Transcript BIS-201

BIS-201
หลักการตลาด
อ.นิตริ ัตน์ ตัณฑเวช
Email : [email protected]
ั พันธ์ เพือ
การประชาสม
่ การตลาด
ของธุรกิจ
Philip Kotler ปรมาจารย์ด ้านการตลาด
ระดับโลกได ้บรรยายแนวคิดกลยุทธ์
การตลาดแก่นักการตลาดไทย โดยได ้ชวี้ า่
ปั จจุบน
ั การโฆษณาทีใ่ ช ้ Mass Media จะ
สง่ ผลต่อยอดขายลดลง เนือ
่ งจาก
พฤติกรรมผู ้บริโภคเปลีย
่ นไป
 “Below-the-Line” คือ เครือ
่ งมือในการ
สง่ เสริมการตลาด ทีม
่ งุ่ ไปยังผู ้
ื่ โฆษณา อาทิ
กลุม
่ เป้ าหมายโดยไม่ผา่ นสอ
การออกแบบ Packaging ให ้เป็ นเครือ
่ งมือ
ื่ สาร, Sales Promotion,
ชว่ ยในการสอ

ั พันธ์ เพือ
การประชาสม
่ การตลาด
ของธุรกิจ
ั พันธ์ ถือเป็ นหนึง่ ในเครือ
การประชาสม
่ งมือ
“Below-the-Line” ที่ Kotler ให ้
ความสาคัญ
ิ ค ้า
 หากธุรกิจต ้องการสร ้างแบรนด์ของสน
(Brand Building) การสร ้างแบรนด์ทด
ี่ ี
ทีส
่ ด
ุ ได ้ผล นุ่มนวล ลุม
่ ลึกทีส
่ ด
ุ คือการ
สร ้าง
แบรนด์โดยผ่านกระบวนการการ
ั พันธ์ (Public Relations)
ประชาสม
 การประชาสัมพันธ ์ได้ร ับความสนใจและมี
้

ั พันธ์ เพือ
การประชาสม
่ การตลาด
ของธุรกิจ

่
้ ขณะที่
1. ค่าสือโฆษณามี
ราคาสู งขึน
ิ ธิภาพในการเข ้าถึงผู ้ชมลดลง
ประสท
เนือ
่ งจากผู ้บริโภคมีทางเลือกมากขึน
้ สงิ่ ที่
ื่ โทรทัศน์ทม
เห็นได ้ง่ายๆคือ สอ
ี่ ค
ี า่ ใชจ่้ าย
ื้ สอ
ื่ โฆษณาสูงมาก แต่ในความ
ในการซอ
เป็ นจริง ผู ้บริโภคมีทางเลือก หากไม่
ต ้องการชมFree TV ก็สามารถเลือกชม
เคเบิล
้ ทีว ี ทีวด
ี าวเทียม หรือ VCD ได ้
่ ง
รวมถึงการทีผ
่ ู ้บริโภคสามารถเปลีย
่ นชอ
การรับฟั งหรือรับชมด ้วยรีโมท ก็ทาให ้
นักการตลาดต ้องทาการบ ้านมากขึน
้ เพือ
่ จะ
ื่ โฆษณาของตน
ตรึงผู ้บริโภคให ้อยูก
่ บ
ั สอ
ั พันธ์ เพือ
การประชาสม
่ การตลาด
ของธุรกิจ

้
่ างก็แยกย่อยมากขึน
้
2. ทังตลาดและสื
อต่
เพือ
่ มุง่ ตอบสนองต่อ Life Style ของ
กลุม
่ เป้ าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง
่ นิตยสารชวี จิต สาหรับคนทีร่ ัก
ตัวอย่างเชน
สุขภาพด ้วยแนวคิดแพทย์ทางเลือก,
นิตยสาร secret สาหรับผู ้สนใจด ้านศาสนา
จิตวิญญาณ ,นิตยสารปาปารัชซ ี่ ทีม
่ งุ่ เสนอ
ิ ดารา เป็ นต ้น อีก
ภาพแอบถ่าย ข่าวซุบซบ
ทัง้ การทีค
่ นนิยมใชอิ้ นเตอร์เน็ ตมากขึน
้ ทา
ให ้เกิดเว็บไซด์ทรี่ วมตัวกันของผู ้ทีม
่ ค
ี วาม
สนใจเฉพาะด ้านมากขึอ
้ ย่างมหาศาล จน
ั พันธ์ เพือ
การประชาสม
่ การตลาด
ของธุรกิจ

่
3. นักการตลาดพยายามใช้เครืองมื
อการ
่
้ เพือ
สือสารอย่
างผสมผสานมากขึน
่ ให ้
ิ ธิผลทีส
เกิดประสท
่ มบูรณ์แบบเพราะ
ื่ สารทีแ
ผู ้บริโภคยุคใหม่ต ้องการการสอ
่ ปลก
ใหม่ แตกต่างและมีความต่อเนือ
่ ง
พอสมควร จึงจะสามารถเปลีย
่ นพฤติกรรม
ื้ ของผู ้บริโภคได ้
การซอ
ั พันธ์ เพือ
การประชาสม
่ การตลาด
ของธุรกิจ

4. ทัศนคติของกลุ่มเป้ าหมายมีการ
่
เปลียนแปลงตลอดเวลา
อาจเปลีย
่ นไปใช ้
ิ ค ้ารุน
สน
่ ใหม่ หรือเทคโนโลยีทม
ี่ ค
ี ณ
ุ สมบัต ิ
ใกล ้เคียงกันได ้ง่ายๆ โดยเฉพาะในปั จจุบัน
ทีเ่ ทคโนโลยีตา่ งๆก ้าวทันกันได ้ง่าย การ
ิ ค ้าเป็ นไปได ้ง่าย ดังนัน
ลอกเลียนสน
้ การ
สร ้างทัศนคติและภาพลักษณ์ทด
ี่ ใี นใจ
ผู ้บริโภค จะชว่ ยลดการเปลีย
่ นแบรนด์ของ
ลูกค ้าได ้
ั พันธ์ เพือ
การประชาสม
่ การตลาด
ของธุรกิจ

้ การ
5. ผุบ
้ ริโภคยุคใหม่ฉลาดมากขึน
โฆษณาและสง่ เสริมการขายไม่อาจโน ้ม
ิ ใจซอ
ื้ สน
ิ ค ้าได ้ง่ายๆ
น ้าวให ้ผู ้บริโภคตัดสน
ั กลยุทธ์ทแ
นักการตลาดจึงต ้องอาศย
ี่ นบ
ั พันธ์ ซงึ่ มี
เนียบยิง่ กว่านั่นคือการประชาสม
ื่ ถือกว่าการโฆษณามา
การนาเสนอทีน
่ ่าเชอ
ชว่ ย
บทบาทสาคัญทางการตลาด ของการ
ั พันธ์
ประชาสม

ั พันธ์มักจะ
เดิมบทบาทของนักประชาสม
มุง่ เน ้นการสร ้างภาพลักษณ์ขององค์กรเป็ น
หลัก (Corporate Image) ทาให ้การ
ั พันธ์ (PR) กับการตลาด
ประชาสม
(Marketing)มักเป็ นหน่วยงานทีแ
่ ยกออก
ิ้ เชงิ แต่ในแนวคิดใหม่ของ
จากกันอย่างสน
ั พันธ์เชงิ การตลาด ได ้ดึงการ
การประชาสม
ั พันธ์มาดาเนินการอย่างใกล ้ชด
ิ
ประชาสม
กับการสง่ เสริมการตลาด โดยแผนการ
ั พันธ์จะชว่ ยสนับสนุนและ
ประชาสม
ดาเนินการอย่างสอดคล ้องไปกับแผนกล
ยุทธ์การตลาดอืน
่ ๆ เป็ นแนวคิดทีเ่ รียกว่า
Marketing Public relations :
MPR

่
กระบวนการสือสารประชาสั
มพันธ ์ ซึง่
ประกอบด ้วยการวางแผน การบริหารงานและ
การประเมินผลการประชาสัมพันธ ์ โดยมุ่งหวัง
่
ทีจะสร
้างความพึงพอใจและกระตุ ้นให ้เกิดการซือ้
่
สินค ้า จากการสือสารข
้อมูลข่าวสารที่
่ อ ทาให ้ผูบ้ ริโภคเกิดการร ับรู ้และสนใจ
น่ าเชือถื
่
เกียวกั
บองค ์กรและสินค ้า จึงจะถือว่าเป็ นการ
ประชาสัมพันธ ์สนับสนุ นวัตถุประสงค ์ทาง
การตลาดโดยตรง
Marketing Public relations :
MPR

(แบบเต็ม) กระบวนการในการวางแผน
(process of planning) การปฏิบต
ั ก
ิ ารให ้
่ วย
สาเร็จ ตลอดจนประเมินผลโครงการซึงช่
ส่งเสริมการซือ้ (encourage purchase) และ
ความพึงพอใจของผูบริ
้ โภค ผ่านข ้อมูลข่าวสาร
่ อ (credible communication of
ทีน่่ าเชือถื
information) และประทับใจ โดยระบุถงึ บริษท
ั
้
และผลิตภัณฑ ์ของบริษท
ั รวมทังความจ
าเป็ น
่
ความต ้องการ ความเกียวพั
น และผลประโยชน์
ของผูบ้ ริโภค
Marketing Public relations :
MPR
(แบบย่อ) กระบวนการทางการประชาสัมพันธ ์
่
ไปสูก
่ ลุม
่ เป้ าหมายทางการตลาด เพือสร
้างการ
ร ับรู ้ ทัศนคติทดี
ี่ ต่อองค ์กรและตราสินค ้า
้ นค ้าในทีสุ
่ ด โดยมี
สนับสนุ นให ้ผูบ้ ริโภคซือสิ
่ าคัญ 2 ด ้านสาคัญๆคือ
แนวคิดทีส
 1. การประชาสัมพันธ ์องค ์กรธุรกิจ
(Corporate Public Relations: CPR)
 2. การประชาสัมพันธ ์ตราสินค ้า (Brand
Public Relations : BPR)

1.Corporate Public Relations:
CPR

การประชาสัมพันธ ์องค ์กรธุรกิจ หมายถึง การ
่ ขององค ์กร
เผยแพร่ ความรู ้ ความเข ้าใจทีดี
่ ระหว่างองค ์กร
รวมถึงการสร ้างความสัมพันธ ์ทีดี
กับกลุม
่ เป้ าหมาย ปัจจุบน
ั การประชาสัมพันธ ์
่ เห็
่ นได ้บ่อยมากขึน้
ภาพลักษณ์องค ์กรเป็ นสิงที
่
่ ้องอาศัยความ
โดยเฉพาะอย่างยิงในธุ
รกิจทีต
่ ่นของผูบ้ ริโภคเป็ นรากฐานในการขยาย
เชือมั
ตลาด อาทิ ธุรกิจประกันชีวต
ิ ประกันสุขภาพ
บริษท
ั ขายตรง เป็ นต ้น
1.Corporate Public Relations:
CPR

่ วย
ตัวอย่างของการประชาสัมพันธ ์องค ์กรทีช่
่ ษท
สนับสนุ นการตลาดคือ การทีบริ
ั ไทยประกัน
่
ชีวต
ิ ทีประชาสั
มพันธ ์จนมีภาพลักษณ์ในใจของ
ผูบ้ ริโภคว่าเป็ นบริษท
ั ประกันชีวต
ิ ของคนไทย
่ มใิ จในความเป็ นไทยหันมาซือ้
ทาให ้คนทีภู
ประกันกับไทยประกันชีวต
ิ หรือ บริษท
ั ปตท.สผ.
่
ทีแสดงให
้เห็นว่าคนไทยมีศก
ั ยภาพสามารถ
้ นด ้วยตนเอง ส่งผลทางอ ้อมต่อ
สารวจหานามั
้ นในปัมปตท.มากขึ
๊
การเติมนามั
น้ เป็ นต ้น
ดังนั้น จึงกล่าวได ้ว่าภาพลักษณ์ของบริษท
ั มี
ผลกระทบทางอ ้อม
2. Brand Public Relations: BPR

การประชาสัมพันธ ์ตราสินค ้า หมายถึง การ
เผยแพร่ สร ้างความร ับรู ้ข ้อมูลของสินค ้า รวม
ไปถึงการสร ้างความผูกพันธ ์ระหว่างสินค ้าและ
ผูบ้ ริโภค โดยมีวต
ั ถุประสงค ์ให ้ผูบ้ ริโภคเกิด
่ อ เป็ นลูกค ้า ตลอดจนมีความ
ความสนใจ เชือถื
ภักดีในสินค ้า
กลยุทธ ์การประชาสัมพันธ ์เชิง
การตลาด

่
ในการทีจะวางแผนการประชาสั
มพันธ ์
การตลาด จะต ้องมีการวางแนวทางหรือ
่ าเนิ นการกว ้างๆหรือเรียกว่ากล
ทางเลือกทีจะด
่
ยุทธ ์การประชาสัมพันธ ์เสียก่อน ซึงจะต
้อง
นาเอา SWOT, STP (Segment -Target
group -Positioning) จากแผนกลยุทธ ์
การตลาด มาใช ้ในการกาหนดกลยุทธ ์การ
ประชาสัมพันธ ์ แล ้วจึงจะลงรายละเอียดวิธก
ี าร
่ าเนิ นการ
ทีจะด
วิธก
ี ารประชาสัมพันธ ์การตลาด
ฟิ ลิป คอตเลอร ์ (Philip Kotler, 1999)
่ งด ้านการตลาด ได ้เสนอแนะชุด
ปรมาจารย ์ชือดั
่ อสาหร ับการประชาสัมพันธ ์การตลาดที่
เครืองมื
่
เรียกว่า “P E N C I L S” ซึงประกอบด
้วย
 P = Publication หมายถึง การประกาศ การ
เผยแพร่ข ้อมูลข่าวสารด ้วยวิธก
ี ารต่าง ๆ เช่น
นิ ตยสาร รายงานประจาปี เอกสารแผ่นพับ
สาหร ับแจกลูกค ้า เป็ นต ้น
 E = Events หมายถึง การจัดเหตุการณ์หรือ
กิจกรรมพิเศษ เช่น การเป็ นผูอ้ ป
ุ ถัมภ ์รายการ

วิธก
ี ารประชาสัมพันธ ์การตลาด
N = News หมายถึง การนาเสนอข่าวผ่าน
่
่
สือมวลชน
เช่น การส่งข่าวเกียวกั
บบริษท
ั
ผลิตภัณฑ ์ หรือพนักงาน
 C = Community Involvement Activities
่ ยวกั
่
หมายถึงการจัดกิจกรรมทีเกี
บชุมชน
่
 I = Identity Media หมายถึง การใช ้สือ
่
เฉพาะทีสามารถสะท
้อนถึงความเป็ นเอกลักษณ์
่
ขององค ์กร เช่น เครืองเขี
ยน นามบัตร หัว
จดหมาย การแต่งกาย เป็ นต ้น

วิธก
ี ารประชาสัมพันธ ์การตลาด
L = Lobbying Activity หมายถึง กิจกรรมที่
มีลก
ั ษณะเป็ นความพยายามใช ้การโน้มน้าวใจ
่ งใจให ้มีการออกกฎหมายและกฎระเบียบที่
เพือจู
้ อการดาเนิ นธุรกิจ รวมทังการยั
้
เอือต่
บยัง้
่ ดต่อการดาเนิ น
กฎหมายและกฎระเบียบทีขั
ธุรกิจหรือผลประโยชน์ของธุรกิจ
 S = Social Responsibility หมายถึง
่
กิจกรรมทีแสดงถึ
งความร ับผิดชอบต่อสังคม ซึง่
่ ยงให ้กับองค ์กร
จะช่วยสร ้างชือเสี

วิธก
ี ารประชาสัมพันธ ์การตลาด

นอกจากนี ้ ยังมีกลวิธข
ี องการประชาสัมพันธ ์
่
ทางการตลาดอืนๆ
อาทิ
◦ การมอบรางวัล Special Awards คือการจัดมอบ
รางวัลแก่บุคคลสาคัญในประเด็นต่างๆ
◦ การจัดประกวด Contest ได ้แก่ ประกวดบทความ
้ า ฯลฯ
คาขวัญ ตราสินค ้า ออกแบบเสือผ้
◦ การจัดแข่งขันต่างๆ Competition จัดการแข่งขัน
่ ยวข
่
ทีเกี
้องกับสินค ้า
◦ งานเปิ ดตัวสินค ้า Launching Presentation
◦ การสาธิตสินค ้า Demonstrations มักพบตาม
ห ้างสรรพสินค ้า
BIS-201
Thank you
หลักการตลาด