ชุดที่6

Download Report

Transcript ชุดที่6

ภาษีมูลค่ าเพิม่
1. บทนา
2. ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
3. - การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
3.1 การขายสิ นค้ า(ที่มิใช่ การส่ งออก)หรือการให้ บริการ
3.2 การนาเข้ าสิ นค้ า
3.3 ผู้ประกอบการมีมูลค่ าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่อม
- การใช้ สิทธิขอจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่
1
4. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
5. ฐานภาษี
6. อัตราภาษี
7. การคานวณภาษี
8. ภาษีซื้อที่ไม่ ให้ นามาหักในการคานวณภาษี
9. หน้ าทีท่ ตี่ ้ องปฏิบัตขิ องผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
10. บทกาหนดโทษ
2
ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ แบ่ งเป็ น 3 ประเภท
1. ผู้ประกอบการ
2. ผู้นาเข้ า
3. ผู้ทกี่ ฎหมายกาหนดให้ มหี น้ าทีเ่ สี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ เป็ นกรณีพเิ ศษ
3
ผู้ประกอบการ มีองค์ ประกอบดังนี้
1. เป็ นบุคคลธรรมดา คณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิตบิ ุคคล
หรือนิตบิ ุคคล
2. ขายสิ นค้ า /ให้ บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ
3. ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
4
นิติบุคคล หมายความว่า บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล
ตามประมวลรัษฎากร(ม.39) องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และ
องค์กรอื่นที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นนิติบุคคล(ม.77/1(4))
5
ข้ อสั งเกต
1. บุคคลธรรมดาหรื อคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ถ้าขาย
สิ นค้าหรื อให้บริ การในทางธุรกิจ หรื อวิชาชีพ นอกจากจะต้อง
เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแล้ว จะต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย
(หากมีรายได้เกิน 1,800,000 บาทต่อปี )
6
2. คาว่านิติบุคคลในภาษีมูลค่าเพิ่มมีความหมายกว้างกว่า
คาว่าบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลในภาษีเงินได้นิติบุคคล
โดยรวมถึงสหกรณ์หรื อรัฐวิสาหกิจ ดังนั้น ถ้านิติบุคคลมีการขาย
สิ นค้าหรื อให้บริ การในทางธุรกิจหรื อวิชาชีพ แม้ไม่ตอ้ งเสี ย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลแต่กอ็ าจต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มได้ เช่น
การไฟฟ้ าฯ เป็ นต้น
7
หน้ าทีท่ ตี่ ้ องปฏิบัตขิ องผู้มหี น้ าทีเ่ สียภาษีมูลค่ าเพิม่
1. จดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่
2. จัดทาใบกากับภาษี
3. จัดทารายงานเกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่
4. ยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
8
การคานวณภาษีมูลค่ าเพิม่
ภาษีที่ต้องชาระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
9
ภาษีขาย
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนได้เรี ยก
เก็บหรื อพึงเรี ยกเก็บจากผูซ้ ้ือสิ นค้า หรื อผูร้ ับบริ การเมื่อขาย
สิ นค้า หรื อรับชาระค่าบริ การ หากภาษีขายเกิดขึ้นในเดือนใด
ก็เป็ นภาษีขายของเดือนนั้น ไม่คานึงว่าสิ นค้าที่ขายหรื อ
บริ การที่ให้น้ นั จะซื้อมาหรื อเป็ นผลมาจากการผลิตในเดือน
ใดก็ตาม
10
ภาษีซื้อ
ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่ผปู้ ระกอบการได้จ่ายให้กบั ผูข้ ายสิ นค้า
หรื อผูใ้ ห้บริ การที่เป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียน เมื่อซื้ อ
สิ นค้าหรื อชาระค่าบริ การเพื่อใช้ในการประกอบกิจการของ
ตน (ทั้งที่เป็ นวัตถุดิบ หรื อ สิ นค้าทุนประเภทเครื่ องจักร
เครื่ องมือและอุปกรณ์ เป็ นต้น) หากภาษีซ้ื อเกิดขึ้นในเดือน
ใด ก็เป็ นภาษีซ้ือของเดือนนั้น ไม่คานึงว่าสิ นค้าที่ซ้ือมานั้น
จะขายหรื อนาไปใช้ในการผลิตในเดือนใดก็ตาม
11
การยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
ภาษีซื้อทีก่ ม.ไม่ ให้ นามาหักออกจากภาษีขาย ม.82/5
1. ไม่ มใี บกากับ/ไม่ อาจแสดงใบกากับภาษี
2. มีข้อความไม่ ถูกต้ อง/ไม่ สมบูรณ์ ในส่ วนสาระสาคัญ
3. ภาษีซื้อทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องโดยตรงกับกิจการ
12
การยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
4. ภาษีซื้อที่เกิดจากการรับรอง
5. ภาษีซื้อตามใบกากับภาษีซึ่งออกโดยผู้ที่ไม่ มี
สิ ทธิออกใบกากับภาษี
13
การยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
6. ภาษีซื้อตามทีอ่ ธิบดีกาหนด (ป.อธิบดีฯเกีย่ วกับ
Vat # 42)
- รถยนต์ นั่งไม่ เกิน 10 คน
- ใบกากับภาษีอย่ างย่ อ
- ซื้อทรัพย์ สิน/ใช้ ในกิจการNon Vat
- ก่ อสร้ างอสั งหาฯ ต่ อมาขาย/ให้ เช่ า/ใช้
ในกิจการ Non Vat ภายใน 3 ปี นับแต่ ก่อสร้ างเสร็จสมบูรณ์
14
การยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
คาว่ า “ใบกากับภาษี” มิได้ ตีพมิ พ์ /จัดทา
ด้ วยคอมฯ ทั้งฉบับ
- ใบกากับมิได้ จัดทาตามป. อธิบดี #39
และ # 52
-ใบกากับภาษีมคี าว่ าสาเนา
- ภาษีทเี่ ฉลีย่ ของกิจการ Non Vat
-
15
การยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
-ภาษีซื้อกิจการVat และ Non Vat มี Non
Vat ไม่ น้อยกว่ า 90% และเลือกไม่ นาภาษีซื้อไปหัก
จากภาษีขาย
- ภาษีซื้อซึ่งรายการในใบกากับภาษีถูก
แก้ ไขเปลีย่ นแปลง เว้ นแต่ ถูกแก้ ไขตามหลักเกณฑ์ ฯ
ตาม ป.46/2537
16
การยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
- ภาษีซื้อทีม่ ใิ ช่ รถยนต์ นั่งไม่ เกิน 10 คนต่ อมา
ได้ ดดั แปลงเป็ นรถยนต์ นั่งไม่ เกิน 10 คนเฉพาะทีไ่ ด้ ทา
ภายใน 3 ปี นับแต่ ได้ รถยนต์ ไว้ ในครอบครอง
- ภาษีซื้อที่ ชื่อ ทีอ่ ยู่และเลขฯ มิได้ ตีพมิ พ์ /
จัดทาขึน้ ด้ วยคอมฯ ทั้งฉบับ
17
การยืน่ แบบแสดงรายการและนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
ยืน่ แบบเป็ นรายเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือน
ถัดไปแบบ ภ.พ.30
18
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
1. ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
2. กิจการที่ตอ้ งเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ
3.1 กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ
3.2 รายรับที่ไม่นาไปรวมคานวณเพื่อเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
4. ฐานภาษีและอัตราภาษี
5. หน้าที่ของผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.1 จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.2 ยืน่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี
5.3 จัดทารายงานและเก็บรักษารายงานและเอกสาร
19
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ มีองค์ ประกอบ 3 ประการ
1. เป็ นบุคคลธรรมดา คณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิติ
บุคคลหรือนิตบิ ุคคล
2. ประกอบกิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
20
กิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
1. การธนาคาร
2. การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์
ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
3. การรับประกันชีวติ
4. การรับจานา
5. การประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารฯ
21
กิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
6. การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นการค้ าหรือหากาไร
7. การขายหลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์ (ยกเว้ น
ภาษี)
8. การประกอบกิจการอืน่ ตามที่กาหนดโดยพระราช
กฤษฎีกา
- กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์
- ธุรกิจแฟ็ กเตอริง
22
การคานวณภาษี
- ฐานภาษี * อัตราภาษี
- ฐานภาษี = รายรับที่กิจการได้รับหรื อพึงได้รับในเดือนภาษี
- ต้องเสี ยภาษีทอ้ งถิ่นควบคู่ไปด้วยอีกร้อยละ 10
ของจานวนภาษีธุรกิจเฉพาะ
23
การยืน่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี
ยืน่ เป็ นรายเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
แบบ ภ.ธ.40
สาหรับกิจการขายอสังหาริ มทรัพย์เป็ นการค้าหรื อหากาไร
ให้ยนื่ แบบพร้อมชาระภาษีต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผรู ้ ับจดทะเบียน
สิ ทธิและนิติกรรมขณะจดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม ณ สานักงาน
ที่ดิน
24
อากรแสตมป์
จัดเก็บจากการทาตราสาร 28 ลักษณะ ตามทีก่ าหนดไว้
ในบัญชีอตั ราอากรแสตมป์ ดังนี้
1. เช่ าทีด่ นิ โรงเรือง สิ่ งปลูกสร้ างอย่ างอืน่ หรือแพ
2. โอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ พันธบัตรและใบรับรองหนีซ้ ึ่ง
บริษทั สมาคม คณะบุคคล หรือองค์ การใด ๆ เป็ น ผู้ออก
3. เช่ าซื้อทรัพย์ สิน
4. การจ้ างทาของ
25
อากรแสตมป์
5. กู้ยมื เงินหรือการตกลงให้ เบิกเงินเกินบัญชีจาก
ธนาคาร
6. กรมธรรม์ ประกันวินาศภัย
7. ใบมอบอานาจ
8. ใบมอบฉันทะสาหรับให้ ลงมติในทีป่ ระชุมของบจ.
9. ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสั ญญาใช้ เงินหรือตราสารทานอง
เดียวกัน
26
อากรแสตมป์
10. บิลออฟเลดิง
11. ใบหุ้น ใบหุ้นกู้ พันธบัตรฯ
12. เช็คหรือหนังสื อคาสั่ งใด ซึ่งใช้ แทนเช็ค
13. ใบรับฝากเงินประเภทประจาของธนาคารโดยมี
ดอกเบีย้
14. เลตเตอร์ ออฟเครดิต
27
อากรแสตมป์
15. เช็คสาหรับผู้เดินทาง
16. ใบรับของ
17. คา้ ประกัน
18. จานา
19. ใบรับของคลังสิ นค้ า
20. คาสั่ งให้ ส่งมอบของ
28
อากรแสตมป์
21. ตัวแทน
22. คาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
23. คู่ฉบับหรือคู่ฉีกแห่ งตราสาร
24. หนังสื อบริคณฑ์ สินธิของบจ. ที่ส่งต่ อนาย
ทะเบียน
25. ข้ อบังคับของบจ. ที่ส่งต่ อนายทะเบียน
29
อากรแสตมป์
26. ข้ อบังคับใหม่ หรือ สาเนาหนังสื อบริคณฑ์ ฯ
หรือข้ อบังคับของ บจ. ซึ่งเปลีย่ นแปลงใหม่ ที่ส่ง
ต่ อนายทะเบียน
27. หนังสื อสั ญญาห้ างหุ้นส่ วน
28. ใบรับ ยกเว้ น ใบรับสาหรับรายรับที่เสี ย Vat
และ Sbt
30