ดาว์นโหลด - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
Download
Report
Transcript ดาว์นโหลด - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กรอบการเจรจาความตกลง
ด้ านมาตรฐานและการตรวจสอบและรับรอง
ภายใต้ คณะกรรมการทีป่ รึกษาด้ านมาตรฐานและคุณภาพ
ของอาเซียน
ด้ านเครื่องสาอาง
(ASEAN Consultative for Standards
and Quality-ACCSQ -Cosmetics)
โดย ภญ. นฤภา วงศ์ ปิยะรัตนกุล
เภสั ชกรชานาญการพิเศษ
กลุ่มควบคุมเครื่องสาอาง
คณะทางานพิจารณาผลิตภัณฑ์ ด้านเครื่องสาอาง
1. ชื่อ: คณะกรรมการเครื่องสาอางอาเซียน
ASEAN Cosmetic Committee (ACC)
- และมีคณะทางานวิชาการเครื่องสาอางอาเซียน (ASEAN
Cosmetic Scientific Body-ACSB) เพือ่ สนับสนุนข้ อมูล
ให้ กบั ACC พิจารณาให้ ความเห็นชอบ
ASEAN Cosmetic Committee (ACC)
ประกอบด้ วยผู้แทนจากประเทศสมาชิก ประเทศ
ละ 1 คน (อาจมีผ้ ูร่วมสั งเกตการณ์ ได้ )
มีผ้ ูแทนจากภาคเอกชนเข้ าร่ วมให้ ข้อมูลต่ อที่
ประชุมเพือ่ ประกอบการตัดสิ นใจเกีย่ วกับ
อุตสาหกรรมเครื่องสาอาง
ASEAN Cosmetic Scientific Body
(ACSB)
ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากประเทศสมาชิก ประเทศละ 3 คน
(มาจาก เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผูป้ ระกอบธุรกิจ และ
นักวิชาการ)
ทบทวนเกี่ยวกับความปลอดภัยของเครื่ องสาอาง
(ingredients, technical and safety issues)
คณะทำงำนพิจำรณำผลิตภัณฑ์ ด้ำนเครื่องสำอำง
2. หน่ วยงานผู้แทน
กลุ่มควบคุมเครื่องสาอาง สานักควบคุมเครื่องสาอางและวัตถุ
อันตราย สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง
สาธารณสุ ข
ผู้แทน นายพงศ์ ประพันธ์ สุ สัณฐิ ตพงษ์ ผู้อานวยการกลุ่มควบคุมเครื่องสาอาง
หมายเลขโทรศัพท์ ผู้ประสานงาน 02 590 7277
หมายเลขโทรสาร 02 591 8468
ทีอ่ ยู่ทางอิเล็กทรอนิกส์ [email protected]
(1) ขอบเขตของการเจรจา
ให้ มีความร่ วมมือปรับปรุ งกฎระเบียบทางเทคนิคด้ านการจด
แจ้ งเครื่องสาอาง ให้ สอดคล้ องเป็ นมาตรฐานเดียวกัน มี
ประสิ ทธิภาพและเทียบเท่ าระดับสากล
ให้ สอดคล้ องกับกรอบความตกลง Agreement on
ASEAN Harmonized Cosmetic Regulatory
เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2546
ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEMASEAN Economic Ministers) ครั้งที่ 35 ณ กรุ ง
พนมเปญ ประเทศกัมพูชา
Scheme (AHCRS)
(1) ขอบเขตของกำรเจรจำ
• ให้ มีระยะเวลาในการปรับตัวที่เหมาะสม สาหรับภาครัฐและ
ภาคเอกชน
(Grace period
ตั้งแต่ มกราคม 2008 – มกราคม
2011)
• ให้ มีความร่ วมมือปรับปรุงกฎระเบียบทางเทคนิคให้ ได้ มาตรฐาน
มีประสิ ทธิภาพ โดยคานึงถึงสุ ขภาพอนามัยของประชาชน
และประโยชน์ ของประเทศ
(1) ขอบเขตของกำรเจรจำ
จากเดิมทีแ่ ต่ ละประเทศสมาชิกอาเซียน มีกฎระเบียบต่ างกัน
เป็ นการปรับจากการขึน้ ทะเบียน (Registration)
เครื่องสาอางในบางประเทศ มาเป็ นการจดแจ้ ง
(Notification)
ปรับลดการกากับดูแลก่ อนออกสู่ ตลาดมาเป็ นการกากับดูแล
หลังออกสู่ ตลาด โดยปฏิบัตติ ามบทบัญญัตเิ ครื่องสาอางอาเซียน
(ASEAN Cosmetic Directive )
(1) ขอบเขตของกำรเจรจำ
• มีผลให้ เครื่องสาอางทุกชนิดต้ องมาจดแจ้ งกับภาครัฐ โดยมีผล
บังคับใช้ ทันทีต้งั แต่ ปี 2551(2008) กับเครื่องสาอางใหม่ ส่ วน
เครื่องสาอางเดิมทีเ่ คยวางตลาดแล้ ว ให้ ระยะเวลาผ่ อนผันให้ มาจด
แจ้ งได้ ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ทุกประเทศในอาเซียนดาเนินการ
แล้ ว
- ยกเว้ นประเทศอินโดนีเซีย โดยอินโดนีเซียจะเริ่มจดแจ้ ง
เครื่องสาอางที่มีความเสี่ ยงต่าก่ อนภายใน 31 มกราคม 2554 (2011)
- ระยะเวลาดาเนินการ แล้ วเสร็จใน 3 วันทาการ
(2) วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายของการเจรจา
วัตถุประสงค์
เพือ่ ขจัดข้ อกีดกันทางการค้ าเครื่องสาอาง อันเกิดจาก
ข้ อกาหนดด้ านเทคนิคซึ่งกาหนดโดยภาครัฐ โดยจะ
หลีกเลีย่ งไม่ ให้ ส่งผลกระทบทางลบต่ อคุณภาพ
ประสิ ทธิภาพ และความปลอดภัยของเครื่องสาอาง
(2) วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายของการเจรจา
เป้าหมาย
เพื่ อ ประสานกฎระเบี ย บของการจดแจ้ ง เครื่ อ งส าอาง
ให้
สอดคล้ องเป็ นมาตรฐานเดียวกัน โดยผลิตภัณฑ์ เครื่ องสาอางมี
คุณภาพ มาตรฐานและปลอดภัยต่ อผู้บริโภค
ค านึ ง ถึ ง ระยะเวลาในการปรั บ ตั ว โอกาสในการพั ฒ นาของ
ผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอาง และหลักการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน
(2) วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายของการเจรจา
• คานึงถึงระยะเวลาการปรับปรุงและความพร้ อมของ
กฎหมายภายในและหน่ วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้ อง
(3) อุปสรรคทางเทคนิคต่ อการค้ า
จัดตั้งกลไกการหารือ รวมทั้งระบุหน่ วยงานทีร่ ั บผิดชอบ
การติดต่ อระหว่ างกัน เพือ่ ให้ สามารถจัดการกับปัญหา
และอุปสรรทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการใช้ มาตรการกีดกันทาง
เทคนิคได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
หาแนวทางลดอุปสรรคทางการค้ าทีเ่ กิดจากกฎระเบียบ
ทางเทคนิค หรือมาตรฐานของประเทศสมาชิกอาเซียน
เท่ าทีจ่ ะเป็ นไปได้
(4) ความร่ วมมือและการอานวยความสะดวกทางการค้ า
ให้ มค
ี วำมร่ วมมือเพือ่ เพิม่ กำรอำนวยควำมสะดวกทำง
กำรค้ ำระหว่ ำงอำเซียน
ให้ มค
ี วำมร่ วมมือทำงวิชำกำร และกำรเสริมสร้ ำงขีด
ควำมสำมำรถของผู้ประกอบกำร โดยเฉพำะผู้ประกอบกำร
ขนำดกลำงและขนำดย่ อม
โครงสร้ างพืน้ ฐานทีไ่ ด้ ปรับปรุงเพือ่ รองรับการเข้ าสู่
ASEAN Cosmetic Directive
1. ปรับปรุ งกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้ องเครื่องสาอาง มีการรับฟังความ
คิดเห็นภาคส่ วนที่เกีย่ วข้ อง โดยเฉพาะอย่ างยิง่ รายการสารทีใ่ ช้ ใน
เครื่องสาอาง
2. พัฒนาบุคลากร อบรม สั มมนาให้ ความรู้ แก่ ผู้เกีย่ วข้ องทั้งใน
ส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาคอย่ างต่ อเนื่อง
โครงสร้ างพืน้ ฐานทีไ่ ด้ ปรับปรุงเพือ่ รองรับการเข้ าสู่
ASEAN Cosmetic Directive
3. พัฒนาระบบการจดแจ้ ง สาหรับการยืน่ ด้ วยตนเอง ณ one
stop services ( OSSC ) ที่ อย. หรือ สสจ. ในพืน
้ ที่ที่มีการ
ผลิต รวมถึงการยืน่ ผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต
- ค่ ำธรรมเนียมกำรผลิต/รำย/ปี 1,000 บำท
- ค่ ำธรรมเนียมกำรนำเข้ ำ/รำย/ปี 2,000 บำท
โครงสร้ างพืน้ ฐานทีไ่ ด้ ปรับปรุงเพือ่ รองรับการเข้ าสู่
ASEAN Cosmetic Directive
4. พัฒนาผู้ประกอบการเกีย่ วกับหลักเกณฑ์ กรรมวิธีทดี่ ใี นการผลิต
GMP และข้ อมูลผลิตภัณฑ์ Product Information File
(PIF)
5. พัฒนาระบบเฝ้ าระวังเครื่องสาอางที่ไม่ ปลอดภัยต่ อการใช้
ASEAN Alert system โดยสิ งคโปร์ เป็ น focal point ของ
อาเซียน อย. เป็ น focal point ของไทย เมื่อมีการแจ้ งเตือน
มายังประเทศไทย อย. จะประสานกองงานด่ านอาหารและยาและ
กลุ่มควบคุมเครื่องสาอางในการเฝ้ าระวัง เพือ่ คุ้มครองผู้บริโภค
โครงสร้ างพืน้ ฐานทีไ่ ด้ ปรับปรุงเพือ่ รองรับการเข้ าสู่
ASEAN Cosmetic Directive
6. ประสานหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง เช่ น กองทุน FTA และ
กรมเจรจาการค้ า เพือ่ ช่ วยเยียวยาผู้ได้ รับผลกระทบให้
ปรับตัวได้ ทนั โดยการพัฒนาผู้ประกอบการ เช่ น การ
อบรม GMP , PIF และ การจดแจ้ งเครื่องสาอาง
การประสานงานติดต่ อ
กลุ่มควบคุมเครื่ องสาอาง
สานักควบคุมเครื่ องสาอางและวัตถุอนั ตราย
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กระทรวงสาธารณสุ ข
ถนนติวานนท์ นนทบุรี 11000
โทร 02 590 7277 และ 02 590 7441
โทรสาร 02 591 8468
email: [email protected]
หรื อ www.fda.moph.go.th เลือก เครื่ องสาอาง