Transcript Document

. ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
• กล่ มุ คนทีร่ วมตัวกันเพือ่
โดเมน
… แรงปรารถนาร่ วมกันในเรื่องๆ หนึ่ง
• เข้ าใจเป็ นอย่ างดีว่าอะไรเป็ นประเด็นที่ต้องพูดคุยกัน
–มีวธิ ีการคิดและเข้ าถึงปัญหาคล้ ายๆ กัน
ชุมชน
… ปฏิสัมพันธ์ และสร้ างความสั มพันธ์
• ช่ วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ ไขปัญหาและตอบคาถาม
–เชื่อมโยงกันข้ ามทีมและหน่ วยธุรกิจ (หรือองค์ กร)
แนวปฏิบตั ิ
… แลกเปลีย่ นและพัฒนาความรู้ ร่วมกัน
–แลกเปลีย่ นข้ อมูล เคล็ดลับ และแนวปฏิบัติที่เป็ นเลิศ
–สร้ างเครื่องมือและฐานข้ อมูลความรู้
CoP
ช่วยพัฒนาไปสู่ LO
องค์กรแห่ง
การเรียนรู ้
CoP7
CoP4
CoP5
CoP3
CoP2
CoP8
CoP6
บ่งชี้
CoP10
CoP1
ยกระดับ
สร้าง
CoP
แลกเปลี่ยน
ใช้
CoP9
I.กิจกรรมสร้าง
III.กิจกรรมสร้างใน
ความสามารถ
องค์กร
6. บูรณาการเข้ากับIV. Keeping
งานประจา
5.กระตุ้น
1.Map Knowledge
Need
Momentum
Apply
Access
7. สร้าง
Renew Momentum
Reflection
ความเป็ น
เจ้าของ
2. Find Community
3.พัฒนาชุมชน
4.ติดต่อ
ข้าม
เครือข่าย
II.กิจกรรมสร้างสังคม/ระบบการ
เรียนรู้
I. กิจกรรม (สร้างความสามารถ)
ขัน้ ที่ 1 ค้นหาหัวข้อความรู้
- ค้นหาความสามารถหลักขององค์กร/นวตกรรม
- ค้นหาหัวข้อความรู้ที่จาเป็ น
- จัดทาแผนที่ความรู้ที่จาเป็ น
ขัน้ ที่ 2 ค้นหาสมาชิกในชุมชน
- ค้นหาสมาชิกในชุมชนที่มีความรู้ตาม (หัวข้อความรู้)และ
สมาชิกที่ยงั ไม่เข้าร่วม
- เคลื่อนย้ายความรู้ที่จาเป็ นเข้าสู่การปฏิบตั ิ
สมาชิกภาพใน CoP
คนนอก
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ผูป้ ระสานงาน
กลุ่ม
แกนหลัก
กลุม่ ประจา
กลุม่ เปลือกนอก
ทีมเรี ยนรู้ระดับ ข้าม องค์กรมีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ อย่างสม่าเสมอ
CoPส่ งเสริม
CoPประกันสุ ขภาพ
ทีมบริหาร
โครงการ
CoPอย.
CoPยุทธศาสตร์
CoPบริหาร
II. กิจกรรม Build A Social Learning System
ขัน้ ที่ 3 พัฒนาชุมชน
- ความไว้วางใจ ความสัมพันธ์
- พัฒนาการแบ่งปัน, การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ขัน้ ที่ 4การแลกเปลี่ยนข้าม COP, ข้ามองค์กร
- การปฏิสมั พันธ์
- การแลกเปลี่ยนข้าม COP, ข้ามองค์กร
III. กิจกรรม Build Organization
ขัน้ ที่ 5 กระตุ้นความเป็ นเจ้าของ
- กระตุ้นให้เกิดความเป็ นเจ้าของชุมชน
ขัน้ ที่ 6 บูรณาการเข้ากับงานประจา
- การบูรณาการ COP เข้าสู่กิจกรรมงานภายในองค์กร
IV. กิจกรรม Build Momentum
ขัน้ ที่ 7 สร้างจังหวะและความมีชีวิตชีวาให้กบั COP
-กระตุ้น ติดตามการแลกเปลี่ยนและสร้างความรู้
-จัดเวที ประกวด มหกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้
-เผยแพร่ กระจาย และจัดเก็บความรู้ให้เป็ นระบบ
-สร้างเวทีให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่ อง
Appreciative Inquiry
AI คืออะไร?
AI คือ กระบวนการมีส่วนร่ วมของสมาชิก/ทีมงาน
ในการค้ นหาสิ่ งที่ต้องการพัฒนา (หัวข้ อความรู้)
• คนที่ดมี ีความสามารถในประเด็นที่ต้องการ
พัฒนานามาค้ นหาองค์ ประกอบ แห่ ง
ความสาเร็จ นาไปสู่ กระบวนการสร้ างฝัน,
ออกแบบและวางแผนปฏิบัติการพัฒนา
1. เครื่องมือ / เทคนิคที่ใช้ พฒ
ั นาองค์ กร,พัฒนางาน , พัฒนาความ
ร่ วมมือ , การสร้ างความรู้ ใหม่ , พัฒนาการจัดการความรู้
ในองค์ กร / ชุมชน / เครือข่ าย
2. การค้ นหาคนดีมีความสามารถในองค์ กร
ให้ ออกมาแสดงพลังเชิงสร้ างสรรค์
3. เทคนิคช่ วยพัฒนาการสร้ าง การมีส่วนร่ วม
ของคนทุกคนในหน่ วยงาน / องค์ กร
วัฒนธรรม
เทคนิค
Dialogue
คน
สิ่ งแวดล้ อม
บริบท
AI
หัวข้ อ
พัฒนา
กระบวนการมีส่วน
ร่ วม
AI มีประโยชน์ อย่างไร ?
1. เสริมสร้ างความร่ วมมือ / กระบวนการ
มีส่วนร่ วม
2. สร้ างความรู้ ใหม่ นวตกรรม
3. ช่ วยในการตัดสิ นใจ
4. สร้ าง Empowerment
5. พัฒนาภาวะผู้นา
6. สร้ างทีมงาน (Teamwork)
7. พัฒนางานและองค์ กร
กระบวนทัศน์
กระบวนทัศน์
ปัญหา
กาหนดหัวข้ อพัฒนา
ค้ าหาสาเหตุปัญหา
ค้ นหา (Discovery)
วิเคราะห์ ทางเลือก
(สาเหตุ)
ฝันร่ วมกัน (Dream)
เลือกทางเลือกที่เป็ นไปได้
ปฏิบัติ
ออกแบบวิธีการทางาน
(Design)
วางแผนปฏิบัติการ
(Destiny)
Discovery
ค้ นหา
Destiny
วางแผนปฏิบัติ
Dream
ฝัน
Design
ออกแบบ
AI
1. ค้ นหาหัวข้ อที่ต้องการพัฒนาเทคนิคการสั มภาษณ์ /
พูดคุย
2. คัดเลือกประเด็นที่ต้องการพัฒนาค้ นหาคนดี/เก่ ง ที่
ประสบความสาเร็จ/ถอดองค์ ประกอบ
3. ทีมร่ วมกันฝันที่ต้องการจะไปถอดองค์ ประกอบ
ความสาเร็จ
4. ออกแบบสิ่ งที่ต้องการพัฒนา
5. วางแผนนาสู่ การปฏิบัติ
เครื่องมือและวิธีการ
2. การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และการสร้ างความรู้
•
•
•
เพือ่ นช่ วยเพือ่ น (Peer Assist)
การทบทวนหลังปฏิบัตกิ จิ กรรม(AAR)
การทบทวนหลังปฏิบัติ โครงการ(Retrospect)
•
•
สุ นทรีย์สนทนา(Dialogue)
เรื่องเล่ าเร้ าพลัง(Storytelling)
2. เพือ่ นช่ วยเพือ่ น (Peer Assist)
สิ่ งทีเ่ รารู้
ช่ วยกันสร้ าง
การเรียนรู้ ใหม่
สิ่ งทีเ่ ราไม่ ร้ ู
สิ่ งทีเ่ พือ่ นรู้
ศักยภาพการเรียนรู้ก่อนทากิจกรรม/โครงการ
Peer Assist
ทบทวน
ปัญหา
คัดเลือก ค้นหา
หัวข้อความรู้ ผูร้ ู้
ปฏิบตั ิ กิจกรรม ดาเนินการ
Peer Assist โครงการ
. การวิเคราะห์หลังการปฏิบตั ิคือ?AAR
• การจับความรู ้ที่เกิดขึ้นหลังการทากิจกรรมของทีมทางานรวมทั้ง
ทบทวนและสะท้อนบทเรี ยนนาไปสู่การวางแผนต่อไป
• การให้ขอ้ มูลป้ อนกลับอย่างเป็ นระบบกับทีมงานในเรื่ องผลการ
ปฏิบตั ิ
• เป็ นการอภิปรายหมู่ร่วมกันของทีมงาน ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดย
เน้นที่ผลการปฏิบตั ิวา่ เป็ นไปตาม “สิ่ งที่ควรจะเป็ น” อย่างไร
AAR
หลังทากิจกรรมหรืองาน
ทบทวนกิจกรรม/งาน
ปฏิบตั ิกิจกรรม
วางแผนกิจกรรม
AAR
แลกเปลี่ยนสิ่ งที่
ปฏิบตั ิกบั สมาชิก
ปรับปรุ ง/แก้ไข
กิจกรรม / งาน
คาถาม AAR
1. วัตถุประสงค์ /เป้ าหมายของกิจกรรมที่ปฏิบัติคอื อะไร
2. สิ่ งที่เกิดขึน้ ในขณะดาเนินกิจกรรมจนกระทั่งเสร็จสิ้น
กิจกรรม เป็ นไปตามแผน/วัตถุประสงค์ หรือไม่
3. อะไร คือ สิ่ งที่ทาได้ ดี/ไม่ ดี เพราะอะไร ?
4. อะไร คือ สิ่ งทีค่ วรปรับปรุงในการทากิจกรรมในครั้งนี้
5. อะไร คือ สิ่ งทีเ่ ราเรียนรู้ครั้งนี้
เป้ าหมาย
• พัฒนาบรรยากาศแวดล้ อม ทีท่ าให้ เกิดการเรียน เมือ่
เสร็จสิ้นการปฏิบัติกจิ กรรม
• ยกระดับศักยภาพของปัจเจก และทีมงานโดย เน้ นการ
ให้ ข้อมูลป้อนกลับ
AAR: After action review
หลักการสาคัญของ AAR
• การทาหลังจากทากิจกรรมเสร็จหรือระหว่ างพัฒนา
• ทุกคนในทีมต้ องเข้ าร่ วมพัฒนา
• ใช้ คาถามปลายเปิ ดเพือ่ ให้ เกิดการแลกเปลีย่ น
• เน้ นกระบวนการและบรรยากาศการเรียนรู้ นาไปสู่ การตัดสิ นใจ
• ผลลัพธ์ คอื ชุดข้ อเสนอแนะทีเ่ จาะจง และปฏิบัตไิ ด้
(Specific Actionable Recommendation)
AAR
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
3up
1
2
3
3down
1
2
3
อะไรเกิดขึน้ ในกิจกรรม
บทเรียนรู้
Learning After: Retrospect
1. บอกจุดมุ่งหมายในการประชุมคนครัง้ นี้ ให้กบั
สมาชิกทุกคน
2. ทบทวนวัตถุประสงค์โครงการ
3. ค้นหาความสาเร็จของโครงการ
4. วิเคราะห์ ความสาเร็จของโครงการ
5. ค้นหาอุปสรรค/วิเคราะห์อปุ สรรค/โอกาสพัฒนา
ของโครงการ
6. นาเสนอและจดบันทึกบทเรียนรู้เพื่อการทา
โครงการใหม่ต่อไป
7. ปิดประชุม
Retrospect (เรี ยนรู้เมื่อสิ้ นสุ ดโครงการ)
คาถาม
• อะไรคือวัตถุประสงค์ของโครงการ(การทบทวนวัตถุประสงค์)
• มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง? ในการปฏิบตั ิโครงการ ตั้งแต่ช่วงแรกจนถึงจุดสิ้ นสุ ด
• เกิดความสาเร็ จ? ทาไมจึงเป็ นเช่นนั้น
• มีสิ่งใดที่ไม่สาเร็ จ เพราะเหตุใด?
• บทเรี ยนรู้ที่ได้รับในการทาโครงการ
• ทีมงานบริ หารโครงการให้คะแนน 1-10 (ต่า-สูง)
• ถ้าคะแนน < 10 ตอบคาถามว่า ถ้าจะได้คะแนนเต็ม 10 ควรจะปรับปรุ ง
อะไรบ้าง?
กระบวนการสุ นทรี ยสนทนา
STORY TELLING
• เรื่องเล่ า ๗ ประเภทสาหรับองค์ กร
•
•
•
•
•
•
•
เรื่ องเล่า เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการจูงใจและปฏิบตั ิตาม
เรื่ องเล่าเพื่อแบ่งปันความรู ้
เรื่ องเล่าเพื่อให้เกิดความร่ วมมือ
เรื่ องเล่าเพื่อนาไปสู่อนาคต
เรื่ องเล่าเพื่อควบคุมข่าวร้าย
เรื่ องเล่าเพื่อสื่ อสารถึงตัวตนของผูเ้ ล่า
เรื่ องเล่าเพื่อถ่ายทอดค่านิยม
เครื่องมือและวิธีการ
3.
การเข้ าถึง และการดักจับความรู้
การเข้ าถึงความรู้
การดักจับความรู้
•การวิเคราะห์เครื อข่ายทางสังคม •แผนที่ความคิดMind Mapping
(Social Network Analysis)
•การจดบันทึก
•แสวงหาผูม้ ีความรู้
•เทคนิคการฟัง
•Web log/Web site
เครื่องมือและวิธีการ
4.
•
•
•
การจัดเก็บความรู้ /คลังความรู้
IT
แฟ้ มสะสมงานของแต่ ละบุคคล
แฟ้ มคลังความรู้ ของหน่ วยงาน
เครื่องมือและวิธีการ
5.
•
•
•
•
•
เผยแพร่ ความรู้
IT
Web log/Web site/Web beard
นิทรรศการ
Knowledge Fair
วารสาร , หนังสื อ , คู่มือ , ตารา
ปัจจัยสู่ ความสาเร็จ
ทีมงาน/แกนนา
•
•
•
•
•
•
•
•
มีทัศนคติดี เข้ าใจแนวคิด หลักการ KM
บูรณาการให้ เข้ ากับเรื่องเดิม งานประจา เครื่องมือต่ างๆ
เสนอผู้บริหาร
สื่ อสารผู้ปฏิบัติ
รู ปแบบการดาเนินการในองค์ กร นาเทคนิคมาใช้ อย่ างเหมาะสม
วิเคราะห์ องค์ กร เกาะติด ติดตาม อย่างต่ อเนื่อง
มีความสั มพันธ์ ทดี่ รี ะหว่ างทีม/หน่ วยงาน/เครือข่ าย
มีความเป็ นกัลยาณมิตร
ผู้บริหาร/ผู้นา
•
•
•
•
•
•
•
•
เข้ าใจหลักการ การจัดการความรู้
สนับสนุน อย่ างจริงจัง ต่ อเนื่อง
สร้ างบรรยากาศการเรียนรู้
เป็ นแบบอย่างทีด่ ี
ไม่ คาดหวังผลลัพธ์ ทเี่ ป็ นรู ปธรรมในระยะสั้ น
เข้ าร่ วมกิจกรรม
สร้ างแรงจูงใจ
ชื่นชม ยกย่อง
วัฒนธรรมองค์
ผู้บริหาร/ผู้นการ
•
•
•
•
•
•
•
เอือ้ ต่ อการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
คนในองค์ กร มีความเต็มใจทีจ่ ะแลกเปลีย่ น แบ่ งปันความรู้
ผลงานคุณภาพ นวัตกรรม
พร้ อมรับการเปลีย่ นแปลง
สื่ อสารผู้ปฏิบัติ
รู ปแบบการดาเนินการในองค์ กร
เกาะติด ติดตาม อย่างต่ อเนื่อง
• เอือ้ ต่ อการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
• คนในองค์ กร มีความเต็มใจที่จะ
แลกเปลีย่ น แบ่ งปันความรู้
ผลงานคุณภาพ นวัตกรรม
• พร้ อมรับการเปลีย่ นแปลง
รูปแบบ/กระบวนการดาเนินการ
• เหมาะสมกับวัฒนธรรม
• ช่ วงเวลา
• สม่าเสมอ/ต่ อเนื่อง
• ประเมินผล และปรับปรุง
เทคโนโลยี และการสื่ อสาร
ภายในโรงเรี ยน
- การประชาสัมพันธ์
- การฝึ กอบรม
- รวบรวม/เผยแพร่ คลังความรู ้
ภายนอกโรงเรียน
ปัญหา/อุปสรรค
ทีมงาน/แกนนา
ทัศนคติ
 ทีมไม่ ชัด
 เลือกเครื่ องมือและรู ปแบบ ไม่ เหมาะสม
 ขาดการบูรณาการ/ผสมผสาน
 ขาดการกระตุ้น ติดตาม อย่ างต่ อเนื่อง

การสื่ อสาร
• ขาดการแบ่ งกลุ่มเป้ าหมาย
• ไม่ กาหนดช่ องทางการสื่ อสารในแต่ ละกลุ่ม
• ขาดการประเมินผลการสื่ อสาร
พร้ อมรับ
แต่ ไม่ พร้ อมให้
• ไม่ ใช่ ตัวจริง
• มาแทนพี่
พร้ อมให้ แต่ ไม่ เตรียมพร้ อม
• เครื่องมือการแลกเปลีย่ น
• เอกสาร คู่มอื อืน่ ๆ
ความท้ าทาย
-การขึน้ อยู่กบั ระบบ/คน
-การกระตุ้น/ติดตามอย่ างต่ อเนื่อง
-ผลงานคุณภาพ/นวัตกรรม
-ปัจจัยแห่ งความสาเร็จ กับบริบท
อย่ าเพราะความท้ อแท้ จึงแพ้พ่าย
แม้ นเหน็ดหน่ าย เหนื่อยนัก จงพักเสี ย
ตราบเมื่อกายและใจ หายอ่ อนเพลีย
สูงก็เตีย้ ไกลก็ใกล้ ใช่ ยากเย็น
ไพฑูรย์ ช่วงฉ่ า
คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร