Transcript Document

1
มาตรการต่ อต้ านทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Counter Measures-ECM)
มาตรการก่อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ (ECM) เป็ นมาตรการป้องกัน หรือลดขีด
ความสามารถในการใช้ คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้าของฝ่ ายข้ าศึกด้ วย การรบกวน
(Jamming ) และ การลวง(Deception)
วัตถุประสงค์ ของมาตราการก่ อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ (ECM)1
1. เพือ่ ป้องกันหรือลดประสิ ทธิภาพในการติดตามเป้าฝ่ ายเดียวกัน จาก
ฝ่ ายข้ าศึก
2.ลดประสิ ทธิภาพในการประมวลผลของระบบควบคุมการยิงอาวุธ
ของข้ าศึก
3. ลดประสิ ทธิภาพในการควบคุม บังคับบัญชา
4. สร้ างเป้าลวง เพือ่ ลวงเลียนระบบควบคุมการยิงอาวุธสองข้ าศึก
2
5.ลดประสิ ทธิภาพ ระบบเดินเรือของข้ าศึก
6.เป็ นภัยคุกคามระบบพิสูจน์ ฝ่ายของข้ าศึก ด้ วยการก่อกวนระบบIFF
7.ลดประสิ ทธิภาพ ระบบศูนย์ รวบ(Electro-Optical)
3
ยุทธวิธีทใี่ ช้ ในการก่ อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์
(Jamming Employment tactics)
1. Self-Screen Jammer
 เป็ นการก่ อกวนโดยใช้ อุปกรณ์ ทตี่ ิดตั้งไว้ ในเรือ หรืออากาศยาน ทาการ
Jamming เพือ่ ป้องกันตัวเองจากอาวุธนาวิถี เท่ านั้น
ผลของการJamming จะมีผลกระทบถึง ระบบSensor ของทั้งฝ่ ายเราและ
ฝ่ ายข้ าศึก เนื่องจากอุปกรณ์ เหล่านีใ้ ช้ พารามิเตอร์ ใกล้เคียงกัน
2. Stand-Off Jammer
 ใช้ นอกระยะตรวจจับของระบบควบคุมอาวุธของข้ าศึก
 ใช้ เพือ่ เป็ นฉากป้องกันกองกาลังโจมตี จากระบบควบคุมอาวุธของข้ าศึก
 ปลอดภัยจากอาวุธนาวิถีชนิด Home-on Jam(HOJ)
4
3.
Stand-Forward
Jammer
เป็ นการJ a m m i n g ทีอ่ ยู่ระหว่ างระบบควบคุมอาวุธของ
ข้ าศึกและกองกาลังโจมตี
เป็ นวิธีที่มีประสิ ทธิภาพเนื่องจากเข้ าใกล้ ระบบควบคุมอาวุธ
ของข้ าศึก และไม่ จาเป็ นต้ องใช้ กาลังส่ งในการ Jamming
มากนัก
ผลเสี ยคือ
จะเป็ นอันตรายกับหน่ วยที่เข้ าไปดาเนินการ
Jamming จาก อาวุธนาวิถี ชนิด HOJ (Home-on Jam)
และ A R M ( A n t i - R a d i a t i o n M i s s i l e )
5
Self-Screen Jamming
6
Stand-off Jammer
7
ผลจากการก่ อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ ทปี่ รากฏบนจอ PPI
ระหว่ าง Self-Screen JammerกับStand-off Jammer
8
วิธีการในการก่อกวน(Jamming Techniques)
Spot Jamming หมายถึงการก่ อกวนเฉพาะความถี่ที่ฝ่ายข้ าศึก
ใช้ งาน ต้ องทราบพารามิเตอร์ และ ความถี่ ที่แน่ นอน เพือ่
ก่ อให้ เกิดผลดี
Barrage Jamming หมายถึงการก่ อกวนย่ านความถี่ ที่กว้ างใน
เวลาเดียวกัน
Swept Jamming หมายถึง การใช้ ย่านความที่ ที่แคบ แต่ กวาด
ไปมา ให้ ครอบคลุมย่านความถีท่ ี่กว้ างโดยการปรับความถี่โดย
อัตโนมัติ
9
Spot Jamming
10
Barrage Jamming
11
Swept Jamming
12
ประเภทของการก่ อกวน(Type of Jamming)
การก่ อกวน(Jamming) หมายถึงกรรมวิธีในการ รบกวนการ
ทางานของเรดาร์ หรืออุปกรณ์ แพร่ คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ าต่ างๆ ของ
ข้ าศึกเพือ่ ให้ การใช้ งานอุปกรณ์ เหล่ านั้นทางานสั บสน
หรือ
ประสิ ทธิภาพลดลง แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. การก่ อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Jamming)
2. การก่ อกวนทางกล (Mechanical Jamming หรือ
Non-Electronic Jamming
13
1. การก่ อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Jamming) “Active
E C M ”หมายถึงการสร้ างสั ญญาณรบกวนเพือ่ ทาให้ การใช้ งาน
อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ของข้ าศึกเกิดการสั บสน เช่ น การทาNoise
Jamming ซึ่งแบ่ งออกเป็ น Radar Noise Jamming และ
Communication Noise Jamming
2. การก่ อกวนทางกล(Mechanical Jamming or NonElectronic Jamming) “Passive ECM”หมายถึง การสร้ างเป้ าลวง
เพือ่ ทา ให้ การใช้ อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ของข้ าศึกเกิดการสับสน
โดยใช้ เครื่อง
มืออืน่ ๆทีไ่ ม่ ใช่ อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์
14
การก่อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Jamming)
เป็ น Active ECM เนื่องจากเป็ นการก่ อกวนทีใ่ ช้ การแพร่ คลืน่
แม่ เหล็กไฟฟ้ า เช่ น Radar Noise Jamming และ
Communication Noise Jamming เป็ นต้ น
15
การก่ อกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Jamming)
1. R a d a r
N o i s e
J a m m i n g
หมายถึงการแพร่ คลืน่ ทีม่ ีการผสมสั ญญาณรบกวนอย่ างต่ อเนื่อง(ลักษณะ
คลืน่ ทีใ่ ช้ ก่อกวนมีลกั ษณะไม่ เหมือนPulse ของเรดาร์ )เข้ าไปในSide Lobe
เรดาร์ ของข้ าศึกซึ่งจะมีผลทาให้ สัญญาณรบกวน บังEcho เป้าขนาดเล็กอย่าง
สมบูรณ์ หากการรบกวนใช้ กาลังสู งจะทาให้ สัญญาณรบกวนเกิดทั้ง Main
L o b e และ S i d e L o b e ลดประสิ ทธิภาพการทางานของเรดาร์
AM Noise Jamming
F M N o i s e J a m m16 i n g
ภาพแสดง เมือ่ ฝ่ ายถูกรบกวนลด Gain ของเครื่องรับ
แถบแสงสว่ างในรูปแสดงทิศทางของเรือ
หรืออากาศยานทีส่ ่ งสั ญญาณก่ อกวนเมือ่ ฝ่ ายถูกรบกวน
ลดGainของ เครื่องรับ
17
2.การรบกวนการติดต่ อสื่ อสาร(Communication Noise Jamming)
1) การแพร่ คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้าที่ผสมสัญญาณรบกวน เข้ าไปในวงจรการ
สื่ อสารของข้ าศึก วัตถุประสงค์ เพือ่ รบกวนและทาให้ เกิดสั บสนในวงจร
สื่ อสาร
ประสิ ทธิภาพจะมากเมื่อทาการรบกวนระยะใกล้
2) ส่ งข่ าวลวงเข้ าไปในวงจรสื่ อสารของข้ าศึกโดยตรง เพือ่ ให้ เข้ าใจผิดว่ า
เป็ นข่ าวจริง
3) ส่ งข่ าวลวงเข้ าไปในวงจรสื่ อสารของฝ่ ายเราเพือ่ หวังผลให้ ข้าศึกดักรับ
และคิดว่ าเป็ นข่ าวจริง
ประสิ ทธิภาพสู งเมื่อใช้ การรบกวนหลายระบบพร้ อมกัน
18
การก่อกวนทางกล
(Mechanical Jamming or Non-Electronic Jamming)
เป็ น Passive ECM เนื่องจากเป็ นการก่ อกวนโดยไม่ มีการ
แพร่ คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ า คือ
Chaff
Rope (Ribbon)
Decoy
Gull
Kite
Flare
19
1.Chaff หมายถึงการใช้ แถบอลูมิเนียมหรือโลหะทีต่ ดั ให้ เท่ ากันหรือ
ให้ เหมาะสมกับความยาวคลืน่ ของเรดาร์ ที่จะทาการก่ อกวน แถบ
โลหะเหล่ านีจ้ ะทาหน้ าที่สะท้ อนคลืน่ เรดาร์ และเกิดเป็ นเป้าลวงหลาย
เป้าพร้ อมกันทาให้ เรดาร์ ควบคุมการยิงของข้ าศึกสั บสนในการเลือก
เป้า
20
2.Rope (Ribbon) เป็ นแถบโลหะหรืออลูมิเนียม นา้ หนักเบาและทางานใน
ลักษณะเดียวกับ C h a f f แต่ ตดั เป็ นแถบยาวกว่ า และทิง้ ลงมาจาก
เครื่องบิน แถบโลหะเหล่านีจ้ ะค่ อยๆ ลอยลงสู้ พนื้ ดิน และจะเกิดขึน้ นาน
กว่ า
C h a f f
เนื่องจากลอยลงมาจากทีส่ ู ง
3.Decoy หมายถึง
Gull เป็ นวัสดุสะท้ อนคลืน่ เรดาร์ ตดิ ไว้ กบั ทุ่นลอยนา้ เพือ่ สร้ างเป้ าลวง ให้
ข้ าศึกคิดว่ าเป็ นเรือ
Kite เป็ นวัสดุสะท้ อนคลืน่ เรดาร์ ติดไว้ กบั ลูกบอลลูน เพือ่ สร้ างเป้ าลวงให้
ข้ าศึกคิดว่ าเป็ น เครื่องบิน
Flare เป็ นพลุทใี่ ช้ ยงิ จากเรือ หรืออากาศยาน เพือ่ สร้ างเป้ าลวงอาวุธนาวิถี ทีน่ า
วิถีด้วย Infra-red
21
การก่อกวนทางกล
(Mechanical Jamming or Non-Electronic Jamming)
GULL
Flare
22
การนาเรือหลบหลีกหลังการยิงChaff
2
Wind 15
KTS
ภัยคุกคาม
20
Knot
15 Knots
2
ตาแหน่ งที1
่ เรือตรวจพบภัยคุกคามและยิงChaff เพือ่ สร้ างเป้ าลวงเพือ่ ปกปิ ดตาบลทีเ่ รือ และ
เปลีย่ นเข็มให้ เรือแล่ นตามลม พร้ อมทั้งลดความเร็วของเรือลงให้ เท่ ากับความเร็วของลม
ตาแหน่ งที2
่ Chaffที่ยิงขึน้ ไปเริ่มเกาะตัวเป็ นเมฆหนา เรือจึงเปลีย่ นเข็มและรั กษาความเร็วให้ เรือ
แล่ นอยู่ในบริเวณกลุ่มเมฆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการยิง Chaff
23
การหลบหลีกอาวุธนาวิถโี ดยใช้ เป้ าลวง(DECOY)
1 1
Wind
3
3
1
2
ตาแหน่ งที่1 เรดาร์ ที่หัวจรวดนาวิถี Lock on เป้ าเรือได้
2
3
ตาแหน่ งที่2 เรือสร้ างเป้ าลวงในทิศทางที่จรวดนาวิถเี ข้ ามา และเปลีย่ นเข็มแล่นทวนลม เรดาร์ ที่หัวจรวดเริ่มเปลีย่ นเป็ นLock On ที่เป้ าลวง
ตาแหน่ งที่3 จรวดนาวิถตี ดิ ตามเป้ าลวง ขณะที่เรือแล่นออกนอกรัศมีการค้นหาของเรดาร์ ของจรวดนาวิถี
24
การลวงทางอิเล็กทรอนิกส์ (Deceptive ECM - DECM)
วัตถุประสงค์ เพือ่ ปิ ดบังสั ญญาณจริงโดยส่ งสั ญญาณเลียนแบบที่
คล้ ายสั ญญาณเรดาร์ จริงแต่ มีการปรับแต่ งสั ญญาณเพือ่ ทาให้ ระบบ
เรดาร์ สับสน
1. การลวงทางระยะ คือการส่ งสัญญาณลวงด้วยการซ้าสัญญาณเรดาร์ ของข้ าศึ ก
สั ญญาณลวง
จะมีความแรงมากกว่ าเนื่องจากเป็ นสั ญญาณทีส่ ่ งจากเครื่องส่ ง
โดยตรง(สั ญญาณทีส่ ่ งซ้านี้ จะต้ องมีลกั ษณะเหมือนPulse ของRadarมากทีส่ ุ ด)
พร้ อมทั้งหน่ วงเวลาให้ ช้า กว่ าเป้ าจริงเล็กน้ อย หลังจากนั้นก็ส่งสั ญญาณนั้นออกไป
ใหม่ เนื่องจากสั ญญาณทีเ่ ราส่ งออกไปมีความแรงมากกว่ าสั ญญาณจริงและหน่ วง
เวลาให้ ช้าลงกว่ าเป้ าจริงเล็กน้ อย จึงทาให้ เรดาร์ ของข้ าศึก เปลีย่ นไป Lock onเป้ า
ลวงที่มขี นาดใหญ่ กว่ าแต่ เกิดขึน้ ช้ ากว่ าเป้ าจริง มีผลทาให้ เรดาร์ ข้าศึกไม่ สามารถ
ติดตามและ
L o c k
O n
เป้ าจริงได้ ทนั
25
2. การลวงทางแบริ่ง มีลกั ษณะคล้ายกับ การลวงทาง
ระยะ แต่ จะแตกต่ างกันที่ เราจะส่ งซ้าสั ญญาณเรดาร์
ข้ าศึกเข้ าทาง Side Lobe (สั ญญาณทีส่ ่ งซ้า จะต้ องมี
ลักษณะเหมือนPulse ของRadarมากทีส่ ุ ด) ซึ่งจะทาให้
สายอากาศเรดาร์ ของข้ าศึกหันผิดทิศไป มีผลทาให้ เกิด
ความคลาดเคลือ่ นทางแบริ่งและมุมกระดก โดยทัว่ ไป
เพือ่ ให้ เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ดในการลวง จะใช้ การลวง
ทั้งทางระยะ
และทางแบริ่งควบคู่กนั ไป
26
การลวงทางอิเล็กทรอนิกส์ (Deceptive ECM - DECM)
ลักษณะการลวงทีร่ ะยะและการลวงทางแบริ่ง
27
มาตราการลดการสะท้ อนคลืน่ เรดาร์
(Radar Cross Section Reduction)
เป็ นวิธีลดพืน้ ที่ในการสะท้ อนคลืน
่ เรดาร์ ให้ น้อยทีส่ ุ ด
(Stealth Techniques)มีวธิ ีการดาเนินการดังนี้
การลดการสะท้ อนคลืน่ เรดาร์ โดยการจัดรูปร่ าง ให้ มสี ่ วนโค้ งมน
มากทีส่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะทาได้ และจะต้ องมีพนื้ ทีน่ ้ อยที่สุดทีจ่ ะสะท้ อนคลืน่
เรดาร์
การใช้ วสั ดุทดี่ ูดซับคลืน่ เรดาร์ เช่ นวัสดุประเภท ไดอิเลคตริค หรือ
วัสดุทมี่ คี ุณสมบัติเป็ นแม่ หล็ก เช่ น เฟอร์ ไรท์ มาห่ อหุ้มภายนอกของ
เรือ หรืออากาศยาน ซึ่งวัสุดุเหล่านีจ้ ะเปลีย่ นพลังงานวิทยุให้ เป็ น
พลังงานความร้ อน
28
มาตราการลดการสะท้ อนคลืน่ เรดาร์
(Radar Cross Section Reduction)
29
30