File นำเสนอ เรื่อง - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

Download Report

Transcript File นำเสนอ เรื่อง - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

ความเสี่ยงและการเตรียมรับมือการก่อการร้าย
ด้วยอาวุธชีวภาพของประเทศไทย
โดย ผูอ
้ ำนวยกำรสำน ักโรคติดต่ออุบ ัติใหม่ กรมควบคุมโรค
http://beid.ddc.moph.go.th ณ 24 มิถน
ุ ำยน 2554
Bioterrorism อาวุธชีวภาพ
้ อ
ื่ ว่ำ “Deliberate use of
WHO ใชช
biological agents” หรือ “กรณี
เหตุกำรณ์กำรจงใจกระทำของ
มนุษย์ดว้ ยสำรชวี ะ”
: อาวุธทีม
่ อ
ี านุภาพในการทาลายล ้างสูง
ทาให ้คนจานวนมากในพื้นทีก
่ ว ้างได ้รับ
บา ด เ จ็ บ ป่ วย แ ละ ต า ย จุ ล ิ น ท รี ย ์ ท ี่
สามารถน ามาผลิต เป็ นอาวุธ ช วี ภาพได ้
ต ้องมี คุ ณ สมบั ต ิผ ลิต ง่ า ย ต ้นทุ น ต่ า มี
ความคงทนในการผลิต เก็บรักษาไว ้ได ้
นาน โดยไม่เปลีย
่ นแปลงคุณสมบัต ิ และ
เข ้าสูร่ า่ งกายได ้หลายทาง
ค ุณลักษณะของเชื้อโรคที่อาจจะนามาใช้ทา
อาว ุธชีวภาพ

ทำให้มีอตั รำป่ วยและอัตรำ
ตำยสูง
 แพร่จำกคนสู่คนได้งำ
่ย
 ใช้ปริมำณเชื้ อน้อย แต่แพร่
ได้มำกทำงกำรหำยใจ
 กำรวินิจฉัยโรคได้ไม่เร็วนั ก
 ไม่มีวค
ั ซีน

ทำให้เกิดควำมตื่นตระหนก
ได้มำก
 สำมำรถผลิตเชื้ อได้เอง
 มีควำมคงตัวในสิ่งแวดล้อม
 มีฐำนข้อมูลจำกกำรวิจย
ั
และกำรพัฒนำมำก่อน
 สำมำรถใช้เป็ นอำวุธได้
รายชือ่ โรคที่ใช้เป็ นอาวุธชีวภาพ (US CDC)
Group A : Anthrax, Plague, Smallpox, Botulism,
Tularemia,
High
potential Viral Haemorrhagic Fever
(อิโบลา ลาสสา มาบวร์ ก จูนิน )
Group B : Q fever, Brucellosis, Glanders, VEE, Ricin,
Clostridium perfringens, Staph. Enterotoxin B,
Salmonella, Shigella, E.coli O 157 : H7,
Vibrio chloerae, Cryptosporidium parvum
Group C : Nipah virus, Hanta virus, Yellow fever,
Tick-borne haemorrhagic fever, MDR-TB
BIOLOGICAL ANTHRAX 2002, USA
Risk factors in Thailand
• Alliance with western
countries
• Local political/religious
conflicts
• Craze, mimicry
Anthrax mail hoaxes, Thailand
(16 Oct 01 - 22 Feb 02)
Anthrax test results on
217 suspected letters/objects
were all negative !
The confidence in public security
was finally restored.
กฎอนำมัยระหว่ำงประเทศ
พ.ศ. 2548
(International Health
Regulation 2005)
แนวทำงของ WHO
เรื่องของควำมมัน่ คง
ทำงด้ำนสำธำรณสุข
(Global Health Security)
การจงใจกระทาของมนุษย์ดว้ ยสารชีวะ หรือเหตุการณ์
จะกระทบต่อระบบสำธำรณสุ ข ซึ่งสำรชีวะถูกทำให้กระจำยในวง
กว้ำ งหรื อติ ดต่ อได้ง่ำย และต้องดำเนิ นกำรกับผูป้ ่ วยเป็ นจำนวนมำก
ระบบต่ำงๆ จะต้องมีกำรเตรียมพร้อมสู่กำรรองรับ สำหรับกำรอพยพคน
หรื อ กำรส่ ง วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ท ำงกำรแพทย์ ห รื อ วั ค ซี น บำงกรณี ก ำร
ปฏิบตั ิกำรตอบโต้อำจต้องใช้รูปแบบพิเศษ กำรดำเนิ นกำรตอบโต้ที่ไม่
เหมำะสมจะทำให้เกิดควำมเสี่ยงของกำรเพิ่มจำนวนของผูป้ ่ วยติดเชื้ อ
ภารกิจที่จาเป็ นในการเตรียมพร้อม
• การจัดทาแผน คู่มือปฏิบตั งิ าน มาตรฐานงาน
• การให้ขอ้ มูลข่าวสารและเฝ้ าระวังโรค : ศูนย์ขอ้ มูล ระบบข้อมูล
• การประสานงาน : คณะกรรมกำรและศูนย์ประสำนงำน
• การฝึ กอบรม : ตำรวจ เจ้ำหน้ำที่ กสท. บุคลำกร สธ.
• การเตรียมเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ : ยำปฏิชีวนะ ชุด & อุปกรณ์กนั
เชื้ อ
• การเตรียมปฏิบตั กิ าร : หน่ วยเฉพำะกิจเพื่อสอบสวนและควบคุมโรค
• การให้สุขศึกษาแก่ประชาชน
การประสานความร่วมมือพหุภาคีเพือ่ แก้ปัญหาการใช้อาวุธชีวภาพ
กระทรวง
กลาโหม
สภาความมัน่ คง
แห่งชาติ
กระทรวงมหาด
ไทย
งานข้อมูลข่าวสาร
การเฝ้ าระวัง การประสานความร่ วมมือ
กระทรวง
วิทยาศาสตร์ฯ
พหุภาคีเพือ่ แก้ ปัญหาการใช้ อาวุธชีวภาพ
สอบสวน ชันสูตร ปฏิบตั ิการเมื่อเกิดเหตุ
กระทรวง
สาธารณสุข
การรักษาพยาบาล เวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์
ด้านอืน่ ๆ
หน่วยงาน
ภาคเอกชน
สานักงานตารวจ
แห่งชาติ
องค์กรสาธารณประโยชน์
แผนบรรเทาภัย จาก
โรคระบาดสัตว์
แผนบรรเทาภัยจาก
การคมนาคม ขนส่ง
แผนบรรเทาภัย จาก
สารเคมี วัตถุอนั ตราย
แผนบรรเทาภัย จาก
อุทกภัย วาตภัย โคลน
ถล่ม
แผนบรรเทาภัย จาก
อัคคีภยั
แผนบรรเทาภัย จาก
ไฟป่ า
แผนป้องกันภัย
ฝ่ ายพลเรือน แห่งชาติ
๒๕๔๘
แผนบรรเทาภัย จาก
แผ่นดินไหว
แผนบรรเทาภัย จาก
ภัยแล้ง
แผนเตรียมพร้อม
รับมือภัยคุกคาม จาก
อาวุธชีวภาพ อาวุธ
เคมี
แผนบรรเทาภัย จาก
อากาศหนาว
แนวทางการอานวยการ
การเตรียมพร้อมต่อภัยคุกคาม
จากอาวุธชีวภาพ
นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ
นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
(สมช.)
แผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2553-2557
แนวทำงกำรตอบโต้ภำวะฉุกเฉินทำงสำธำรณสุข
จำกโรคติดต่ออุบ ัติใหม่ อำวุธชวี ภำพ
อนุสัญญาห้ ามอาวุธชีวภาพ
Biological Weapons Convention - BWC
• ห้ ามรัฐภาคีพฒ
ั นา ผลิต และสะสมอาวุธชีวภาพ
และให้ ทาลายอาวุธทีม่ ีอยู่ในครอบครอง อนุสัญญา
ห้ ามอาวุธชีวภาพถือเป็ นความตกลงพหุภาคีด้าน
การลดอาวุธฉบับแรกของโลก
• ประเทศไทยเข้ าเป็ นภาคีอนุสัญญาฯ เป็ นลาดับที่
38 โดยให้ สัตยาบันเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ค.ศ.
1975 (พ.ศ. 2518)
การสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข
คู่มือการสวมใส่ถอด
เครื่องป้องกันร่างกาย
การส่วนบุคคล
ชุดสาธิตการเก็บ
ตัวอย่างส่งตรวจทาง
ห้องปฏิบตั กิ ารฯ
แนวทางปฏิบตั ิ
กรณีพบจดหมายหรือพัสดุตอ้ งสงสัยว่าอาจบรรจุอาวุธชีวภาพ
แนวทางปฏิบตั ิ
ผูป้ ่ วยที่น่าสงสัยว่าอาจเกิดจาก
อาวุธชีวภาพ โดยไม่ปรากฎ
เหตุการณ์แพร่เชื้อที่ชดั เจน
1. ประเทศจาเป็ นต้องมีความพร้อมต่อภัยจากอาวุธชีวภาพ
2. ความพร้อมของประเทศ ขึ้นอยู่กบั ความเข้มแข็งของโครงสร้างพื้นฐาน /บุคลากร
3.
4.
5.
ที่มีศกั ยภาพด้านวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข เศรษฐกิจ สังคม และ ความมัน่ คง
ประสบการณ์การรับมือกับภัยคุกคามอาวุธชีวภาพ และโรคติดเชื้ออุบตั ิใหม่ แสดง
ว่าประเทศมีศกั ยภาพและความพร้อม และต้องพัฒนาให้เข้มแข็งยิง่ ขึ้น
การปรับปรุงและพัฒนาศักยภาพ ต้องทาในหลายมิติ เช่น นโยบาย การประเมิน
ความเสีย่ ง แผนเตรียมพร้อม การจัดองค์กร บุคลากร งบประมาณ ซึง่ อยู่บน
พื้นฐานของความร่วมมือพหุภาคี
การดาเนินนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายด้านความมัน่ คง และ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็ นปั จจัยสาคัญต่อความเสีย่ งและความพร้อมของ
ประเทศ