจ
ว.609
ถูกรบกวน (อากาศ)
ว.21
ออกเดินทางจาก
...(สถานที)่
ว.56
เพือ่ นมา
ว.22
ถึง...(สถานที)่
ว.57
กาลังโดยสารทางเรือ
Radio Q Code
QRD
เดินทางจาก...ไปยัง...
QRX
พักการติดต่อจนถึงเวลา...
QRK
ความชัดเจน (1-5)
QRZ
ใครเรียกข้าพเจ้า
QRL
ยุง่ , มีธุระ
QSA
ความแรงสัญญาณ (1-5) (S1-9)
QRM
คลื่นรบกวน-มนุ ษย์ (1-5)
QSB
สัญญาณจางหาย
QRN
คลื่นรบกวน-ธรรมชาติ (1-5)
QSL
ยืนยันว่ารับความได้ถูกต้อง
QRO
เพิม่ กาลังส่ง
QSO
การสนทนาทางวิทยุ
QRP
ลดกาลังส่ง
QSP
ถ่ายทอดข้อความ
QRT
ปิดสถานี
QSY
เปลีย่ นความถี่
QRU
หมดข้อความ
QTH
จุดทีอ่ อกอากาศ
QRV
พร้อมทีจ่ ะรับข้อความ
QTR
ขอเทียบเวลา
CQ
ทุกคนใสความถีโ่ ปรดทราบ
YL
สุภาพสตรี
73
ส่งความปรารถนาดี (ทัวไป)
่
OM
สุภาพบุรุษ เพือ่ นสนิท
88
ส่งความปรารถนาดี (เพศตรงข้าม)
XYL
ภรรยาของนักวิทยุ
Roger
รับคาสัง่ พร้อมปฏิบตั ติ าม
Standby
(เฉพาะทีส่ นิทกันมากเท่านัน้ )
ยังเปิดวิทยุฟงั อยู่
Standing by
พร้อมรับข่าวสารและคาสังในทั
่ นที
Clear
สิน้ สุดภารกิจ เลิกใช้ความถีแ่ ล้ว
การสือ่ สาร อินเตอร์คอม
 อินเตอร์คอม
การสือ่ สาร Slate/Clappers Board
 Slate/Clappers Board
เสียง
 ปากเปล่า
 โทรโข่ง
การเริม่ ถ่ายทา
เริม่ ถ่าย ผูก้ ากับให้ควิ
ในการถ่ายภาพยนตร์อาจนับ
กล้องพร้อม ....
กล้อง......พร้อม
ผูแ้ สดงพร้อม ....
ผูแ้ สดง .....พร้อม
เทปบันทึก 5 4 3 (2) (1)
(Action)
Slate,Capture Board
การหยุดการถ่ายทา
 เมือ่ สิน
้ สุดการบันทึก ผูก้ ากับสัง่
 Cut
ตัด
 Take ทาซ้า
 Fade จาง
 Insert ต้องการภาพบางภาพเพิม
่
 Move ย้าย
ทีมงาน
(เริม่ ฉากต่อไปได้)
(ถ่ายฉากเดิมใหม่)
(ภาพค่อยๆจาง)
(ถ่ายบางจุด)
(เคลือ่ นกองถ่าย)
เมือ่ สิน้ สุด การบันทึกภาพ ผูช้ ว่ ยต้อง บันทึกScene/shot/takeทีใ่ ช้ทนั ที
สัญญาณมือ Time Cue 1
สัญญาณมือ Time Cue 2
สัญญาณมือ Time Cue 3
สัญญาณมือ Time Cue 4
สัญญาณตัวอักษร Cue card & Prompt
การกากับรายการโทรทัศน์


การกากับรายการถือว่าเป็ นหัวใจในการผลิตรายการโทรทัศน์ ถึงแม้วา่ จะมี
การเตรี ยมการทุกอย่างดีเพียงไร แต่ถา้ เกิดความบกพร่ องในการกากับรายการ ย่อมทาให้เกิดความ
ล้มเหลวในรายการนั้นได้ ดังนั้นบุคคลที่จะเป็ นผูก้ ากับรายการโทรทัศน์ จะต้องเป็ นผูท้ ี่มี
ความสามารถสูง มีความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการได้อย่างดีเยีย่ ม เพื่อที่จะถ่ายทอดเนื้อหา
ออกมาด้วยมุมกล้อง การลาดับภาพ ตลอดจนการสร้างองค์ประกอบอื่น ๆ ออกมาให้ผชู้ มมีความ
เพลิดเพลินและมีสุนทรี ย ์
ขณะที่นงั่ อยูใ่ นฐานะผูก้ ากับรายการ จะต้องมีความสามารถในการมอง การคิด
และการสัง่ การได้อย่างฉับไวในเวลาเดียวกัน ด้านหน้าจะมีโมนิเตอร์จากภาคสัญญาณเข้าต่าง ๆ
หลายเครื่ องที่จะต้องมองอยูต่ ลอดเวลา ข้าง ๆ ก็จะมีผชู ้ ่วยผูก้ ากับรายการ ผูก้ ากับภาพ ผูก้ ากับ
เสี ยง และผูก้ ากับแสง ที่คอยปฏิบตั ิตามคาสัง่ ผูก้ ากับรายการ และในห้องจัดรายการก็ยงั มีผกู้ ากับ
เวที ช่างภาพ ฯลฯ ที่คอยปฏิบตั ิตามคาสัง่ เช่นกัน
หลักพืน้ ฐานในการกากับรายการ 1
1. ต้องศึกษาบทโทรทัศน์อย่างกระจ่างก่อนรายการ
 2. ก่อนเริ่ มต้นซ้อมรายการหรื อจัดทารายการจริ ง ควรที่จะตกลงกับ
ฝ่ ายต่าง ๆ ในห้องจัดรายการ เพื่อความเข้าใจพื้นฐานที่ตรงกัน จากนั้น
ขึ้นมาบนห้องควบคุมรายการโดยเร็ ว
 3. เมื่ออยูใ่ นห้องควบคุมรายการ หากต้องการร้องขอหรื อสัง่ การใด ๆ
ในห้องจัดรายการให้ใช้ประโยชน์จากผูก้ ากับเวทีให้มากทีส่ ุ ด หากไม่มี
เหตุสุดวิสยั จริ ง ๆ แล้วผูก้ ากับรายการสามารถดูเหตุการณ์ต่าง ๆ ในห้อง
จัดรายการจากโมนิเตอร์โดยอาจให้แต่ละกล้องถ่ายระยะไกล

หลักพืน้ ฐานในการกากับรายการ 2
4. ระลึกเสมอว่าทุกฝ่ ายคอยรับการร้องขอหรือสังการจากผู
่
ก้ ากับรายการ
หากผูก้ ากับรายการไม่สงการก็
ั่
ไม่อาจปฏิบตั ิ ได้ ดังนัน้ ผูก้ ากับรายการ
จะต้องสังให้
่ ครบทุกฝ่ ายที่ต้องการ ไม่ว่าจะเป็ นแสง เสียง เทเลซีน หรือ
เทปโทรทัศน์ และควรสังด้
่ วยถ้อยคาที่ชดั เจน
 5. ขณะกากับรายการตาจะต้องมองอยู่ที่โมนิเตอร์ภาคสัญญาณเข้าทุก ๆ
ตัว (โมนิเตอร์จากกล้อง 1 กล้อง 2 เทเลซีน ฯลฯ) อย่าไปมองที่ปรีวิว
โมนิเตอร์ (โมนิเตอร์สาหรับคูภาพก่อนออกอากาศ) หรือ
โปรแกรมโมนิเตอร์(โมนิเตอร์ที่กาลังออกอากาศ) เพราะจะทาให้เสีย
สมาธิหรือลืมดูภาพอื่น ๆ ต่อไปได้ ที่โมนิเตอร์ภาคสัญญาณเข้าจะมีไฟ
แดงบอกอยู่แล้วว่าภาพจากโมนิเตอร์ใดกาลังออกอากาศอยู่ ต้องฝึ กการ
ใช้ไฟสัญญาณนี้ ให้เคยชิน ขณะที่มองโมนิเตอร์ หูจะต้องคอยฟังผูแ้ สดง
หรือพิธีกรในรายการนัน้ ด้วย

หลักพืน้ ฐานในการกากับรายการ3
6. ต้องนึ กถึงภาพต่อไปหรือเหตุการณ์ ต่อไปอยู่ตลอดเวลา เพื่อจะได้
เตรียมการหรือสังการได้
่
ทนั
7. ในกรณี ใช้ภาพแทรก (INSERT) จากภาพยนตร์หรือเทปโทรทัศน์
จะต้องจับเวลาที่หวั ภาพยนตร์หรือเทปโทรทัศน์ ไว้ก่อนว่าเป็ นเวลากี่
วินาทีจึงจะถึงตรงที่ต้องการ เพื่อสามารถตัดภาพได้พอดีโดยไม่มี
ช่องว่าง
 8. การกากับรายการไม่ใช่กากับภาพที่ออกมาเพียงอย่างเดียว ควร
กากับการแสดงออกของพิธีกรหรือผูแ้ สดงด้วย

หลักพืน้ ฐานในการกากับรายการ4
9. ต้องควบคุมเวลาให้เป็ นไปตามที่กาหนดอย่างเคร่งครัด
 10. หากเกิดความผิดพลาดขณะดาเนินการรายการ จะต้องแก้ไข
โดยเร็วที่สดุ การตกตลึงมีแต่จะทาให้เกิดความเสียหายมากขึน้
 11. เมื่อเสร็จสิ้นรายการแล้ว ควรแสดงความขอบคุณต่อทุก ๆ ฝ่ าย
รวมทัง้ ผูท้ ี่มาร่วมรายการด้วย
 อย่างไรก็ตามลักษณะของภาพบางลักษณะ จะไม่เหมือนกัน เช่น
ระหว่างผูห้ ญิงกับผูช้ าย โดยขึน้ อยู่กบั ทรงผมด้วย นอกจากนี้ ในกรณี
ที่ถ่ายสิ่งที่ไม่ใช่ตวั บุคคล เช่น สัตว์ สิ่งของ การสังกล้
่ องนอกจากจะ
ระบุลกั ษณะภาพแล้ว ยังจะต้องระบุสิ่งที่ต้องการด้วย เพื่อไม่สร้าง
ความสับสนให้ช่างภาพ เช่น CU - ตัวกบ BCU – ตาของกบ

การกากับเวที


การกากับเวทีเป็ นหน้าที่ของผูก้ ากับเวที ซึ่ งเป็ นบุคคลที่ปฏิบตั ิหน้าที่เสมือนตัวแทนของผู้
กากับรายการในห้องจัดรายการ เพราะในขณะที่ซอ้ มหรื อทารายการจริ ง ๆ ผูก้ ากับรายการ
จะต้องปฏิบตั ิหน้าที่ในห้องควบคุมรายการ ผูก้ ากับเวทีจะเป็ นบุคคลที่คอยรับคาสัง่ ต่าง ๆ จากผู ้
กากับรายการ ดูแลความเรี ยบร้อยภายในห้องจัดรายการ เพื่อให้การดาเนินรายการทั้งตอนซ้อม
และตอนออกอากาศจริ งเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยที่สุด อาทิ การติดตามบุคคลฝ่ ายต่าง ๆ เข้า
ประจาตาแหน่งหน้าที่ การตรวจสอบความถูกต้องของฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก ความพร้อม
ของแค็ปชัน (หากใช้กล้องสตูดิโอถ่าย) ดูวา่ ผูแ้ สดงหรื อพิธีกรพร้อมแล้วหรื อยัง รวมไปถึงการ
รักษาวินยั ภายในห้องจัดรายการด้วย
ผูก้ ากับเวทีจะมีหูฟัง ซึ่งอาจจะใช้ระบบสื่ อสารด้วยอินเตอร์คอม (INTERCOM)
หรื อโดยวิทยุกไ็ ด้ เพื่อรับฟั งคาสัง่ ต่าง ๆ จากผูก้ ากับรายการ หากผูก้ ากับเวทีตอ้ งการจะพูดกับผู ้
กากับรายการใช้พดู ผ่านไมโครโฟนในห้องจัดรายการหรื อใช้สญ
ั ลักษณ์ให้ทราบโดยผ่านทาง
หน้ากล้องโทรทัศน์กไ็ ด้
ในการซ้อมรายการ
ผูก้ ากับเวทีจะเป็ นบุคคลคนเดียวเท่านั้นที่จะหยุดการซ้อมได้ (โดย
คาสัง่ จากผูก้ ากับรายการอีกทีหนึ่ ง) เมื่อผูก้ ากับรายการต้องการหยุดพัก ผูก้ ากับ
เวทีจะต้องบอกทุกคนในห้องจัดรายการ ในขณะที่จะบันทึกเทป เขาจะเป็ นผูท้ ี่นบั
ถอยหลังในห้องจัดรายการด้วย หลังจากการบันทึกเทปโทรทัศน์ ขณะที่กาลังมีการ
ตรวจสอบการบันทึกอยู่ ผูก้ ากับเวทีจะต้องให้ทุกคนอยูใ่ นตาแหน่งเดิมก่อน เพื่อว่า
หากเกิดข้อผิดพลาดในการบันทึก จะให้ดาเนินการได้ใหม่ทนั ที

ในขณะดาเนินรายการ ผูก้ ากับเวทีจะต้องให้คิวต่าง ๆ แก่ผแู้ สดง
หรื อพิธีกร ซึ่ งในขั้นนี้ผกู ้ ากับเวทีไม่สามารถใช้เสี ยงได้ จึงต้องอาศัยสัญญาณเข้า
ช่วย

อุปสรรคในการถ่ายทา
ในการถ่ายทาโทรทัศน์น้ นั อาจมีการถ่ายทาได้อย่างเรี ยบร้องและเป็ นไปตาม
แผนงานที่วางไว้ แต่บางครั้งการถ่ายทาอาจมีอุปสรรคในการถ่ายทาได้ เช่น

อุปสรรคจากธรรมชาติ เช่นฝนตกเมื่อไม่ตอ้ งการฝน ฝนอาจไม่
ตกเมื่อต้องการฝน การสร้างฉากพายุเทียม หรื อฝนเทียมอาจทาได้แต่จะให้เหมือน
ของจริ งนั้นทาได้ยากมาก ต้องอาศัยการวางมุมกล้องเข้าช่วย เป็ นต้น กรณี ที่
ธรรมชาติอาจไม่อานวยบางครั้งอาจต้องใช้เวลาในการรอคอย เพื่อให้ได้มาซึ่ งภาพ
ที่ตอ้ งการ เช่น ภาพดวงอาทิตย์ตกหรื อขึ้น บางเย็นหรื อบางเช้าอาจถ่ายไม่ได้ เพราะ
อาจมีเมฆหมอกบัง ต้องใช้เวลารอจนกว่าจะได้ภาพที่สวยงาม

อุปสรรคในการถ่ายทา

อุปสรรคจากผูร้ ่วมงาน อาจมีได้ ซึง่ อาจเกิดจากความไม่เข้าใจซึง่
กันและกัน ดังนัน้ ผูก้ ากับการถ่ายทาจะต้องสร้างความเข้าใจให้ได้

อุปสรรคจากอุบตั ิ เหตุ ซึง่ เป็ นเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ ได้เสมอ และเกิดขึน้
โดยไม่รตู้ วั และไม่ได้ตงั ้ ใจ ผูเ้ กีย่ วข้องจะต้องแก้ไข ถ้าแก้ไขและไม่ได้
ก็จาเป็ นต้องยกเลิกก็เป็ นเรือ่ งสุดวิสยั
อุปสรรคในการถ่ายทา 2

อุปสรรคที่เกิดจากความไม่พร้อม การประสานงานเป็ นเรื่อง
สาคัญ ความไม่พร้อมของกล้องก็ดี บทก็ดี ผูก้ ากับก็ดี ผูแ้ สดงก็ดี
เหล่านี้ เป็ นอุปสรรคในการถ่ายทาโทรทัศน์ ทงั ้ สิ้น ดังนัน้ การ
ประสานงานจึงมีความจาเป็ นในการแก้อปุ สรรคในความไม่
พร้อมนี้ โดยจัดการประสานงานเสียตัง้ แต่เริ่มวางแผนงาน และ
เริ่มงานในระยะแรก ๆ
ขณะผลิต บันทึกเสียง
บันทึกเสียง
– ขณะถ่ายทา
– พากย์
ขณะผลิต กราฟิก
กราฟิ ก
– in Scene
– งานฉาก