ดาว์นโหลด - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
Download
Report
Transcript ดาว์นโหลด - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กรอบการเจรจาจัดทา
ความตกลงยอมรับร่ วมด้ านการมาตรฐาน
สาขาผลิตภัณฑ์ ยานยนต์
โดย
นายไชยวัฒน์ ตั้งเกริ กโอฬาร
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
28 กันยายน 2553
ความเป็ นมา
คณะทางานด้ านผลิตภัณฑ์ ยานยนต์
(Automotive Product Working Group-APWG)
• จัดตั้งขึ้นตามมติคณะกรรมการที่ปรึ กษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของ
อาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality ACCSQ) ในการประชุมครั้งที่ 24 เดือนสิ งหาคม 2547
• มีวตั ถุประสงค์เพื่อดาเนินการตามมาตรการด้านมาตรฐานและการรับรอง
และขจัดอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้าสาหรับผลิตภัณฑ์ยานยนต์
• ประกอบด้วย ประธาน คือ ประเทศอินโดนีเซีย ประธานร่ วม คือ
ประเทศไทย และประเทศสมาชิกอาเซียน
กิจกรรมหลักที่ดาเนินการ
• การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการมาตรฐาน และกฎระเบียบ
• การพิจารณาและวิเคราะห์ขอ้ มูลระบบกฎระเบียบ
• การปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิคให้สอดคล้องกัน โดยใช้
UN ECE Regulation เป็ นพื้นฐาน
• การจัดทาความตกลงยอมรับร่ วม
• การเตรี ยมความพร้อมด้านโครงพื้นฐานทางเทคนิค และการสร้างความ
เชื่อมัน่ ในเรื่ องการตรวจสอบและรับรอง
• การส่ งเสริ ม สนับสนุน และพัฒนาความร่ วมมือระหว่างประเทศสมาชิก
ในเรื่ องมาตรฐาน กฎระเบียบ และความช่วยเหลือด้านเทคนิค
Task Force for MRAs on Automotives
• จัดตั้งขึ้นตามมติคณะทางานด้านผลิตภัณฑ์ยานยนต์
ในการประชุมครั้งที่ 8 เดือนสิ งหาคม 2551
• เพื่อดาเนินการจัดทา MRA และ/หรื อ ASEAN Common Harmonized
Regulatory Scheme
• ประกอบด้วย ประธาน คือ ประเทศมาเลเซีย ประธานร่ วม คือ ประเทศ
ไทย และประเทศสมาชิกอาเซียนที่ประสงค์เข้าร่ วม
กรอบงานของ Task Force
• ช่วยเหลือในการดาเนินการตามมาตรการใน Roadmap for
Automotive
• จัดทา MRA ตามที่ APWG ระบุ
• จัดทาระบบกฎระเบียบให้เป็ นหนึ่งเดียวกัน (Single Regulatory
Regime) หรื อ Directive สาหรับสาขายานยนต์ของอาเซียน
• ระบุปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะด้านความช่วยเหลือทาง
เทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหา
กรอบการเจรจา
ขอบเขตของการเจรจา
ผลิตภัณฑ์ยานยนต์และชิ้นส่ วน
• แลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมาตรฐานและกฎระเบียบ
• ปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิคให้สอดคล้องกัน
โดยใช้ UN ECE Regulation เป็ นพื้นฐาน
• จัดทาความตกลงยอมรับร่ วม (MRA) ด้านผลการตรวจสอบ
และรับรอง (Conformity assessment)
วัตถุประสงค์
• ขจัดอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้าสาหรับผลิตภัณฑ์ยานยนต์
และชิ้นส่ วนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
• ลดความซ้ าซ้อน ภาระค่าใช้จ่ายและระยะเวลาที่ใช้ในการ
ตรวจสอบและรับรอง
เป้ าหมาย
เพื่อให้เกิดการยอมรับผลการตรวจสอบและรับรอง
(Conformity assessment) สาหรับผลิตภัณฑ์ยานยนต์และ
ชิ้นส่ วนระหว่างหน่วยงานควบคุมกฎระเบียบของประเทศ
สมาชิกอาเซียน
โดยคานึงถึงความสามารถของผูป้ ระกอบการไทยและ
ศักยภาพของโครงสร้างพื้นฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง
ที่มีอยูแ่ ละสอดคล้องกับ ASEAN Framework agreement on
Mutual Recognition Arrangements
ขอบคุณครับ