ความปลอดภัยทางชีวภาพของพืชดัดแปลงพันธุกรรม

Download Report

Transcript ความปลอดภัยทางชีวภาพของพืชดัดแปลงพันธุกรรม

ความปลอดภัยทางชีวภาพด้ านสิ่ งแวดล้อมของพืช GM
 ความกังวลของสั งคมต่ อผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ ได้ จากพืช GM ต่ อ
สิ่ งแวดล้อม
1) พืช GM เอง กลายเป็ นวัชพืช (weed) บุกรุ กพืชอืน่ ตามธรรมชาติได้
2) เกิดการถ่ ายเทของยีน (gene flow) ข้ ามระหว่ างพืช GM และพืชธรรมชาติ
3) ผลกระทบทางอ้อมต่ อสิ่ งมีชีวิตที่ไม่ ใช่ เป้ าหมาย (non-target organism)
4) เกิดการถ่ ายทอดยีนในแนวราบหรือ HGT
 การประเมินผลกระทบของพืช GM ต่ อ
สิ่ งแวดล้ อม จะต้ องอยู่บนหลักการความ
เทียบเท่ า (substantial equavalence) โดย
เปรียบเทียบกับพืช non-GM ตั้งต้ นเสมอ
1. การประเมินผลกระทบที่เกิดจากความได้ เปรียบของพืช
GM ที่มีเหนือกว่ าพืชปกติ (non-GM plant)
 ข้ อสงสั ย - พืช GM อาจอยู่รอดได้ ดกี ว่ าพืชปกติ / ยีนจากพืช GM อาจหลุด
ออกไปผสมข้ ามกับพืชท้ องถิ่น (native plant) ทีใ่ กล้เคียงกัน เกิดพืชลูกผสม
(hybrid plant) เข้ ามาแทนทีพ่ ชื ท้ องถิ่นหายาก จนอาจสู ญพันธุ์ได้
 แนวทางการประเมิน – หาระยะทางและความสามารถในการถ่ ายละอองเรณู
(pollenation) ข้ ามพันธุ์ / หาความเข้ ากันได้ ทางพันธุกรรมระหว่ างพืชทั้งสอง
/ ประเมินระบบนิเวศของประชากรพืชทีเ่ ป็ นผู้รับ
 ข้ อมูลปัจจุบัน – ยังไม่ พบว่ าผลกระทบดังกล่ าวมีค่า
สู งกว่ าผลจากพืชไร่ ปกติทปี่ ลูกกันอยู่ในขณะนี้ /
สามารถจัดการเพือ่ ป้ องกันการผสมข้ ามได้ โดยปลูก
พืชอืน่ แทรกระหว่ างพืช GM และพืชปกติ
2. ผลกระทบของพืช GM ที่มีต่อสิ่ งมีชีวติ อืน่ (non-target
organism)
 ข้ อสงสั ย - พืช GM มีพษิ จาเพาะสู งต่ อแมลงศัตรู พชื ทีเ่ ป็ นเป้ าหมาย / แต่ อาจ
ส่ งผลกระทบที่คาดไม่ ถึงต่ อระบบนิเวศ จากการลดลงของแมลงผู้ล่าหรือสั ตว์
อืน่ ทีก่ นิ แมลงเป้าหมายเป็ นอาหาร
 แนวทางการประเมิน – ดูผลกระทบต่ อพัฒนาการ/การวางไข่ /นา้ หนักและ
ขนาดของสิ่ งมีชีวติ อืน่ ที่ไม่ ใช่ เป้ าหมาย / ติดตามดูผลกระทบทีม่ ใี นภาคสนาม
ตามธรรมชาติจริง บนพืน้ ที่ขนาดใหญ่ เป็ นเวลานานเพียงพอ
 ข้ อมูลปัจจุบัน – การลดลงของผู้ล่า ไม่ ได้ เกิดจากพิษของพืช GM แต่ เป็ นผล
ทางอ้อมจากการลดลงของปริมาณแมลงที่เป็ นเหยือ่ / ผลกระทบจากการลอง
ทาใน lab ถูกโต้ แย้ งว่ าไม่ เกิดขึน้ จริงตามธรรมชาติ (เช่ น สาร BT จากละออง
เกสรข้ าวโพด GM ไม่ ได้ ส่งผลกระทบต่ อผีเสื้อโมนาร์ กเลย โดยไม่ พบความ
แตกต่ างของจานวนตัวอ่ อนผีเสื้อระหว่ างแปลงข้ าวโพด BT และข้ าวโพด
ปรกติ)
ความปลอดภัยทางชีวภาพด้ านสิ่ งแวดล้อมของพืช GM
 พืช GM สามารถส่ งผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม ทั้งแง่ บวกและแง่ ลบ
 ผลในแง่ บวก ได้ แก่
 กาจัดแมลงที่เป็ นเป้ าหมาย ได้ โดยลด
ปริมาณการใช้ ยาฆ่ าแมลงลง
 จานวนสั ตว์ ทม
ี่ ีประโยชน์ ตามธรรมชาติ
มีเพิม่ ขึน้ ในไร่ พชื GM เพราะใช้ ยาฆ่ า
แมลงน้ อยลง
 สามารถเพิม
่ ผลผลิต โดยลดความเสี่ ยงที่
ผู้บริโภคและเกษตรกรจะรับสารพิษเข้ า
ร่ างกาย
การลดปริมาณการใช้ สารเคมี
การปลูกพืช GM ต้ านทานสารปราบวัชพืชและต้ านทานแมลง ระหว่ างปี พ.ศ.
2539–2550 ทาให้ ลดปริมาณการใช้ สารเคมีท้งั โลกลงถึง 8.8 % (359 ล้ านกิโลกรัม) และทา
ให้ ลดผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อมลงได้ ถึง 17.2 %