สุขภาพจิตชุมชน ในเด็กและวัยรุ่น

Download Report

Transcript สุขภาพจิตชุมชน ในเด็กและวัยรุ่น

ในเด็ก
และวัยรุน
่
พญ.พรรณพิมล
วิปุลากร
รองอธิบดีกรม
สุขภาพจิตชุมชนใน
เด็กและวัยรุน
่
การส่ งเสริมป้ องกัน รักษาฟื้ นฟู
ปัญหาพัฒนาการและสุขภาพจิตของ
เด็กและวัยร่ ุ นในชุมชน โดยชุมชนมี
ส่ วนร่ วม
ความหลากหลายของปัญหา
สุขภาพจิตเด็กและวัยรุน
่
อดี
ต
พัฒนาการงาน
สุขภาพจิต
็กกและวั
ยรุน
คลินิกจิเด
ตเวชเด็
และวัยร่ ุน เฉพาะในมหาวิ
ท
ยาลั
ย
่
โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลจิตเวช
โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ โรงพยาบาล
เฉพาะทางด้ านจิตเวชเด็กและวัยร่ ุ น
งานส่ งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเด็กและ
วัยร่ ุ น โดยศูนย์ สุขภาพจิตเด็กและวัยร่ ุ น
งานสุขภาพจิตโรงเรียน
ปัจจุบ ั
น
สถานการณ ์
ความชุกของโรคจิตเวชเด็กในประเทศไทย
ออทิสติก 9.9:10,000 (2548) --> 2,800 คน (<5 ปี )
สมาธิส้ัน 8.1% (2555) --> 842,400 คน (6-15 ปี )
สติปัญญาบกพร่ อง 6.5% (2554) --> 507,000 คน
(6-15 ปี )
อืน่ ๆ – อยู่ในระหว่างการสารวจ
อัตราการเข้ าถึงบริการ < 10%

สถานการณ ์
ความขาดแคลนบุคลากร
จิตแพทย์เด็กประมาณ 150 คนต่อ
ประชากรเด็กและวัยรุ่ น 19.5 ล้านคน
สหวิชาชีพซึ่งเป็ นส่ วนสาคัญในการ
จัดบริ การมีความขาดแคลนใกล้เคียงกัน

งานรักษา
ฟื้ นฟู
เป้าห
มาย
การเข้าถึงบริการ

(Service access and
engagement)
การจัดบริการที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ รองรับ
(Delivery of evidence-based practice)
การติดตามประเมินผล
(Outcome accountability)



การเขาถึ
ง
้
บริการ
บริ การจิตเวชเด็กและวัยรุ่นกระจุกอยูใ่ นเขตเมือง
ผูป้ ่ วยใหม่แต่ละรายใช้เวลาประเมินตั้งแต่ 15-30
นาที
ระยะเวลารอนัดในคลินิกจิตเวชเด็กและวัยรุ่นติด
อันดับ 1/5 ของคลินิกที่มีระยะเวลารอนัดนาน
การเขาถึ
ง
บริ
ก
าร
้
การเพิม่ การเข้าถึงบริการต้องอาศัยการจัดกล่มุ
บริการที่เหมาะสม (Task-sharing)
 จัดกลุ่มผูป้ ่ วยที่มีระดับความรุ นแรงแตกต่างกัน
 ผูป้ ่ วยที่มีอาการรุนแรงน้อยกว่า รับบริ การกับผูด้ ูแลที่มี
ความเชี่ยวชาญน้อยกว่า
 ระบบส่งต่อเชื่อมโยงจาก รพ.สต.-รพช.-คลินิกจิตเวช
เด็ก
การจัดระดับบริการเพือ
่ เพิม
่
การเขาถึ
ง
บริ
ก
าร
้
ตัวอยาง
care
map
พั
ฒ
นาการ
่
ตัวอยาง
care
map
สมาธิ
ส
้
ั
น
่
ยาจิตเวชเด็ก
 มากกว่า 70% ของประเทศทัว่ โลกมียาจิตเวชเด็กที่จาเป็ น
 แม้โรคสมาธิส้ นั จะเป็ นโรคที่ได้รับความสนใจและมียา


รักษาที่มีประสิ ทธิภาพ แต่การเข้าถึงยาเพิ่มสมาธิยงั จากัด
การเข้าถึงยาเพิ่มสมาธิในโรงพยาบาลชุมชน เป็ นกลไกสาคัญ
ในการเพิม่ การเข้าถึงบริ การของเด็กสมาธิส้ นั
งานส่งเสริม
ป้องกัน
งานส่งเสริมป้องกันตาม
กลุมวั
ย
่
เด็กเล็ก
พัฒนาการ
เด็กวัยเรียน
IQ/EQ
วัยรุ่น
พฤติกรรมเสี่ ยงในวัยร่ ุ น
พัฒนาการใน
พัฒนาการในเด็กเล็ก
เด็กพัฒนาการช้าพบร้อยละ 30 ของเด็ก 0-5 ปี
เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี กว่า 200 ล้านคนในประเทศกาลัง
พัฒนามีปัญหาด้านสติปัญญา ความคิด พัฒนาการด้านสังคม
และ อารมณ์เนื่องจากปัญหาความยากจน ภาวะทุพโภชนาการ
ปัญหาสุ ขภาพ และการอยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมที่ขาดการกระตุน้
ในวัยผูใ้ หญ่ ประชากรกลุ่มนี้จะมีรายได้ต่า อัตราการเจริญ
พันธุ์สูง ให้การดูแลบุตรหลานได้ต่ากว่ามาตรฐาน และนามา
ซึ่งความยากจนในลูกหลานรุ่ นถัดไป
(intergenerational transmission of
poverty)
การป้องกันปัจจัยเสี่ ยงตอ
่
พัฒนาการช้า
ปัจจัยเสี่ยงสาคัญ 4 ประการที่พบในเด็ก 20-25% ในประเทศ
กาลังพัฒนา
 ขาดการกระตุ้นพัฒนาการด้านการคิด สังคม และอารมณ์
(Inadequate cognitive & social-emotional
stimulation)
 การเจริญเติบโตหยุดชะงัก (Stunting)
 การขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency)
 การขาดไอโอดีน (Iodine deficiency)
การกระต้ ุนพัฒนาการด้ าน
ความคิด สั งคม อารมณ์
บ้าน
พัฒนาการสมวัย
ศูนย์เด็กเล็ก
พัฒนาการช้า
ศูนย์เด็กเล็ก + รพ.สต. (TDSI)
ศูนย์เด็กเล็ก + รพช. (DSI)
ศูนย์เด็กเล็ก + คลินิกจิตเวชเด็ก
(DSI/Denver)
IQ / EQ ใน
วัยเรียน
งานสุขภาพจิตโรงเรียน
โรงเรียน
คัดกรองด้ วย SDQ
ผลปกติ
ส่ งเสริม EQ
ได้ ผล
ผลผิดปกติ
การดูแลช่ วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน
ไม่ ได้ ผล
บริการจิตเวชเด็กในรพช.???
ไม่ ได้ ผล
บริการจิตเวชเด็กในคลินิกจิตเวชเด็ก
ปัญหาพฤติกรรม
ในวัยรุน
่
Psychosocial
Clinic
คลินิกจิตสังคมที่ครอบคลุม 4 ประเด็น
พฤติกรรมรุนแรง
OSCC
ตั้งครรภ์ไม่พร้ อม
ยาเสพติด
การเชื่อมโยงกับโรงเรี ยนแบบ 1 โรงเรี ยน 1
โรงพยาบาล (OHOS)
อนาคต
งานสุขภาพจิตเด็กและ
วั
ย
รุ
นในอนาคต
บริ การสุขภาพจิตเด็่ กและวัยรุ่นเกิดขึ้นในโรงเรี ยนและชุมชน
โดยชุมชนมีส่วนร่ วม
บริ การจิตเวชเด็กครอบคลุมถึงโรงพยาบาลชุมชน
เด็กและวัยรุ่นเข้าถึงการรักษาฟื้ นฟูดว้ ยยาและจิตสังคมบาบัด
บุคลากรในสถานบริ การทุติยภูมิและปฐมภูมิได้รับการฝึ กอบรม
เพื่อการดูแลปั ญหาสุ ขภาพจิตในเด็กและวัยรุ่ น
มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนการทางาน
ขอบคุ
ณ