4. 5_GRB_อ.ภาคภูมิ - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

Download Report

Transcript 4. 5_GRB_อ.ภาคภูมิ - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

การจัดทางบประมาณที่มีมิตหิ ญิงชาย
(GENDER RESPONSIVE
BUDGETING)
ผศ. ดร. ภาคภูมิ ฤกขะเมธ
Gender responsive Budgeting (GRB)
การจัดการงบประมาณ คานึงถึง ความจาเป็ น
และผลประโยชน์ที่แตกต่างกันของกลุม่ ต่างๆ ของ
พลเมือง-ที่เป็ นหญิง-ชาย , ผูใ้ หญ่ คนชราและ
กลุม่ ต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายในการกระจาย
ทรัพยากร ในการทาให้สามารถเกิดความเท่าเทียม
(equitable) เพื่อตอบสนองความต้องการของทุกคน
ในสังคมมากยิง่ ขึ้น
 ใช่หรือไม่?
- งบสำหรับผูห้ ญิง-ผูช้ ำย
- กำรแบ่งงบประมำณทีเ่ ท่ำกัน 50 : 50
- กำรจัดสรรพิเศษ (Special Allocation)สำหรับผูห้ ญิง
“การจัดทางบประมาณ ที่มีการวิเคราะห์ และคานึงถึงความแตกต่ างระหว่ างหญิง ชาย
ที่คานึงงานและภาคส่ วนที่ไม่ ได้ รับค่ าตอบแทนเศรษฐกิจภาคอภิบาล (Care
Economy) และมองทั้งแง่ งบประมาณรายจ่ าย (Expenditure) และรายได้ (Revenue)”
Household
VS
Individuals/Users
สำนักงบประมำณ สำนักนำยกรัฐมนตรี : ตุลำคม 2544
Same Treatment = Equal Treatment ?
การพัฒนากระแสหลัก
VS
ความเป็ นธรรม (Equity)
สถำนกำรณ์และ
ควำมจำเป็ น
ประเมินผลนโยบำย
พิจำรณำงบจัดสรร
กำรวิเครำะห์งบประมำณที่คำนึงถึงมิติหญิงชำย
(Gender Budgeting Analysis)
ติดตำมงบประมำณ
ที่จัดสรร
ควำมเพียงพอ
สำนักงบประมำณ สำนักนำยกรัฐมนตรี : ตุลำคม 2544
กระบวนการที่นามิตหิ ญิงชายเข้าสูก่ ระแสหลักผ่านกระบวนการนิติบญ
ั ญัติ
การประเมินผล
กระทบ
การประเมิน
ความจาเป็ นของ
กลุม่ เป้าหมาย
การนานโยบาย
ไปปฏิบตั ิ
การจัดสรร
ทรัพยากร
วันอังคารที่ 24 มิถุนายน 2557
โดย ตุ๊ ปากเกร็ด
Gender Blindness
ระดับบโยบาย Vs ระดับครอบครัว
 Fact คานึงถึง ถามถึง วิเคราะห์ (บางครั้งเคยชิน
หรือลืมเช่น การทางานในบ้าน ลืมนึกบทบาท
การแบ่งงานและการเข้าถึงทรัพยากร ที่เกิดขึ้นจริง)
ปั ญหา สาเหตุ ความจาเป็ น
Target
Design

แนวคิดสาคัญ
- Knut Wicksell วิเคราะห์ผลกระทบงบประมาณกับกลุ่มต่างๆ (Musgrave, 1959)
- บุกเบิกการวิเคราะห์งบประมาณ ที่มีมิติ ญ/ช (Budlender and Sharp,1998)
- มองการปฏิรูป ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลของ งานดูแลครอบครัว (Elson, 2001)
- นัยยะการกักเก็บงบในกระบวนการงบประมาณทุกระดับ (Council of Europe,
2003)
- ลาดับความสาคัญใหม่ รายได้/รายจ่าย (Cagatay ,2003)
- นโยบายเป็ นกลางแต่ไม่เป็ นธรรม (Rubin and Bartle,2005)
- มองอคติและการเสียเปรียบจาก ชนชั้น
ความจน และปั จจัยอื่นๆด้วย (Budlender ,2006)
กรอบการวิเคราะห์ ผลกระทบ
ประเภทที่ 1
รายจ่ายที่จดั สรรให้กบั กลุ่มเป้ าหมายใดเป้ าหมายหนึ่งเป็ น
การเฉพาะ (gender based Expenditure)
ประเภทที่ 2
รายจ่ายที่รัฐใช้ไปในการส่ งเสริ มโอกาสเท่าเทียมกันระหว่าง
หญิงและชาย (equal opportunity Expenditure)
ประเภทที่ 3
รายจ่ายส่ วนใหญ่ที่ใช้ในการผลิตสิ นค้าและบริ การ
(Mainstream Expenditure)
(Budlender and Sharp ,1998)
 อะไรที่ไม่ใช่ GRB
- ไม่ใช่ งบสำหรับผูห้ ญิง-ผูช้ ำย
- งบประมำณทีเ่ ท่ำกัน 50 : 50
- ไม่ใช่เป็ นกำรจัดสรรพิเศษ (Special Allocation)
“การจัดทางบประมาณ ที่มีการวิเคราะห์ และคานึงถึงความแตกต่ างระหว่ างหญิง ชาย
ที่คานึงงานและภาคส่ วนที่ไม่ ได้ รับค่ าตอบแทนเศรษฐกิจภาคอภิบาล : Care
Economy) และมองทั้งแง่ งบประมาณรายจ่ าย (Expenditure) และ รายได้ (Revenue)”
กิจกรรมวิเคราะห์โครงการ
โครงการนี้เป็น GRB ?
 ถ้าไม่ใช่จะปรับอย่างไร?
 ในการปฏิบัติจริงจาเป็นต้องทา
อะไรบ้าง?

สถำนกำรณ์ และ
ควำมจำเป็ น
ประเมินผล
นโยบำย
พิจำรณำงบจัดสรร
กำรวิเครำะห์งบประมำณที่คำนึงถึงมิติหญิงชำย
(Gender Budgeting Analysis)
ติดตำม
งบประมำณที่
จัดสรร
ควำมเพียงพอ
สำนักงบประมำณ สำนักนำยกรัฐมนตรี : ตุลำคม 2544
Fact คานึงถึง ถามถึง วิเคราะห์ (บางครั้ง
เคยชินหรือลืม เช่น การทางานในบ้าน
ลืมนึกบทบาท การแบ่งงานและการเข้าถึง
ทรัพยากร ที่เกิดขึ้นจริง)
ปั ญหา สาเหตุ ความจาเป็ น
Target
Design
Gender
Dis-aggregated
Data
โครงการ/แผนงาน
นโยบาย
การพัฒนาที่เป็น
ธรรมมากขึ้น
-วิเคราะห์สถานการณ์
-วิเคราะห์ปัญหา/ความจาเป็น
-วิเคราะห์บทบาท/ความสัมพันธ์
และการแบ่งบทบาทของหญิง
ชาย
กาหนดการจัดสรร
งบประมาณ
สนับสนุนให้เกิดการ
พัฒนาที่มีความ
สมดุลมากขึ้น
ความตระหนักถึง
ความไม่เป็นธรรม
ลดความเหลื่อมล้า
และความไม่เป็น
ธรรมในสังคม
ประโยชน์ของ GRB
1.1 การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
 1.2 การจัดสรรและการกระจายทรัพยากร ทาให้
เข้าถึงง่ายขึ้น
 1.3 ความโปร่งใส และความพร้อมรับผิดชอบ
( Transparency & Accountability)

เทคนิค GRB
เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทางบประมาณที่คานึงมิติหญิง-ชาย
(Diane Elson)
1.
2.
3.
4.
การประเมินนโยบายที่คานึงถึงมิติหญิง-ชาย (Gender aware-policy
appraisal)
การประเมินประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดบริการ และการจัดลาดับ
ความสาคัญของงบประมาณ จาแนกเพศ (Gender-disaggregated
beneficiary assessment of public service delivery)
การวิเคราะห์รายจ่ายสาธารณะที่กระทบต่อหญิงและชาย (Genderdisaggregated public expenditure incidence analysis) หรือ
Benefit Incidence Analysis
การวิเคราะห์รายได้ภาครัฐที่กระทบต่อหญิงและชาย (Genderdisaggregated public revenue incidence analysis)
เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทางบประมาณที่คานึงมิติหญิง-ชาย
(Diane Elson,2002b)
5.
6.
7.
การวิเคราะห์งบประมาณแยกเพศ ตามการใช้เวลาในแต่ละวัน
(Gender-disaggregated analysis of the budget on time use)
กรอบนโยบายทางเศรษฐกิจระยะกลางทีค่ านึงถึงมิติหญิงชาย
(Gender-aware medium-term economic policy framework)
ข้อความในงบประมาณทีส่ ะท้อนการคานึงถึงมิติหญิง-ชาย
(Gender-aware budget statement)

งบประมาณรายจ่าย
 การจัดเก็บรายได้
 การบริการและสวัสดิการต่างๆ
 การลดภาระและช่วยเหลืองานในบ้าน
(Care Economy)
ประสบการณ์ในต่างประเทศ
ออสเตรเลีย - ประเมินผลกระทบของงบประมาณที่มีตอ่ ผูห้ ญิงและเด็ก
ฟิ ลิปปิ นส์ - จัดสรรงบ ร้อยละ 5 ใน พ.ร.บ.งบประมาณ ไม่สาเร็จ
- สนับสนุนภาคส่วนต่างๆ เข้าร่วมวางแผนและตรวจสอบ
- วิเคราะห์จดั เก็บภาษี และสิทธิประโยชน์
อังกฤษ
- ผลักดันหลัก ให้บทบาทผูห้ ญิงทางเศรษฐกิจ รายได้จากผูห้ ญิงจะนาไปสู่
สวัสดิการครอบครัวได้มากขึ้น
ออสเตรีย - ตีพิมพ์หนังสือ เกี่ยวกับ GRB ปี ค.ศ. 2002
- วิเคราะห์การเก็บภาษีรายได้ ว่าผูช้ ายได้ผลประโยชน์จากกระบวนการจัดเก็บ
มากกว่าผูห้ ญิง
- ริเริ่มในกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงกิจการสตรี
บังคลาเทศ - เริ่ม GRB ทั้งใน มหาวิทยาลัย NGO และกระทรวงกิจการสตรีและเด็ก
- วิเคราะห์รายจ่ายโครงการที่เป็ นประโยชน์ตอ่ ชาย-หญิง
- ใช้การวิจยั การเผยแพร่
- จัดทาฐานข้อมูลที่เอื้อต่อ GRB
อินโดนีเซีย - จัดสรรงบประมาณ ร้อยละ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผูห้ ญิง
- ประกาศของประธานาธิบดี ให้ทุกหน่วยงานและท้องถิ่นบูรณาการมิตหิ ญิงชาย
ในนโยบายและโครงการ
- กฎหมายกระทรวงมหาดไทยให้จดั สรรงบประมาณ ร้อยละ 5
- ตีพิมพ์หนังสือ GRB
GRB &
Innovation
Q&A
ขอบคุณครับ
ผศ. ดร. ภาคภูมิ ฤกขะเมธ