ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร

Download Report

Transcript ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร

โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารหมอภาษี คลินิกภาษี
กระทรวงการคลัง รุ่นที่ 1 - 5
ความรู้ เกีย่ วกับภาษีอากรของกรมสรรพากรตามประมวลรัษฎากร
วันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ถึงวันที่ 13 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมวินเซอร์ สวีท สุ ขุมวิท 20
วัตถุประสงค์ โครงการ
1. ผลิตบุคลากรที่จะเป็ นผูใ้ ห้บริ การในฐานะหมอภาษี ประจาคลินิกภาษี
กระทรวงการคลัง โดยบุคลากรเหล่านี้จะต้อง
1.1 มีความรู ้ในภาพรวมเกี่ยวกับภาษีอากรที่จดั เก็บโดย 3 กรม
สามารถให้คาแนะนาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเสี ยภาษีอากรแก่
ผูป้ ระกอบการรายใหม่ ผูป้ ระกอบการรายย่อย (SME) และ
ประชาชนทัว่ ไป ได้
1.2 มีทศั นคติและมีความพร้อมที่จะให้บริ การแก่ประชาชน
2. บูรณาการความรู ้ดา้ นภาษีอากรระหว่างกรมจัดเก็บ ผ่านเครื อข่าย
บุคลากรที่มาทาหน้าที่เป็ นหมอภาษี ประจาคลินิกภาษี กระทรวงการคลัง
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับภาษีอากร
ความหมายของภาษีอากร
1. ภาษีอากรโดยทัว่ ไปจะมีลกั ษณะบังคับจัดเก็บ
2. ภาษีอากรโดยทัว่ ไปไม่มีผลตอนแทนโดยตรงต่อผูเ้ สี ยภาษี
3. ภาษีอากรไม่เกิดภาระการชาระคืนของรัฐบาล
4. ภาษีอากรมีลกั ษณะเป็ นการเคลื่อนย้ายทรัพยากรจากภาคเอกชน
ไปสู่ภาครัฐบาล
5. ภาษีอากรไม่จาเป็ นต้องเรี ยกเก็บเป็ น เงิน เสมอไป
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับภาษีอากร
วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีอากร
1. เพื่อหารายได้มาใช้จ่ายในกิจการของรัฐ
2. เพื่อควบคุมหรื อส่ งเสริ มพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ
3. เพื่อกระจายรายได้และทรัพย์สินให้เป็ นธรรม
4. เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับภาษีอากร
ลักษณะของภาษีอากรที่ดี ของ อดัมสมิท (Adam Smit)
หลักความเป็ นธรรม
หลักความแน่นอน
หลักความเป็ นกลาง
หลักอานวยรายได้
หลักความยืดหยุน่
หลักประสิ ทธิภาพในการบริ หาร
โครงสร้ างของภาษีอากร
1. ภาระภาษี หมายถึง ส่ วนของรายได้ที่แท้จริ งที่ลดลงเนื่องจากการ
จัดเก็บภาษีของรัฐบาล บางกรณี ผเู ้ สี ยภาษีตามกฎหมายมิใช่ผแู ้ บก
รับภาระภาษีไว้ทา้ ยที่สุดก็ได้ ดังนั้นภาระภาษีจึงพิจารณาแยกเป็ น
2 นัย คือ ภาระภาษีทางกฎหมาย และภาระภาษีทางเศรษฐกิจ
2. ฐานภาษี หมายถึง สิ่ งที่เป็ นมูลเหตุข้นั ต้นที่ทาให้บุคคลต้อง
เสี ยภาษีอากร ฐานภาษีในความหมายเบื้องต้นที่สาคัญ ได้แก่
ฐานรายได้ (income) ฐานการบริ โภค (consumption)
ฐานทรัพย์สิน (property) และฐานสิ ทธิพิเศษในการประกอบการ
(licence)
โครงสร้ างของภาษีอากร
3. อัตราภาษี หมายถึง อัตราที่เรี ยกเก็บภาษีจากฐานภาษี เพื่อนาไปคานวณ
ผลลัพธ์ภาษีอากรที่จะต้องจ่ายให้รัฐบาล อัตราภาษีอากรที่นิยมใช้กนั
แพร่ หลายทัว่ ไปมี 3 ประเภท ดังนี้
 อัตราภาษีคงที่
 อัตราภาษีกา้ วหน้า
 อัตราภาษีถอยหลัง
โครงสร้ างของภาษีอากร
4. การชาระภาษีอากร
 การชาระภาษีโดยการประเมินตนเอง
 การชาระภาษีโดยการประเมินของเจ้าพนักงาน
 การชาระภาษีโดยหัก ณ ที่จ่าย
5. การขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีอากร
 การขจัดข้อโต้แย้งในระดับบริ หาร
 การขจัดข้อโต้แย้งในระดับศาล
 การนาคดีภาษีอากรขึ้นสู่ศาล
โครงสร้ างของภาษีอากร
6. การบังคับใช้กฎหมายภาษีอากร
ในกรณี ที่ไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายหรื อปฏิบตั ิไม่ถูกต้อง บทลงโทษ
ทางภาษีอากรแยกได้เป็ นโทษทางอาญาและโทษทางแพ่ง
 โทษทางอาญา ได้แก่ โทษปรับหรื อจาคุม หรื อทั้งจาทั้งปรับ
 โทษทางแพ่ง ได้แก่ โทษที่ออกมาในรู ปแบบของดอกเบี้ย
และเงินเพิ่ม
การจาแนกประเภทภาษี
การจาแนกประเภทภาษีตามหลักการชาระภาษี แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
 ภาษีทางตรง คือ ภาษีที่ผเู ้ สี ยภาษีไม่อาจผลักภาระไปให้ผอู ้ ื่นได้
เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมรดก
ภาษีทรัพย์สิน เป็ นต้น
 ภาษีทางอ้อม คือ ผูเ้ สี ยภาษีสามารถผลักภาระภาษีไปให้ผูอ้ ื่น
ได้ง่าย เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีศุลกากร
ภาษีสรรพสามิต เป็ นต้น
การหลบหนีภาษีอากร, การหลีกเลีย่ งภาษีอากร
และการวางแผนภาษี
การหลบหนีภาษีอากร หมายถึง การไม่เสี ยภาษีอากรหรื อเสี ยภาษีอากร
น้อยกว่าที่ควรจะเสี ย ตามที่กฎหมายกาหนด ไม่วา่ จะเจตนา หรื อ
เพิกเฉย หรื อรู ้เท่าไม่ถึงการณ์
การหลีกเลี่ยงภาษีอากร หมายถึง การที่ผเู ้ สี ยภาษีอากรอาศัยช่องโหว่
ของกฎหมายหรื อความคลุมเครื อของกฎหมายเพื่อทาให้เสี ยภาษีนอ้ ยลง
โดยมิได้กระทาผิดกฎหมาย
การวางแผนภาษี หมายถึง การดาเนินการวางแผนในการประกอบธุรกิจ
หรื อการทาธุรกรรมใดๆ โดยที่ผปู ้ ระกอบการนั้นต้องการเสี ยภาษีให้
น้อยลง โดยถูกต้องตามกฎหมาย
นโยบายภาษีอากร
นโยบายภาษีอากรที่ดีจะต้องตอบสนองเป้ าหมายทางเศรษฐกิจ ดังนี้
การจัดสรรทรัพยากรให้เป็ นธรรม
การกระจายรายได้และทรัพย์สิน
การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การแก้ปัญหาดุลการค้าและดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ
รายรับของรัฐบาล
รายรับประเภทรายได้
รายรับที่มิใช่ รายได้
รายได้ที่เป็ นภาษีอากร
เงินกู้
รายได้จากรัฐพาณิ ชย์
การนาเงินคงคลังมาใช้
รายได้จากการขาย
สิ่ งของและบริ การ
รายได้อื่นๆ
รายจ่ายของรัฐบาล
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการบริหารทัว่ ไป
ด้านการศึกษา
ด้านการชาระหนี้เงินกู ้
ด้านสาธารณสุข
ด้านการสังคมสงเคราะห์
ด้านสาธารณูปโภค
ด้านการเคหะชุมชน
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ด้านการป้ องกันประเทศ
ด้านการศาสนา วัฒนธรรม
และนันทนาการ
ด้านรักษาความสงบภายใน
ด้านอืน่ ๆ
ภาษีอากรทีก่ รมสรรพากรจัดเก็บ
(ตามประมวลรัษฎากร และกฎหมายอืน่ )
 ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร
1) ภาษีเงินได้ แบ่งเป็ น
-ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
2) ภาษีมูลค่าเพิ่ม
3) ภาษีธุรกิจเฉพาะ
4) อากรแสตมป์
 ภาษีอากรตามกฎหมายอื่นได้แก่
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 กาหนดให้จดั เก็บภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
บุคคลธรรมดา (มาตรา 56 วรรคหนึ่ง)
ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษี
เงินได้บุคคลธรรมดา
ห้างหุ น้ ส่ วนสามัญหรื อคณะบุคคล
ที่มิใช่นิติบุคคล (มาตรา 56 วรรคสอง)
กองมรดกที่ยงั ไม่ได้แบ่ง (มาตรา 57 ทวิ
วรรคสอง)
ผูถ้ ึงแก่ความตาย (มาตรา 57 ทวิ)
หลักเกณฑ์ เกีย่ วกับแหล่ งเงินได้
1. หลักแหล่งเงินได้
มีหน้าที่การงานหรื อกิจการในประเทศไทย
กิจการของนายจ้างอยูใ่ นประเทศไทย
มีทรัพย์สินอยูใ่ นประเทศไทย
ผูม้ ีเงินได้ดงั กล่าวกรณี ใดกรณี หนึ่งมีหน้าที่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้ตาม
ประมวลรัษฎากร ไม่วา่ เงินนั้นจะจ่ายในหรื อนอกประเทศก็ตาม เงินได้
ส่ วนนี้เรี ยกว่าแหล่งเงินได้เกิดในประเทศไทย
หลักเกณฑ์ เกีย่ วกับแหล่ งเงินได้
2. หลักถิ่นที่อยู่ (มาตรา 41 วรรคสอง)
ในกรณี ผมู ้ ีเงินได้พึงประเมินในปี ภาษีที่ล่วงมาแล้วจะเสี ยภาษี
ต่อเมื่อมีแหล่งเงินได้ในประเทศไทย กล่าวคือ เป็ นผู้อยู่ในประเทศไทย
ชัว่ ระยะเวลาหนึ่งหรื อหลายระยะเวลารวมกันทั้งหมดในปี ภาษีถึง 180 วัน
และมีเงินได้เนื่องจาก
มีหน้าที่การงานหรื อกิจการในต่างประเทศ
มีทรัพย์สินในต่างประเทศ
นาเงินได้น้ นั เข้ามาในประเทศไทย
หลักเกณฑ์ เกีย่ วกับแหล่ งเงินได้
กรณีเงินได้ เกิดจากแหล่งเงินได้ นอกประเทศไทย
ผูท้ ี่มีเงินได้จากแหล่งเงินได้นอกประเทศในปี ภาษีที่ล่วงมาแล้ว
จะต้องเสี ยภาษีเงินได้ในประเทศไทย ก็ต่อเมื่อเข้าองค์ประกอบ ทั้ง
2 ประการ คือ
1.ผูม้ ีเงินได้เป็ น ผู้อยู่ ในประเทศไทย ในปี ภาษีถึง 180 วัน และ
2.ผูม้ ีเงินได้ นาเงินได้ น้ันเข้ ามา ในประเทศไทยในปี ภาษีน้ นั ด้วย
ฐานภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ เงินได้สุทธิ ซึ่งมีที่มาจาก
เงินได้พึงประเมิน หักด้วยค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนในรอบปี ภาษี และ
เงินได้พึงประเมินนั้นต้องเป็ นสิ่ งที่ได้รับมาแล้ว (เกณฑ์เงินสด) ไม่ใช่เป็ น
เพียงสิ ทธิเรี ยกร้อง (เกณฑ์สิทธิ์) ที่จะได้รับในภายหน้า
เงินได้สุทธิ = เงินได้พึงประเมิน - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 1 ได้แก่
เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงานไม่วา่ จะเป็ นเงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ย
เลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ เงินค่าเช่าบ้าน เงินที่คานวณได้จาก
มูลค่าของการได้อยูบ่ า้ นที่นายจ้างให้อยูโ่ ดยไม่เสี ยค่าเช่า เงินที่นายจ้างจ่าย
ชาระหนี้ใดๆ ซึ่งลูกจ้างมีหน้าที่ตอ้ งชาระ และเงิน ทรัพย์สิน หรื อประโยชน์
ใดๆ บรรดาที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 2 ได้แก่
เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรื อตาแหน่งงานที่ทา หรื อจากการ
รับทางานให้ ไม่วา่ จะเป็ นค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่ วนลด เงินอุดหนุน
ในงาน ที่ทา เบี้ยประชุม บาเหน็จ โบนัส เงินค่าเช่าบ้าน เงินที่คานวณได้
จากมูลค่าของการได้อยูบ่ า้ นที่ผจู ้ ่ายเงินได้ให้อยูโ่ ดยไม่เสี ยค่าเช่า เงินที่
ผูจ้ ่ายเงินได้จ่ายชาระหนี้ใดๆ ซึ่งผูม้ ีเงินได้มีหน้าที่ตอ้ งชาระ และเงิน
ทรัพย์สิน หรื อประโยชน์ใดๆ บรรดาที่ได้เนื่องจากหน้าที่หรื อตาแหน่งงาน
ที่ทา หรื อจากการรับทางานให้น้ นั ไม่วา่ หน้าที่ หรื อตาแหน่งงาน หรื อ
งานที่รับทาให้น้ นั จะเป็ นการประจาหรื อชัว่ คราว
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 3 ได้แก่
ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิ ทธิ์หรื อสิ ทธิอย่างอื่น เงินปี หรื อเงินได้
มีลกั ษณะเป็ นเงินรายปี อันได้มาจากพินยั กรรม นิติกรรมอย่างอื่น หรื อ
คาพิพากษาของศาล
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 4 ได้แก่
(ก) ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุน้ กู้ ดอกเบี้ยตัว๋ เงิน ดอกเบี้ย
เงินกูย้ มื ไม่วา่ จะมีหลักประกันหรื อไม่ ดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ที่อยูใ่ นบังคับต้อง
ถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะ
ส่ วนที่เหลือจากถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายดังกล่าว หรื อผลต่าง
ระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจาหน่ายตัว๋ เงินหรื อตราสารแสดงสิ ทธิในหนี้
ที่บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล หรื อนิติบุคคลอื่นเป็ นผูอ้ อกและ
จาหน่ายครั้งแรกในราคาต่ากว่าราคาไถ่ถอน รวมทั้งเงินได้ที่มีลกั ษณะ
ทานองเดียวกันกับดอกเบี้ย ผลประโยชน์หรื อค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ได้จาก
การให้กยู้ มื หรื อจากสิ ทธิเรี ยกร้องในหนี้ทุกชนิด ไม่วา่ จะมีหลักประกัน
หรื อไม่กต็ าม
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 4 (ต่ อ)
(ข) เงินปันผล เงินส่ วนแบ่งของกาไรหรื อ ประโยชน์อื่นใดที่ได้จากบริ ษทั หรื อ
ห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล กองทุนรวม หรื อสถาบันการเงินที่มีกฎหมาย
โดยเฉพาะของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นสาหรับให้กยู้ มื เงินเพื่อส่ งเสริ ม
เกษตรกรรม พาณิ ชยกรรมหรื ออุตสาหกรรม เงินปันผล หรื อเงินส่ วนแบ่ง
ของกาไรที่อยูใ่ นบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษี
เงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่ วนที่เหลือจากถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จา่ ยตามกฎหมาย
ดังกล่าว
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 4 (ต่ อ)
เพื่อประโยชน์ในการคานวณเงินได้ตามวรรคหนึ่ง ในกรณี ที่บุตรชอบด้วย
กฎหมายที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะเป็ นผูม้ ีเงินได้ และความเป็ นสามีภริ ยาของบิดา
และมารดาได้มีอยูต่ ลอดปี ภาษี ให้ถือว่าเงินได้ของบุตรดังกล่าวเป็ นเงินได้ของ
บิดา แต่ถา้ ความเป็ นสามีภริ ยาของบิดาและมารดามิได้มีอยูต่ ลอดปี ภาษี ให้ถือว่า
เงินได้ของบุตรดังกล่าวเป็ นเงินได้ของบิดาหรื อของมารดาผูใ้ ช้อานาจปกครอง
หรื อของบิดาในกรณี บิดามารดาใช้อานาจปกครองร่ วมกัน
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 4 (ต่ อ)
(ค) เงินโบนัสที่จ่ายแก่ผถู ้ ือหุน้ หรื อผูเ้ ป็ นหุน้ ส่ วนในบริ ษทั หรื อห้าง
หุน้ ส่ วนนิติบุคคล
(ง) เงินลดทุนของบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลเฉพาะส่วนที่จ่ายไม่
เกินกว่ากาไรและเงินที่กนั ไว้รวมกัน
(จ) เงินเพิ่มทุนของบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลซึ่งตั้งจากกาไรที่ได้มา
หรื อเงินที่กนั ไว้รวมกัน
(ฉ) ผลประโยชน์ที่ได้จากการที่บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบคุ คลควบเข้ากัน
หรื อรับช่วงกัน หรื อเลิกกัน ซึ่งตีราคาเป็ นเงินได้เกินกว่าเงินทุน
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
เงินได้ ประเภทที่ 4 (ต่ อ)
(ช) ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนการเป็ นหุน้ ส่ วนหรื อ โอนหุน้ หุน้ กู้
พันธบัตร หรื อตัว๋ เงิน หรื อตราสารแสดงสิ ทธิในหนี้ที่บริ ษทั หรื อห้าง
หุน้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นเป็ นผูอ้ อก ทั้งนี้ เฉพาะซึ่งตีราคา
เป็ นเงินได้เกินกว่าที่ลงทุน
ประเภทเงินได้ (ต่ อ)
เงินได้ ประเภทที่ 5 เงินหรื อประโยชน์อย่างอื่นที่ได้เนื่องจาก
(ก) การให้เช่าทรัพย์สิน
(ข) การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน
(ค) การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อนซึ่งผูข้ ายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซ้ือขายนั้น
โดยไม่ตอ้ งคืนเงินหรื อประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว
ประเภทเงินได้ (ต่ อ)
เงินได้ ประเภทที่ 5 (ต่อ)
ในกรณี (ก) ถ้าเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอนั ควรเชื่อว่า ผูม้ ีเงินได้แสดง
เงินได้ต่าไป ไม่ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง เจ้าพนักงานประเมินมีอานาจ
ประเมินเงินได้น้ นั ตามจานวนเงินที่ทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ตามปกติ
และให้ถือว่าจานวนเงินที่ประเมินนี้เป็ นเงินได้พึงประเมินของผูม้ ีเงินได้ ใน
กรณี น้ ีจะอุทธรณ์การประเมินก็ได้ ทั้งนี้ให้นาบทบัญญัติวา่ ด้วยการอุทธรณ์
ตามส่ วน 2 หมวด 2 ลักษณะ 2 มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ในกรณี (ข) และ (ค) ให้ถือว่าเงินหรื อประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว
แต่วนั ทาสัญญาจนถึงวันผิดสัญญาทั้งสิ้ น เป็ นเงินได้พึงประเมินของปี
ที่มีการผิดสัญญานั้น
ประเภทเงินได้ (ต่ อ)
เงินได้ ประเภทที่ 6 ได้แก่
เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือ วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ
วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณี ตศิลปกรรม หรื อวิชาชีพอิสระอื่น
ซึ่งจะได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดชนิดไว้
เงินได้ ประเภทที่ 7 ได้แก่
เงินได้จากการรับเหมาที่ผรู ้ ับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระใน
ส่ วนสาคัญนอกจากเครื่ องมือ
เงินได้ ประเภทที่ 8 ได้แก่
เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิ ชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การ
ขนส่ ง หรื อการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) แล้ว
การหักค่ าใช้ จ่าย
เงินได้
ค่าจ้างแรงงาน ม.40 (1)
ค่าทางานให้จากหน้าที่ ม.40 (2)
ค่าลิขสิ ทธิ์ ค่ากู๊ดวิลล์ และค่าแห่งสิ ทธิ์
อื่นๆ ม.40 (3)
ค่าดอกเบี้ย เงินปั นผล ม.40 (4)
ค่าเช่าทรัพย์สิน ม.40 (5)*
ค่าวิชาชีพอิสระ ม.40 (6)*
ค่ าใช้ จ่าย
รวมหัก 40% ของเงินได้
แต่ไม่เกิน 60,000 บาท
ให้หกั เฉพาะค่าลิขสิ ทธิ์ 40% ของ
ค่าลิขสิ ทธิ์ แต่ไม่เกิน 60,000 บาท
กฎหมายไม่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่าย
หัก 10-30% แล้วแต่กรณี
การประกอบโรคศิลปะหัก 60%
อาชีพอื่นๆ หัก 30%
การหักค่ าใช้ จ่าย
เงินได้
ค่ารับเหมา ม.40 (7)
ค่ าใช้ จ่าย
ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ
70 เว้นแต่ผมู ้ ีเงินได้จะแสดงหลักฐานต่อ
เจ้าพนักงานประเมินและพิสูจน์ได้วา่ มี
ค่าใช้จ่ายมากกว่านั้น ก็ยอมให้หกั
ค่าใช้จ่ายได้ตามความจาเป็ นและสมควร
ธุรกิจ การพาณิ ชย์ เกษตร อุตสาหกรรม ยอมให้หกั ตามจริ งและสมควรตาม พรบ.
และอื่นๆ ม.40 (8)
แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่
10) พ.ศ.2496 ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการ
เหมา
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
จานวนทีห่ ักได้ (บาท)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
ค่าลดหย่อนส่วนตัว
๓๐,๐๐๐
๖๐,๐๐๐
-บุคคลธรรมดา/ผูถ้ ึงแก่ความตายฯ/กองมรดกฯ
-หสม./คณะบุคคล/วิสาหกิจชุมชน
(หุน้ ส่วนอยูใ่ นประเทศไทยไม่นอ้ ยกว่า ๒ คน)
คู่สมรส
๓๐,๐๐๐
-ไม่มีเงินได้
บุตร
- ไม่ศึกษา/ศึกษาใน ตปท.
- ศึกษาในประเทศ
คนละ ๑๕,๐๐๐
คนละ ๑๗,๐๐๐
- บุตรเรา บุตรเขาหรื อบุตรเธอ
- บุตรบุญธรรมของผูม้ ีเงินได้
- หักได้ไม่เกิน ๓ คน
- มีเงินได้ไม่เกิน ๑๕,๐๐๐ บาท/ปี
- ศึกษาตั้งแต่ช้ นั อนุปริ ญญาขึ้นไป อายุไม่เกิน
๒๕ ปี หากไม่ศึกษา อายุไม่เกิน ๒๐ ปี (ผูเ้ ยาว์)
- ศาลสัง่ ให้เป็ นคนไร้ความสามารถ
/เสมือนไร้ความสามารถหักได้ตลอดไป
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
อุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
- บิดาผูม้ ีเงินได้
- มารดาผูม้ ีเงินได้
- บิดาคู่สมรส
- มารดาคู่สมรส
เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา
จานวนที่หักได้ (บาท)
๓๐,๐๐๐
๓๐,๐๐๐
๓๐,๐๐๐
๓๐,๐๐๐
รวมกันไม่เกิน ๑๕,๐๐๐
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
-อายุไม่ต่ากว่า ๖๐ ปี
-มีเงินได้ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท/ปี
-เป็ นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
-บิดามารดาต้องอยูใ่ นไทยถ้าผูม้ ีเงินได้ไม่อยูใ่ น
ไทย
-มีเลขประจาตัว ๑๓ หลัก
- แนบหลักฐาน ล.ย.๐๓
-ต้องไม่มีเงินได้เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท/ปี
-ใช้สิทธิได้เฉพาะบุตรชอบด้วยกฎหมาย
-ผูม้ ีเงินได้ไม่อยูใ่ นประเทศไทยหักได้เฉพาะ
บิดาหรื อมารดาที่อยูใ่ นประเทศไทย
-กรมธรรม์มีชื่อบุตรหลายคน เฉลี่ยตามส่ วน
ที่จ่าย
-บิดามารดาต้องมีเลขประจาตัว ๑๓ หลัก
-มีใบเสร็จรับเงินมาแสดง
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
อุปการะเลี้ยงดูคนพิการ/คนทุพพล
ภาพ
๑.บิดามารดาของผูม้ ีเงินได้
๒.บิดามารดาของคู่สมรส
๓.สามีหรื อภริ ยาของผูม้ ีเงินได้
๔.บุตรชอบด้วยกฎหมาย
/บุตรบุญธรรมของผูม้ ีเงินได้
๕.บุตรชอบด้วยกฎหมายของสามี
หรื อภริ ยาของผูม้ ีเงินได้
๖.บุคคลอื่น
จานวนที่หักได้ (บาท)
๖๐,๐๐๐
๖๐,๐๐๐
๖๐,๐๐๐
๖๐,๐๐๐
๖๐,๐๐๐
๖๐,๐๐๐
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
คนพิการ
-มีเงินได้พึงประเมินไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท/ปี
-มีบตั รประจาตัวคนพิการตามกฎหมายฯ
-ผูม้ ีเงินได้เป็ นผูด้ ูแลและมีชื่อในบัตรประจาตัวฯ
-ถ้าผูม้ ีเงินได้ไม่อยูใ่ นไทย หักได้เฉพาะคนพิการหรื อ
คนทุพพลภาพที่อยูใ่ นไทย
-มีเลขประจาตัวประชาชน ๑๓ หลัก
-แนบหลักฐาน ล.ย.๐๔,สาเนาบัตรประจาตัวฯ
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
อุปการะเลี้ยงดูคนพิการ/คนทุพพล
ภาพ (ต่อ)
จานวนที่หักได้ (บาท)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
คนทุพพลภาพ
-มีเงินได้พึงประเมินไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท/ปี
-มีใบรับรองแพทย์ที่ข้ ึนทะเบียนรับใบอนุญาตฯ
-ผูม้ ีเงินได้หลายคนดูแลให้มีหนังสื อตกลงฯ
-มีหนังสื อรับรองเป็ นผูอ้ ุปการะเลี้ยงดูคนทุพพลภาพ
แบบ ล.ย.๐๔-๑
-ถ้าผูม้ ีเงินได้ไม่อยูใ่ นไทย หักได้เฉพาะคนพิการหรื อ
คนทุพพลภาพที่อยูใ่ นไทย
-มีเลขประจาตัวประชาชน ๑๓ หลัก
-แนบหลักฐาน ล.ย.๐๔,ล.ย.๐๔-๑ และใบรับรองแพทย์
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
เบี้ยประกันชีวิต
จานวนที่หักได้ (บาท)
ตามที่จ่ายจริ งไม่เกิน
๑๐๐,๐๐๐
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
-อายุกรมธรรม์ ๑๐ ปี ขึ้นไป
-ผูร้ ับประกันประกอบการในราชอาณาจักร
-หักได้เฉพาะเบี้ยประกันชีวิตเท่านั้น
-การรับเงินผลประโยชน์ตอบแทนคืนระหว่าง
อายุกรมธรรม์ ต้องไม่เกิน ร้อยละ ๒๐
-กรณี คู่สมรสไม่มีเงินได้หกั ลดหย่อนได้ไม่เกิน
๑๐,๐๐๐ บาท
-ต่างฝ่ ายต่างมีเงินได้ หักได้ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐
บาท
-มีหลักฐานใบเสร็จรับเงินมาแสดง
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
ประกันชีวิตแบบบานาญ
จานวนที่หักได้ (บาท)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
ไม่เกินร้อยละ ๑๕ แต่ไม่เกิน
๒๐๐,๐๐๐ (รวมกับเงินที่จ่ายเพื่อ
ซื้อกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
และกองทุนรวม RMF แล้วต้อง
ไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท)
-อายุกรมธรรม์ ๑๐ ปี ขึ้นไป
-ผูร้ ับประกันประกอบการในราชอาณาจักร
-มีกาหนดจ่ายเงินผลประโยชน์อย่างสม่าเสมอ
-มีการกาหนดช่วงอายุของการจ่ายผลประโยชน์
-มีหลักฐานใบเสร็จรับเงินมาแสดง
เงินสะสมเข้ากองทุนสารองเลี้ยงชีพ ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
(ส่วนที่เกิน ๑๐,๐๐๐ แต่
ไม่เกิน ๔๙๐,๐๐๐ หักเป็ น
ยกเว้น โดยหักจากเงินได้)
-หักได้ตามที่จ่ายจริ ง ไม่เกิน ร้อยละ ๑๕ และ
ไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท (รวมกับเงินที่จ่ายเพื่อ
ซื้อกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพและประกันชีวิต
แบบบานาญแล้วต้องไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท)
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
ค่าซื้อหน่วยลงทุน RMF
จานวนที่หักได้ (บาท)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
ร้อยละ ๑๕ ไม่เกิน
๕๐๐,๐๐๐ (รวมกับเงินที่จ่ายเข้า
กองทุนสารองเลี้ยงชีพและประกัน
ชีวิตแบบ
บานาญแล้วต้องไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐
บาท)
-ซื้อไม่นอ้ ยกว่าปี ละครั้ง ระงับได้ไม่เกิน ๑ ปี
-ซื้อขั้นต่าร้อยละ ๓ ของเงินได้หรื อ ๕,๐๐๐
บาท
-ถือไว้ไม่นอ้ ยกว่า ๕ ปี (นับวันชนวัน) และไถ่
ถอนเมื่ออายุไม่ต่ากว่า ๕๕ ปี บริ บูรณ์ ยกเว้นตาย
หรื อทุพพลภาพ
-ไม่ได้รับเงินปันผลหรื อเงินอื่นระหว่างลงทุน
-ไม่กยู้ มื หรื อเบิกเงินจากกองทุน
-ซื้อหลายกองทุนได้ตามหลักเกณฑ์
-ไม่เป็ นไปตามเงื่อนไข ต้องยืน่ เพิ่มเติม
-โอนทั้งหมดหรื อบางส่วน ภายใน ๕ วันทาการ
-ถือครบ ๕ ปี ยกเว้นกาไรจากการขาย
-มีหลักฐานการจ่ายเงินเข้ากองทุน
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
ค่าซื้อหน่วยลงทุน LTF
จานวนที่หักได้ (บาท)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
ร้อยละ ๑๕ แต่ไม่เกิน
๕๐๐,๐๐๐
-ถือไม่นอ้ ยกว่า ๕ ปี ปฏิทิน
-ซื้อได้หลายกองทุนตามหลักเกณฑ์
-โอนภายใน ๕ วันทาการ
-ไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไข ต้องยืน่ แบบฯเพิ่มเติม
-ขายคืน กาไรจากการขายยกเว้น
-มีหนังสื อรับรองการซื้อหน่วยลงทุน
อื่นๆ
-ซ่อมแซมบ้าน
ตามจริ ง ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐
-ซ่อมแซมรถ
ตามจริ ง ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐
-เป็ นการซ่อมแซมอาคารหรื อทรัพย์สินที่
ประกอบติดตั้งในลักษณะถาวรกับตัวอาคาร
-เป็ นค่าซ่อมแซมหรื อค่าวัสดุหรื อค่าอุปกรณ์
ในการซ่อมแซมรถหรื ออุปกรณ์หรื อสิ่ งอานวย
ความสะดวกในรถ
-จ่ายระหว่าง ๒๕ ก.ค.๕๔ ถึง ๓๑ ธ.ค.๕๕
-แนบเอกสารซ่อมบ้าน-รถพร้อมใบเสร็จรับเงิน
การหักค่ าลดหย่ อน
รายการลดหย่ อน
ดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ซื้อบ้าน
จานวนที่หักได้ (บาท)
ตามที่จ่ายจริ งไม่เกิน
๑๐๐,๐๐๐
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
-ต้องกูย้ มื เพื่อซื้อ เช่าซื้ออาคารหรื อสร้างอาคาร
ที่อยูอ่ าศัยเท่านั้น
-จานองอาคารที่ซ้ือหรื อสร้างเป็ นประกัน
-ต้องใช้อาคารที่ซ้ือหรื อสร้างเป็ นที่อยูอ่ าศัย
-กูม้ ากกว่า ๑ แห่ง หักได้ทุกแห่ง
-กูร้ ่ วมให้เฉลี่ยค่าลดหย่อนเท่าๆ กัน
-สามีภริ ยากูร้ ่ วม มีเงินได้ฝ่ายเดียวใช้สิทธิได้เต็ม
หากมีเงินได้ท้งั ๒ ฝ่ ายหักได้คนละครึ่ ง ไม่เกิน
๑๐๐,๐๐๐ บาท
-ใช้สิทธิอยูก่ ่อนแล้วมาสมรส มีเงินได้สองฝ่ าย
ต่างฝ่ ายต่างหักลดหย่อนได้ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐
บาท
-ต้องแนบเอกสาร ล.ย.๐๒
การหักค่ าลดหย่ อน
รายการลดหย่ อน
เงินสมทบกองทุนระกันสังคม
บริ จาคเงินสนับสนุนการศึกษา
จานวนที่หักได้ (บาท)
ไม่เกิน ๖,๓๐๐
(เฉพาะปี ภาษี 2555)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
-ตามที่จ่ายจริ ง
-หากภริ ยาไม่มีเงินได้แต่ได้จ่ายเงินสมทบฯ สามี
สามารถนาไปหักลดหย่อนได้ดว้ ย
ตามจริ ง ได้ ๒ เท่า แต่ไม่เกินร้อย -ต้องเป็ นค่าใช้จ่ายสาหรับ
ละ ๑๐ ของเงินได้หลังหัก
๑.การจัดหาหรื อจัดสร้างอาคาร อาคารพร้อม
ค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน
ที่ดิน
๒.จัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อการศึกษา แบบเรี ยน
ตารา หนังสื อทางวิชาการ สื่ อ และเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา
๓.จัดหาครู อาจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิทาง
การศึกษา หรื อเป็ นทุนการศึกษา
-เป็ นการบริ จาคให้แก่สถานศึกษาตามรายชื่อที่
กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
-ต้องมีหลักฐานเป็ นใบเสร็จรับเงินฯ
การหักค่ าลดหย่ อน
รายการลดหย่ อน
เงินบริ จาคอื่นๆ
จานวนที่หักได้ (บาท)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
ตามจริ ง ได้ ๒ เท่า แต่เมื่อรวมกับ
เงินสนับสนุนการศึกษาแล้วไม่
เกินร้อยละ ๑๐ ของเงินได้หลังหัก
ค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน
-เงินที่จ่ายให้แก่สถานศึกษาของทางราชการ องค์การ
ของรัฐบาล โรงเรี ยนเอกชนหรื อสถาบันอุดมศึกษา
เอกชนเพื่อจัดหาหนังสื อหรื อสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์เพื่อ
ส่งเสริ มการอ่าน
-เงินที่จ่ายให้กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการจัดตั้งขึ้น
-เงินที่จ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดให้คนพิการได้รับ
สิ ทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่ งอานวยความ
สะดวกอันเป็ นสาธารณะตลอดจนสวัสดิการ และความ
ช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริ ม
และพัฒนาคุณภาพฯ
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
เงินบริ จาคอื่นๆ (ต่อ)
จานวนที่หักได้ (บาท)
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
-เงินที่จ่ายให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการ
จัดตั้งศูนย์พฒั นาเด็กเล็กหรื อสนับสนุนการดาเนิน
งานของศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
-เงินที่จ่ายให้แก่โครงการฝึ กอบรมอาชีพและการจัด
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบาบัด แก้ไข ฟื้ นฟู
และสงเคราะห์เด็กและเยาวชนของสถานพินิจ
และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน หรื อศูนย์ฝึกและอบรม
เด็กและเยาวชนในกรมพินิจและคุม้ ครอง
เด็กและเยาวชน
การหักค่ าลดหย่ อน ที่ใช้ ในปี ภาษี 2555
รายการลดหย่ อน
เงินบริ จาคทัว่ ไป
จานวนที่หักได้ (บาท)
ตามจริ ง ไม่เกินร้อยละ ๑๐
ของเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย
ค่าลดหย่อน และเงินสนับสนุน
การศึกษา
หลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและวิธีการ
บริ จาคเป็ นเงินเท่านั้น ให้แก่
-วัดวาอาราม
-สภากาชาดไทย
-สถานพยาบาลและสถานศึกษาของทางราชการ
หรื อองค์การของรัฐบาล สถานศึกษาเอกชน
-สถานสาธารณกุศล
-กองทุนสวัสดิการภายในส่วนราชการ
-มีหลักฐานใบเสร็จรับเงิน,ใบอนุโมทนาบัตร,
หนังสื อขอบคุณ,ประกาศเกียรติคุณมาแสดง
อัตราภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (อัตราก้ าวหน้ า)
ปี ภาษี 2555 แบบเก่ า : ปี ภาษี 2556 แบบใหม่
วันที่ 18 ธันวาคม 2555 คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้อนุมตั ิมาตรการปรับปรุ งโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
“5 ขั้นอัตรา” เป็ น “7 ขั้นอัตรา” โดยจะใช้บงั คับใน “ปี ภาษี 2556” ที่จะต้องยืน่ รายการในปี 2557 เป็ นต้นไป
สิ ทธิ์ลดหย่ อน
สามี : ภรรยา
สองเรา “เท่ ากัน”
ศุภชัย บารุงศรี
ความเป็ นมา
1
ตั้งแต่ ปีภาษี 2490 เป็ นไปตาม ม.57 ตรี
เงินได้ ท้งั หมดของสามี-ภรรยา กาหนดให้ สามีมหี น้ าทีย่ นื่ เสี ยภาษี
2
ปี ภาษี 2529 เพิม่ หลักเกณฑ์ ตาม ม.57 เบญจ
แก้ ไขเพิม่ เติม กาหนดให้ ภรรยาแยกยืน่ เสี ยภาษีในนามภรรยาได้ เฉพาะเงินได้ ตามม.40(1)
3
ศาล รธน. 48/45 วินิจฉัยว่ าชอบ รธน.
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ าข้ อ 1 และข้ อ 2 ไม่ ขดั กับรัฐธรรมนูญ
4
ศาล รธน. 17/55 วินิจฉัยว่ าไม่ ชอบ รธน.
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ าข้ อ 1 และข้ อ 2 ขัดหลักความเสมอภาคของชาย-หญิงตาม
รัฐธรรมนูญ
5
ตั้งแต่ ปีภาษี 2555 เป็ นไปตาม ม.57 ฉ
ตาม พรก.แก้ ไขเพิม่ เติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2555
มาตรา 57 ฉ
ในการเก็บภาษีเงินได้จากสามีและภริ ยานั้น ให้สามีและภริยาต่ างฝ่ ายต่ างมีหน้ าที่ยนื่ รายการ
เกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินที่ตนได้รับในระหว่างปี ภาษีที่ล่วงมาแล้วตามมาตรา 56
ในกรณี ที่เงินได้ พงึ ประเมินไม่ อาจแยกได้ อย่ างชัดแจ้ งว่ าเป็ นของสามีหรือภริยาแต่ละฝ่ ายจานวน
เท่าใด ให้ ถือเป็ นเงินได้ พงึ ประเมินของสามีและภริยาฝ่ ายละกึง่ หนึ่ง เว้ นแต่ เงินได้พึงประเมินตาม
มาตรา 40 (8) สามีและภริ ยาจะแบ่งเงินได้พึงประเมินเป็ นของแต่ ละฝ่ ายตามส่ วนที่ตกลงกันก็ได้ แต่
รวมกันต้องไม่นอ้ ยกว่าเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ ถ้ าตกลงกันไม่ ได้ ให้ถือเป็ นเงินได้พึงประเมินของ
สามีและภริยาฝ่ ายละกึง่ หนึ่ง
สามีและภริยาจะตกลงยืน่ รายการและเสี ยภาษีรวมกัน โดยให้ถือเอาเงินได้พึงประเมินของตนเป็ น
เงินได้ของสามีหรื อภริ ยาอีกฝ่ ายหนึ่งก็ได้ หรือจะแยกยืน่ รายการและเสี ยภาษีเฉพาะส่ วนที่เป็ นเงินได้
พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) โดยมิให้ถือเอาเป็ นเงินได้ของอีกฝ่ ายหนึ่งก็ได้ แต่ถา้ มีภาษีคา้ งชาระสามี
และภริ ยาต้องร่ วมรับผิดในการเสี ยภาษีที่คา้ งชาระนั้น
เมื่อได้เลือกยืน่ รายการตามวรรคสองและวรรคสามในปี ภาษีใดแล้ว ให้ถือว่าเป็ นวิธีการยืน่ รายการ
สาหรับปี ภาษีน้ นั ตลอดไป เว้นแต่อธิบดีจะอนุมตั ิให้เปลี่ยนแปลงวิธีการเลือกยืน่ รายการดังกล่าว
การยืน่ แบบแสดงรายการ
แยกยืน่ แบบแสดงรายการ
1
เงินได้ ประเภทที่ 2 - 8
ซึ่งแยกไม่ ได้
เฉพาะเงินได้
ประเภทที่ 8
ซึ่งแยกไม่ ได้
อาจเลือก
50
ตกลงกัน
เช่ น 20
50
ถ้ าตกลง
กันไม่ ได้
ตกลงกัน
เช่ น 80
เลือก
แล้ วใช้
ตลอดปี
ภาษีน้ ัน
เปลีย่ น
ต้ องขอ
อนุมตั ิ
อธิบดี
การยืน่ แบบแสดงรายการ
2
รวมยืน่ แบบแสดงรายการ : วิธีที่ 1
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 8
ประเภทที่ 8
เลือกแล้ วใช้
ตลอดปี ภาษีน้ ัน
เปลีย่ นต้ องขอ
อนุมตั ิอธิบดี
ภาษีค้าง
รับผิดร่ วมกัน
การยืน่ แบบแสดงรายการ
2
รวมยืน่ แบบแสดงรายการ : วิธีที่ 2
เลือกแล้วใช้
ตลอดปี ภาษี
นั้น เปลีย่ น
ต้ องขอ
อนุมตั อิ ธิบดี
ภาษีค้าง
รับผิดร่ วมกัน
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 8
ประเภทที่ 8
การยืน่ แบบแสดงรายการ
2
รวมยืน่ แบบแสดงรายการ : วิธีที่ 3
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 8
ประเภทที่ 8
ประเภทที่ 1
เลือกแล้ วใช้
ตลอดปี ภาษีน้ ัน
เปลีย่ นต้ องขอ
อนุมตั ิอธิบดี
ภาษีค้าง
รับผิดร่ วมกัน
การยืน่ แบบแสดงรายการ
2
รวมยืน่ แบบแสดงรายการ : วิธีที่ 4
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 1
เลือกแล้ วใช้
ตลอดปี ภาษีน้ ัน
เปลีย่ นต้ องขอ
อนุมตั ิอธิบดี
ภาษีค้าง
รับผิดร่ วมกัน
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 8
ประเภทที่ 8
การหักลดหย่ อน (ที่เปลีย่ นแปลง)
แยกยืน่ แบบ
แสดงรายการ
1
บุตรและ
การศึกษาบุตร
(1 คน)
2 ดอกเบีย้ เงินกู้ฯ
ต่ างฝ่ ายต่ างจ่ าย
ดอกเบีย้ อยู่ก่อนแล้ ว
ฝ่ ายละ 100,000
แล้ วมาสมรสกัน
17,000
100,000
17,000
100,000
รายการลดหย่ อนอืน่ เหมือนเดิมแต่ ละกรณี
ไม่ ว่าความเป็ นสามี
ภริยาจะ
ตลอดปี หรือไม่
ก็ตาม
ไม่ ว่าความเป็ นสามี
ภริยาจะ
ตลอดปี หรือไม่
ก็ตาม
การหักลดหย่ อน (ที่เปลีย่ นแปลง)
รวมยืน่ แบบแสดง
รายการเงินได้
ทุกประเภท
1
บุตรและ
การศึกษาบุตร
(1 คน)
2 ดอกเบีย้ เงินกู้ฯ
ต่ างฝ่ ายต่ างจ่ าย
ดอกเบีย้ อยู่ก่อนแล้ ว
ฝ่ ายละ 100,000
แล้ วมาสมรสกัน
17,000
17,000
ไม่ ว่าความเป็ นสามี
ภริยาจะ
ตลอดปี หรือไม่
ก็ตาม
100,000
100,000
ไม่ ว่าความเป็ นสามี
ภริยาจะ
ตลอดปี หรือไม่
ก็ตาม
รายการลดหย่ อนอืน่ เหมือนเดิมแต่ ละกรณี
การหักลดหย่ อน (ที่เปลีย่ นแปลง)
รวมยืน่ แบบแสดง
รายการเงินได้
ทุกประเภท
1
บุตรและ
การศึกษาบุตร
(1 คน)
2 ดอกเบีย้ เงินกู้ฯ
ต่ างฝ่ ายต่ างจ่ าย
ดอกเบีย้ อยู่ก่อนแล้ ว
ฝ่ ายละ 100,000
แล้ วมาสมรสกัน
17,000
17,000
ไม่ ว่าความเป็ นสามี
ภริยาจะ
ตลอดปี หรือไม่
ก็ตาม
100,000
100,000
ไม่ ว่าความเป็ นสามี
ภริยาจะ
ตลอดปี หรือไม่
ก็ตาม
รายการลดหย่ อนอืน่ เหมือนเดิมแต่ ละกรณี
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
1. บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิ ติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายไทย
2. บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิ ติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ซึ่ งมีหน้าที่เสี ยภาษี
เงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย
3. กิจการซึ่ งดาเนินการเป็ นทางค้า หรื อหากาไร
4. กิจการร่ วมค้า (Joint Venture)
5. มูลนิธิหรื อสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่ งมีรายได้แต่ไม่รวมถึงมูลนิธิหรื อสมาคมที่
รัฐมนตรี ประกาศกาหนดให้เป็ นองค์การหรื อสถานสาธารณกุศล
6. นิติบุคคลที่อธิ บดีกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี และประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็ น
บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิ ติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
หน้ าที่การเสี ยภาษีกบั แหล่ งเงินได้
1. บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่ต้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทย
ต้องเสี ยภาษีไม่วา่ แหล่งเงินได้จะเกิดในประเทศหรื อต่างประเทศ
2. บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่ต้งั ขึน้ ตามกฎหมายต่ างประเทศ
เสี ยภาษีกต็ ่อเมื่อมีแหล่งเงินได้จากประเทศไทยเท่านั้น
2.1 เงินได้จากกิจการหรื อเนื่องจากกิจการที่ทาในประเทศไทย
รวมทั้งกิจการขนส่ งผ่านประเทศต่างๆ ด้วย
2.2 เงินได้ที่มิใช่จ่ายจากกิจการที่ประกอบในประเทศไทย แต่
เป็ นเงินได้ที่จ่ายจาก หรื อในประเทศไทย ในเมื่อเงินที่จ่าย
เป็ นเงินได้ตาม ม. 40 (2) – (6)
นิตบิ ุคคลทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
(1) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลตามข้ อผูกพันทีป่ ระเทศไทยมีอยู่ตามสั ญญาว่ าด้ วย
ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่ างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลต่ างประเทศ
(2) บริษัทจากัดทีไ่ ด้ รับการยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมการลงทุน
(3) บริษัทจากัดและนิตบิ ุคคลทีม่ สี ภาพเช่ นเดียวกับบริษัทจากัดซึ่งตั้งขึน้ ตามกฎหมาย
ไทยหรือกฎหมายต่ าง ประเทศได้ รับการยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลตาม
พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียม
(4) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีอ่ ยู่ในประเทศทีม่ อี นุสัญญาว่ าด้ วยการเว้ นการเก็บ
ภาษีซ้อนกับประเทศไทย ตามเงือ่ นไขทีก่ าหนดในอนุสัญญา
ฐานภาษีของภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
(1) กาไรสุ ทธิ
(2) ยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย
(3) เงินได้ที่จ่ายจากหรื อในประเทศไทย
(4) การจาหน่ายเงินกาไรออกไปจากประเทศไทย
อัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
(ก) ภาษีจากกาไรสุ ทธิ ของบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิ ติบุคคล
รอบบัญชีปี 2555
กาไรสุทธิ (บาท)
อัตราภาษี
รอบบัญชีปี 2556
กาไรสุทธิ (บาท)
อัตราภาษี
23 % ทั้งจานวน
20 %
(ข) ภาษีตามมาตรา 70 นอกจากที่ระบุใน (ค)
(ค) ภาษีตามมาตรา 70 เฉพาะกรณี
การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข)
(ง) ภาษีตามมาตรา 70 ทวิ
(จ) ภาษีจากรายได้ก่อนหักรายจ่ายใด ๆ ของ
มูลนิธิหรื อสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่ ง
มีรายได้อนั มิใช่รายได้ตามมาตรา 65 ทวิ (13)
ทั้งจานวน
รอบบัญชีปี 2557
กาไรสุทธิ (บาท)
ทั้งจานวน
อัตราภาษี
20 %
ร้อยละ 15
ร้อยละ 10
ร้อยละ 10
ร้อยละ 10
รอบระยะเวลาบัญชี
(1) รอบระยะเวลาบัญชีโดยทั่วไปตามบทบัญญัติมาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร รอบ
ระยะเวลาบัญชี สาหรับการคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล จะต้ องเท่ ากับ 12 เดือน โดยจะ
เริ่ มต้นและสิ้ นสุ ดลงเมื่อใดก็ได้
2) รอบระยะเวลาบัญชีซึ่งน้ อยกว่ า 12 เดือน กรณีดงั ต่ อไปนี้
ก. บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลเริ่ มตั้งใหม่ จะถือวันเริ่ มตั้งถึงวันหนึ่งวันใดเป็ น
รอบระยะ เวลาบัญชีแรกก็ได้ แต่รอบระยะเวลาบัญชีต่อไปต้องเท่ากับ 12 เดือน
ข. บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลอาจยืน่ คาร้องขอเปลี่ยนวันสุ ดท้ายของรอบ
ระยะเวลาบัญชีกไ็ ด้ ตามที่อธิ บดีกรมสรรพากรจะเห็นสมควรและสั่งอนุญาตซึ่ งรอบ
ระยะเวลาบัญชีแรกที่ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนจะน้อยกว่า 12 เดือน
ค. บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่เลิกกันให้ถือเอาวันที่เจ้าพนักงานจดทะเบียน
เลิกเป็ น วันสุ ดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
รอบระยะเวลาบัญชี
ง. บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลควบเข้ากัน ให้ถือว่าบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลนั้น
เลิกกัน รอบระยะเวลาบัญชีที่ควบเข้ากันจึงเป็ นไปตาม (ค) ซึ่ งอาจน้อยกว่า 12 เดือน
ในกรณี ที่บริ ษทั เลิกกิจการและยังชาระบัญชี ไม่เสร็จ หากมีกาไรสุ ทธิเกิดขึ้น จะต้องนามาเสี ยภาษี
เงินได้ นิติบุคคลเพราะประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ถือว่าบริ ษทั ยังมีสภาพเป็ นนิติบุคคลอยู่
ตราบเท่าที่ยงั ชาระบัญชีไม่เสร็จสิ้ น
(3) รอบระยะเวลาบัญชีมากกว่ า 12 เดือน
รอบระยะเวลาบัญชีอาจขยายออกไปมากกว่า 12 เดือนก็ได้ในกรณี ที่บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วน
นิติ บุคคลเลิกกิจการ หากผูช้ าระบัญชี และผูจ้ ดั การไม่สามารถยืน่ รายการและเสี ย ภาษีได้ภายใน 150 วัน
นับแต่วนั สุ ดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว ถ้าได้ยนื่ คาร้องต่ออธิบดีภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่
เจ้าพนักงานรับจดทะเบียนเลิก อธิบดีกรมสรรพากรอาจพิจารณาอนุมตั ิให้ขยายรอบระยะเวลาบัญชี
ออกไปได้ ซึ่งรอบระยะ เวลาบัญชีรอบนี้อาจเกิน 12 เดือนก็ได้)
วิธีการเสี ยภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
1. การเสี ยภาษีโดยการหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย
2. การเสี ยภาษีโดยยืน่ แบบแสดงรายการประเมินตนเอง
3. การเสี ยภาษีโดยเจ้าพนักงานทาการประเมินเรี ยกเก็บ
4. การเสี ยภาษีโดยองค์การของรัฐบาลชาระภาษีแทน
(กรณี โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง)
การยืน่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี
(1) การเสี ยภาษีเงินได้ นิติบุคคลครึ่งรอบ
จะต้องยืน่ แบบแสดงรายการพร้อมชาระภาษี(ถ้ามี) ตามแบบ ภ.ง.ด.51
ภายใน 2 เดือนนับจากวันสุ ดท้ายของทุก 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลา
บัญชี
(2) การเสี ยภาษีเงินได้ จากกาไรสุ ทธิเมื่อสิ้นรอบ
ระยะเวลาบัญชีจะต้องยืน่ แบบแสดงรายการพร้อมชาระภาษี (ถ้ามี)
ตามแบบ ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วันนับแต่วนั สุ ดท้ายของรอบระยะเวลา
บัญชี
ภาษีมูลค่ าเพิม่
ภาษีมูลค่ าเพิม่
(Value added tax : VAT)
ได้ มกี ารนาภาษีมูลค่ าเพิม่ (VAT) มาใช้ จัดเก็บแทนภาษีการค้ า เพราะเล็งเห็น
ว่ าภาษีมูลค่ าเพิม่ จะสามารถขจัดความซ้าซ้ อนของภาระภาษีซึ่งอยู่ในภาษีการค้ าลงได้
นอกจากนีย้ งั ช่ วยเพิม่ ประสิ ทธิภาพการจัดสรรทรัพยากรของประเทศและเอือ้ อานวยต่ อ
การลงทุนและการส่ งออกอีกด้ วย โดยนากฎหมายออกบังคับใช้ ต้งั แต่ วันที่ 1 มกราคม
พ.ศ.2535
ภาษีมูลค่ าเพิม่
ภาษีมูลค่ าเพิม่ คือ ภาษีทเี่ ก็บจากมูลค่ าของสิ นค้ าหรือบริการส่ วนที่เพิม่ ขึน้ ใน
แต่ ละขั้นตอนของการผลิตและการจาหน่ ายสิ นค้ าหรือบริการชนิดต่ างๆ
ประเภทของภาษีมูลค่ าเพิม่
1) ภาษีมูลค่ าเพิม่ ฐานผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (GNP) : ฐานภาษี
ประเภทนี้ คือ ยอดขายหักด้ วยต้ นทุนสิ นค้ าขั้นกลาง (วัตถุดบิ )
2) ภาษีมูลค่ าเพิม่ ฐานผลิตภัณฑ์ ประชาชาติสุทธิหรือฐานรายได้ (NNP) :
ฐานภาษีประเภทนี้ คือ ยอดขายหักด้ วยต้ นทุนสิ นค้ าขั้นกลาง (วัตถุดบิ ) และค่ าเสื่ อม
ราคาของสิ นค้ าทุน
3) ภาษีมูลค่ าเพิม่ ฐานการบริโภค (Consumption) : ฐานภาษีประเภทนี้ คือ
ยอดขายหักด้ วยต้ นทุนสิ นค้ าขั้นกลาง (วัตถุดบิ ) และต้ นทุนสิ นค้ าทุน
หลักเกณฑ์ กาหนดขอบเขตการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
1) หลักต้ นทาง : เรียกเก็บจากบรรดาสิ นค้ าหรือบริการทั้งหลายทีผ่ ลิตขึน้ ใน
ประเทศนั้นทั้งหมด ไม่ ว่าสิ นค้ าหรือบริการนั้นจะถูกซื้อหาไปใช้ บริโภคในประเทศนั้น
หรือในต่ างประเทศก็ตาม
2) หลักปลายทาง : เรียกเก็บจากบรรดาสิ นค้ าหรือบริการทั้งหลายทีถ่ กู ซื้อมาใช้
บริโภคในประเทศนั้น ไม่ ว่าสิ นค้ าหรือบริการนั้นจะผลิตขึน้ ในประเทศนั้นหรือใน
ต่ างประเทศก็ตาม
โดยส่ วนใหญ่ แล้ วภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีเ่ รียกเก็บในแต่ ละประเทศจะใช้ หลัก
ปลายทาง เพราะว่ านอกจากจะเป็ นการส่ งเสริมการส่ งออก ยังช่ วยให้ ระบบการค้ า
ระหว่ างประเทศเป็ นไปอย่างคล่องตัวยิง่ ขึน้
ผู้มีหน้ าทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
ผูป้ ระกอบการที่ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การในทางธุรกิจหรื อ
วิชาชีพเป็ นปกติธุระ ไม่วา่ จะประกอบกิจการในรู ปของบุคคล
ธรรมดา คณะบุคคลหรื อห้างหุน้ ส่ วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรื อนิติ
บุคคลใด ๆ หากมีรายรับจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การเกินกว่า 1.8
ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ตอ้ งยืน่ คาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ เพื่อเป็ น
ผูป้ ระกอบการจดทะเบียน โดยคานวณภาษีที่ตอ้ งเสี ยจากภาษีขายหัก
ด้วยภาษีซ้ื อ
กิจการเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
กิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 246) พ.ศ.2534
1) การให้ บริการเช่ าสั งหาริมทรัพย์
2) การให้ บริการการใช้ บัตรเครดิตหรือในลักษณะทานองเดียวกัน
3) การให้ บริการทีป่ รึกษาทางธุรกิจ
4) การให้ เช่ าซื้อทรัพย์สิน
5) การให้ บริการนายหน้ าและตัวแทนซื้อขายหลักทรัพย์
6) การให้ บริการจัดจาหน่ ายหลักทรัพย์
7) การให้ บริการอืน่ ที่เกีย่ วเนื่องโดยตรงกับกิจการตามมาตรา 91/2 แห่ ง
ประมวลรัษฎากรและไม่ มีฐานภาษี ตามมาตรา 91/5 แห่ งประมวลรัษฎากร
กิจการดังกล่าวข้ างต้ นต้ องเสี ยภาษี 2 ประเภท คือ รายรับบางประเภทเสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ บางประเภทเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
1) ผู้ประกอบการ : ผู้ผลิต ผู้นาเข้ า ผู้ส่งออก ผู้ขายส่ ง ผู้ขายปลีก ซึ่ง
ขายสิ นค้ าหรือให้ บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ
2) ผู้นาเข้ า : ไม่ ว่าจะนาสิ นค้ าเข้ ามาในราชอาณาจักรเพื่อการใดๆ
ในทางธุรกิจหรือไม่ ใช่ ธุรกิจต้ องเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ โดยกรมศุลกากรมีหน้ าที่
เก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ แทนกรมสรรพากร
3) ผู้ทกี่ ฎหมายกาหนดให้ มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 82/1
การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
การประกอบกิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นไม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (มาตรา 81)
- การขายสิ นค้ าทีไ่ ด้ รับการยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
1) การขายสิ นค้ าหรือให้ บริการของผู้ประกอบการทีม่ รี ายรั บไม่ เกิน 1,800,000
บาทต่ อปี (ให้ เริ่มใช้ ต้งั แต่ วนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ.2548 เป็ นต้ นไป)
2) การขายพืชผลทางการเกษตร รวมถึงวัตถุพลอยได้ จากพืชทีย่ งั มีสภาพเดิมและ
ไม่ ทาเป็ นอุตสาหกรรม
3) การขายสั ตว์ และวัตถุพลอยได้ จากสั ตว์ ไม่ รวมถึงผลิตภัณฑ์ อาหารบรรจุ
กระป๋ องหรือหีบห่ อทีท่ าเป็ นอุตสาหกรรม
4) การขายปุ๋ ย ขายอาหารสั ตว์ การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ สาหรับพืชหรือสั ตว์
5) การขายหนังสื อพิมพ์ นิตยสาร หรือ ตาราเรียน
6) การขายสลากกินแบ่ งรัฐบาล สลากออมสิ นของรัฐบาล สลากกาชาด
เป็ นต้ น
การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
การประกอบกิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นไม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (มาตรา 81)
- การให้ บริการทีไ่ ด้ รับการยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
1) การให้ บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการและเอกชน
2) การให้ บริการการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่ าความ
3) การให้ บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาล
4) การให้ บริการของนักแสดงสาธารณะ
5) การให้ บริการขนส่ งในราชอาณาจักร
6) การให้ บริการขนส่ งระหว่ างประเทศ เฉพาะทางบก
7) การให้ บริการเช่ าอสั งหาริมทรัพย์
เป็ นต้ น
การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
การประกอบกิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นไม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (มาตรา 81)
- การนาเข้ าทีไ่ ด้ รับการยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
1) การนาเข้ าพืชผลทางการเกษตร รวมถึงวัตถุพลอยได้ จากพืช
2) การนาเข้ าสั ตว์ ไม่ ว่าจะมีชีวติ หรือไม่ มี รวมถึงวัตถุพลอยได้ จากสั ตว์
3) การนาเข้ าปุ๋ ย ปลาป่ น อาหารสั ตว์ ยาหรือเคมีภัณฑ์ สาหรับพืชหรือสั ตว์
4) การนาเข้ าหนังสื อพิมพ์ นิตยสาร ตาราเรียน
เป็ นต้ น
การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
- การให้ บริการ และการนาเข้ า ตามพระราชกฤษฎีกาอีกหลายฉบับ อาทิ
1) การนาเข้ าหรือขายทองคา ทองคาขาว ทองขาว เงิน และแพลเลเดียม
เฉพาะทีย่ งั มิได้ ประกอบขึน้ เป็ นทองรู ปพรรณหรือของรู ปพรรณของผู้ประกอบการจด
ทะเบียน
2) การนาเข้ าหรือการขายเพชร พลอย ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน
โอปอล เพทาย หยก ไข่ มุก และอัญมณีทมี่ ลี กั ษณะทานองเดียวกัน
3) การนาเข้ ากรดซัลฟิ วริก กรดฟอสฟอริก แอมโมเนียชนิดทีป่ ราศจากนา้
4) การนาเข้ าสิ นค้ าของสถานศึกษาของรัฐ เอกชน ทีจ่ ัดการศึกษาในระบบตาม
กฎหมายว่ าด้ วยการศึกษาแห่ งชาติ
เป็ นต้ น
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ หมายถึง จุดทีผ่ ้ ปู ระกอบการถูกกาหนดว่ า
มีภาระภาษีทจี่ ะต้ องชาระเกิดขึน้ แล้ว แยกเป็ นกรณีต่างๆ 4 กรณี ดังนี้
1) ความรับผิดกรณีการขายสิ นค้ า
1.1 การขายสิ นค้ าโดยทั่วไป : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ส่ งมอบสิ นค้ า
ให้ แก่ ผ้ ซู ื้อ เว้ นแต่ มีการกระทาต่ อไปนีเ้ กิดขึน้ ก่ อนส่ งมอบสิ นค้ า ก็ให้ ถือว่ าความรับผิด
เกิดขึน้ เมือ่ ได้ มีการกระทานั้นๆ คือ
ก. โอนกรรมสิ ทธิ์ในสิ นค้ า
ข. ได้ รับชาระราคาสิ นค้ าทั้งหมด
ค. ได้ ออกใบกากับภาษี
ทั้งนี้ โดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการกระทานั้นๆ แล้ วแต่ กรณี
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
1.2 การขายสิ นค้ าตามสั ญญาให้ เช่ าซื้อหรือสั ญญาซื้อขายผ่ อนชาระ :
ซึ่งกรรมสิ ทธิ์สินค้ ายังไม่ โอนไปยังผู้ซื่อเมือ่ ได้ ส่งมอบ ความรับผิดจะเกิดขึน้ เมือ่ ถึง
กาหนดชาระราคาตามงวดแต่ ละงวด เว้ นแต่ ได้ มีการกระทาดังต่ อไปนีก้ ่อนถึงกาหนด
ชาระแต่ ละงวด ก็ให้ ถือว่ าความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ได้ มีการกระทานั้นๆคือ
ก. ได้ รับชาระราคาสิ นค้ า
ข. ได้ ออกใบกากับภาษี
ทั้งนี้ โดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการกระทานั้นๆ แล้ วแต่ กรณี
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
1.3 การขายสิ นค้ าโดยมีการตั้งตัวแทนเพือ่ ขายและได้ ส่งมอบสิ นค้ าให้
ตัวแทนแล้ว : ความรับผิดของผู้ขายจะเกิดขึน้ เมือ่ ตัวแทนได้ ส่งมอบสิ นค้ าให้ แก่ ผ้ ซู ื้อแล้ ว
เว้ นแต่ ได้ มกี ารกระทาดังต่ อไปนีเ้ กิดขึน้ ก่ อนการส่ งมอบสิ นค้ าให้ ผ้ ูซื้อ ก็ให้ ถือว่ า
ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ได้ มีการกระทานั้นๆคือ
ก. ตัวแทนได้ โอนกรรมสิ ทธิ์สินค้ าให้ แก่ ผ้ ซู ื้อ
ข. ตัวแทนได้ รับชาระราคาสิ นค้ า
ค. ตัวแทนได้ ออกใบกากับภาษี หรือ
ง. ได้ มกี ารนาสิ นค้ าไปใช้ ไม่ ว่าโดยตัวแทนหรือบุคคลอืน่
ทั้งนี้ โดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการกระทานั้นๆ แล้ วแต่ กรณี
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
1.4 การขายสิ นค้ าโดยการส่ งออก : ความรับผิดจะเกิดขึน้ ดังนี้
ก. การส่ งออกโดยทัว่ ไป ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ชาระอากร
ขาออก วางหลักประกันอากรขาออก หรือจัดให้ มผี ้ คู า้ ประกันอากรขาออก เว้ นแต่ กรณี
ไม่ ต้องเสี ยอากรขาออก ให้ ถือว่ าความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ออกใบขนสิ นค้ าขาออกตาม
กฎหมายศุลกากร
ข. ในกรณีนาสิ นค้ าเข้ าไปในเขตอุตสาหกรรมส่ งออก เฉพาะ
สิ นค้ าที่ต้องเสี ยอากรขาออกหรือได้ รับยกเว้ นอากรขาออก ความรับผิดเกิดขึ้นในวันที่
นาสิ นค้ าในราชอาณาจักรเข้ าไปในเขตอุตสาหกรรมส่ งออก
ค. การส่ งออกซึ่งสิ นค้ าที่อยู่ในคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนตาม
กฎหมายศุลกากร ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ นาสิ นค้ าออกจากคลังสิ นค้ า
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
1.5 การขายสิ นค้ าทีไ่ ด้ เสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ในอัตราร้ อยละ 0 : (ขายให้
องค์ การสหประชาชาติ สถานทูต สถานกงสุ ล) และภายหลังได้ มีการโอนกรรมสิ ทธิ์สินค้ า
แล้ ว อันทาให้ ผ้ รู ับโอนสิ นค้ ามีหน้ าที่ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ โอน
กรรมสิ ทธิ์สินค้ า
2) ความรับผิดกรณีการให้ บริการ
2.1 ให้ บริการโดยทั่วไป : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ได้ รับชาระ
ค่ าบริการ เว้ นแต่ มกี ารออกใบกากับภาษีให้ แก่ ลูกค้ าหรือได้ ใช้ บริการไม่ ว่าโดยตนเองหรือ
ผู้อนื่ ก่ อนได้ รับชาระค่ าบริการ ก็ให้ ถือว่ าความรับผิดเกิดขึน้ แล้ ว
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
2.2 การให้ บริการตามสั ญญาทีก่ าหนดค่ าตอบแทนตามส่ วนของ
บริการทีท่ า : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ได้ รับชาระค่ าบริการตามส่ วนบริการทีส่ ิ้นสุ ดลง
เว้ นแต่ ก่อนได้ รับชาระค่ าบริการได้ มีการออกใบกากับภาษีหรือได้ ใช้ บริ การไม่ ว่าโดย
ตนเองหรือบุคคลอืน่
2.3 การให้ บริการทีท่ าในต่ างประเทศและได้ มีการใช้ บริการนั้นๆ
ในราชอาณาจักร : ความรับผิดในการเสี ยภาษีท้งั หมดหรือบางส่ วนเกิดขึน้ เมื่อได้ มีการ
ชาระราคาค่ าบริการทั้งหมดหรือบางส่ วนแล้ วแต่ กรณี
2.4 การให้ บริการทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ในอัตราร้ อยละ 0 ตามมาตรา
80/1(5) และภายหลังได้ มกี ารโอนสิ ทธิในการบริการอันทาให้ ผ้ รู ับโอนมีหน้ าที่ต้องเสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 82/1(2) : ความรับผิดในการเสี ยภาษีเกิดขึน้ เมือ่ ได้ รับชาระ
ค่ าบริการ
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
3) ความรับผิดกรณีการนาเข้ า
3.1 การนาเข้ าทั่วไป : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ชาระอากรขาเข้ า
วางหลักประกันอากรขาเข้ า หรือจัดให้ มผี ้ คู า้ ประกันอากรขาเข้ า เว้ นแต่ กรณีไม่ ต้องเสี ย
อากรขาเข้ าหรือยกเว้ นอากรขาเข้ า
3.2 การนาเข้ ากรณีนาสิ นค้ าในราชอาณาจักรเข้ าไปในเขต
อุตสาหกรรมส่ งออก แล้ วนาสิ นค้ าออกจากเขตอุตสาหกรรมส่ งออก (เข้ ามาในประเทศ
ไทย) โดยมิใช่ เพือ่ ส่ งออก (ไปต่ างประเทศ)
3.3 การนาเข้ ากรณีของตกค้ างตามกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากร : ความ
รับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ทางการได้ ขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอนื่ เพือ่ นาเงินมาชาระค่ าภาษี
ค่ าเก็บรักษา ค่ าขนย้าย หรือค่ าภาระติดพันตามวิธีที่กาหนดในกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากร
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
3.4 การนาเข้ าสิ นค้ าที่จาแนกประเภทไว้ ในภาคทีไ่ ด้ รับการยกเว้ น
อากรขาเข้ าตามกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราศุลกากร : ความรับผิดเกิดขึน้ พร้ อมกับ
ความรับผิดตามกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราศุลกากร
4) ความรับผิดในการขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการในบางกรณี
4.1 การขายกระแสไฟฟ้า นา้ ประปา หรือสิ นค้ าที่มีลกั ษณะทานอง
เดียวกัน : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ได้ รับชาระราคาสิ นค้ าหรือได้ มกี ารออกใบกากับภาษี
ก่อนได้ รับชาระราคาสิ นค้ า
4.2 การขายสิ นค้ าทีไ่ ม่ มรี ู ปร่ าง เช่ น สิ ทธิในสิ ทธิบัตร กู๊ดวิลล์
เครื่องหมายการค้ า ลิขสิ ทธิ์ สั มปทาน : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ได้ รับชาระราคาสิ นค้ า
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
4.3 การขายสิ นค้ าหรือบริการด้ วยเครื่องอัตโนมัติซึ่งชาระราคาด้ วย
การหยอดเหรียญบัตร หรือด้ วยวิธีการในลักษณะทานองเดียวกัน : ความรับผิดเกิดขึน้
เมือ่ ได้ นาเงิน เหรียญ บัตร หรือ สิ่ งอืน่ ในทานองเดียวกันออกจากเครื่ องอัตโนมัติ
4.4 การขายสิ นค้ าโดยการชาระราคาด้ วยการใช้ บัตรเครดิตหรือใน
ลักษณะทานองเดียวกัน : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ ส่ งมอบสิ นค้ า
4.5 การให้ บริการโดยการชาระราคาด้ วยการใช้ บัตรเครดิตหรือ
ทานองเดียวกัน : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ มีการออกหลักฐานการใช้ บัตรเครดิต เว้ นแต่
กรณีมีการออกใบกากับภาษีก่อนการออกหลักฐานการใช้ บัตรเครดิต ความรับผิดจะ
เกิดขึน้ เมือ่ ได้ มีการออกใบกากับภาษีน้ัน
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
4.6 การขายสิ นค้ าตามสั ญญาจะขายสิ นค้ า : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่
ส่ งมอบสิ นค้ า
4.7 การรับประกันวินาศภัย : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่
ก. เมือ่ บริษัทประกันวินาศภัยเก็บเงินโดยตรงกับ
ผู้เอาประกัน
ข. เมือ่ ตัวแทนนายหน้ าเก็บเงินจากผู้เอาประกัน
ค. นับตั้งแต่ วนั ที่ซึ่งปรากฏในใบเสร็จรับเงินที่ออกให้ แก่
ผู้เอาประกันหรือวันทีอ่ อกใบกากับภาษี
4.8 กรณีทผี่ ้ ปู ระกอบการนาสิ นค้ าไปใช้ โดยตนเองหรือบุคคลอืน่ โดย
มิใช่ เพือ่ ประกอบกิจการโดยตรง : ความรับผิดเกิดขึน้ เมือ่ นาไปใช้ หรือส่ งมอบสิ นค้ าให้
บุคคลอืน่ เพือ่ ใช้
หน้ าทีข่ องผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่
1. เรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากผูซ้ ้ือสิ นค้าหรื อผูร้ ับบริ การ และ
ออกใบกากับภาษีเพื่อเป็ นหลักฐานในการเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม
2. จัดทารายงานตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่งได้แก่
(1) รายงานภาษีซ้ือ
(2) รายงานภาษีขาย
(3) รายงานสิ นค้าและวัตถุดิบ
3. ยืน่ แบบแสดงรายการเพื่อเสี ยภาษีตามแบบ ภ.พ.30
การออกใบกากับภาษี
ใบกากับภาษี คือ เอกสารหลักฐานสาคัญ ซึ่ งผูป้ ระกอบการจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องจัดทาและออกให้กบั ผูซ้ ้ื อสิ นค้าหรื อผูร้ ับบริ การทุกครั้งที่มีการขาย
สิ นค้าหรื อให้บริ การ
 กรณีการขายสิ นค้ า ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่ตอ้ งออกใบกากับภาษี
พร้อมทั้งส่ งมอบให้แก่ผซู ้ ้ื อในในทันทีที่มีการส่ งมอบสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ้ื อ
 กรณีการให้ บริการ ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่ตอ้ งออกใบกากับภาษี
พร้อมทั้งส่ งมอบให้แก่ผรู ้ ับบริ การในทันทีที่ได้รับชาระราคาค่าบริ การ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนต้ องจัดทาใบกากับภาษีอย่ างน้ อย 2 ฉบับ ดังนี้
1) ต้นฉบับ ผูป้ ระกอบการต้องส่ งมอบให้กบั ผูซ้ ้ื อสิ นค้าหรื อผูร้ ับบริ การ
2) สาเนา ผูป้ ระกอบการต้องเก็บรักษาไว้เพื่อเป็ นหลักฐานประกอบการลงรายงาน
ภาษีเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี นับแต่วนั ที่ทารายงาน
ใบกากับภาษีเต็มรู ป
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
(8)
คาว่ า "ใบกากับภาษี"
เลขประจาตัวผู้เสี ยภาษีอากรของผู้ขายสิ นค้ าหรือให้ บริการ
ชื่อ ทีอ่ ยู่ ของผู้ขายสิ นค้ าหรือให้ บริการ
ชื่อ ทีอ่ ยู่ ของผู้ซื้อสิ นค้ าหรือรับบริการ
หมายเลขลาดับของใบกากับภาษีและหมายเลขลาดับของเล่ม (ถ้ ามี)
วัน เดือน ปี ทีอ่ อกใบกากับภาษี
ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณและมูลค่ าของสิ นค้ าหรือของบริการ
จานวนภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีค่ านวณจากมูลค่ าของสิ นค้ าหรือของบริการ
โดยให้ แยกออกจากมูลค่ าของสิ นค้ าหรือของบริการให้ ชัดแจ้ ง
การออกใบเพิม่ หนี้ ใบลดหนี้
ใบเพิม่ หนี้ คือ เอกสารทีผ่ ้ ปู ระกอบการจดทะเบียน ซึ่งต้ องคานวณ
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ใหม่ เนื่องจากมูลค่ าของสิ นค้ าหรือบริการมีจานวนเพิม่ ขึน้ ออกให้ แก่ ผ้ ซู ื้อ
สิ นค้ าและบริการในเดือนทีม่ เี หตุการณ์ ทาให้ ต้องออกใบเพิม่ หนี้ ใบเพิม่ หนีจ้ ะถือเป็ น
“ใบกากับภาษี”
ใบลดหนี้ คือ เอกสารทีผ่ ้ ปู ระกอบการจดทะเบียน ซึ่งต้ องคานวณ
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ใหม่ เนื่องจากมูลค่ าของสิ นค้ าหรือบริการมีจานวนลดลง ออกให้ แก่ ผ้ ซู ื้อ
สิ นค้ าและบริการในเดือนทีม่ เี หตุการณ์ ทาให้ ต้องออกใบลดหนี้ ใบลดหนีจ้ ะถือเป็ น
“ใบกากับภาษี”
ฐานภาษี
ฐานภาษีมูลค่ าเพิม่ มี 6 ฐาน ดังนี้
1) ฐานภาษีสาหรับการขายสิ นค้ าและบริการ : มูลค่ าทั้งหมดทีผ่ ้ ูประกอบการ
ได้ รับหรือพึงได้ รับจากการขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการรวมทั้งภาษีสรรสามิต (ถ้ ามี)
2) ฐานภาษีสาหรับการนาสิ นค้ าเข้ า : สาหรับสิ นค้ าทุกประเภท ได้ แก่ มูลค่ า
ของสิ นค้ านาเข้ าโดยให้ ราคาซีไอเอฟ (C.I.F.) บวกด้ วยอากรขาเข้ า ภาษีสรรสามิต และ
ค่ าธรรมเนียมอืน่ ๆ ตามทีก่ าหนดไว้ ในพระราชกฤษฎีกา
ราคาซีไอเอฟ (C.I.F.) : ราคาสิ นค้ าบวกด้ วยค่ าประกันภัยและค่ าขนส่ งถึงด่ าน
ศุลกากรทีน่ าสิ นค้ าเข้ าราชอาณาจักร
ฐานภาษี
3) ฐานภาษีสาหรับการขายซึ่งยาสู บ นา้ มันดิบ และผลิตภัณฑ์ นา้ มัน จาม
ประเภทและชนิดทีก่ าหนด
4) ฐานภาษีของการรับประกันวินาศภัย
5) ฐานภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบธุรกิจบัตรเครดิต
6) ฐานภาษีมูลค่ าเพิม่ กรณีพเิ ศษ
อัตราภาษีมูลค่ าเพิม่
1. อัตราภาษีมูลค่าเพิม่ ร้อยละ 7 สาหรับการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การทุกประเภท
รวมทั้งการนาเข้าที่มีรายรับเกินกว่า 1,800,000 บาท ต่อปี
2. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 0 สาหรับกิจการประเภท
 การส่ งออกสิ นค้า
 การให้บริ การขนส่ งระหว่างประเทศโดยอากาศยาน หรื อเรื อเดินทะเลที่กระทา
โดยผูป้ ระกอบการที่เป็ นนิ ติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นโดยกฎหมายไทยและกฎหมาย
ต่างประเทศ และเข้ามาประกอบการในประเทศไทย
 การขายสิ นค้าหรื อให้บริ การแก่หน่วยงานของราชการหรื อรัฐวิสาหกิจตาม
โครงการเงินกูห้ รื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
 การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การแก่องค์การสหประชาชาติ สถานทูต สถานกงสุ ล
ของประเทศต่างๆ
 การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การระหว่างการคลังสิ นค้าทัณฑ์บนด้วยกันหรื อ
ระหว่างผูป้ ระกอบการที่อยูใ่ นเขตอุตสาหกรรมส่ งออก
การคานวณภาษีมูลค่ าเพิม่
การคานวณภาษีมูลค่ าเพิม่ ในแต่ ละเดือนใช้ สูตร
ภาษีที่ต้องชาระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
การคานวณภาษีมูลค่ าเพิม่
ภาษีขาย  ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ เรียกเก็บ
หรือพึงเรียกเก็บจากผ้ ซู ื้อสิ นค้ า หรือผู้รับบริการ เมื่อขายสิ นค้า หรื อ
รับชาระค่าบริ การ หากภาษีขายเกิดขึ้นในเดือนใดก็เป็ นภาษีขายของ
เดือนนั้น ไม่คานึงว่าสิ นค้าที่ขายหรื อบริ การที่ให้น้ นั จะซื้ อมาหรื อเป็ น
ผลมาจากการผลิตในเดือนใดก็ตาม
(มาตรา77/1(17))
การคานวณภาษีมูลค่ าเพิม่
ภาษีซ้ือ  ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่ ผู้ประกอบการได้ จ่ายให้ แก่ ผ้ ขู ายสิ นค้ า
หรือผู้ให้ บริการทีเ่ ป็ นผู้ประกอบการจดทะเบียนเมื่อซื้อสิ นค้ าหรือ
ชาระค่ าบริการ เพื่อใช้ในการประกอบกิจการของตน (ทั้งที่เป็ นวัตถุดิบ
หรื อสิ นค้าทุนประเภท เครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ เป็ นต้น)
หากภาษีซ้ื อเกิดขึ้นเดือนใดก็เป็ นภาษีซ้ือของเดือนนั้น ไม่คานึงว่า
สิ นค้าที่ซ้ื อมานั้นจะขายหรื อนาไปใช้
ในการผลิตในเดือนใดก็ตาม (มาตรา 77/1(18))
ภาษีซื้อที่ห้ามนาไปหักออกจากภาษีขาย (ภาษีซื้อต้ องห้ าม)
1. กรณี ไม่มีใบกากับภาษี หรื อไม่อาจแสดงใบกากับภาษีได้วา่ มีการชาระ
ภาษีซ้ือ
2. กรณี ใบกากับภาษีมีขอ้ ความไม่ถูกต้อง
3. ภาษีซ้ือที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผูป้ ระกอบการ
4. ภาษีซ้ือที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรอง
5. ภาษีซ้ือตามใบกากับภาษีซ่ ึงออกโดยผูไ้ ม่มีสิทธิออกใบกากับภาษี
6. ภาษีซ้ือตามที่อธิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิของรัฐมนตรี ตามมาตรา 82/5(6)
ซึ่งกาหนดไว้ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิม่
(ฉบับที่ 42) และ (ฉบับที่ 50)
การยืน่ แบบแสดงรายการและการชาระภาษีมูลค่ าเพิม่
ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนจะต้องยืน่ แบบแสดงรายการพร้อมทั้ง
ชาระภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) เป็ นรายเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือน
ถัดไป ไม่วา่ จะมีการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การเกิดขึ้นในเดือนภาษีน้ นั
หรื อไม่กต็ าม
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ ผูป้ ระกอบกิจการที่ตอ้ งเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ ไม่วา่
ผูป้ ระกอบกิจการดังกล่าวจะประกอบกิจการในรู ปของ
- บุคคลธรรมดา
- คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
- กองมรดก
- ห้างหุน้ ส่ วนสามัญ
- กองทุน
- หน่วยงานหรื อกิจการของเอกชนที่กระทาโดยบุคคลธรรมดาตั้งแต่สองคนขึ้นไปอันมิใช่นิติ
บุคคล
- องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นนิติบุคคล
ในกรณี ผปู้ ระกอบกิจการอยูน่ อกราชอาณาจักร ให้ผมู ้ ีหน้าที่รับผิดชอบในการประกอบกิจการรวม
ตลอดถึง ลูกจ้าง ตัวแทน หรื อผูท้ าการแทนซึ่งมีอานาจในการจัดการแทนโดยตรง หรื อโดยปริ ยายที่
อยูใ่ นราชอาณาจักร เป็ นผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีร่วมกับผูป้ ระกอบกิจการดังกล่าว
ประเภทกิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ











การธนาคาร
การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิ เอร์
การรับประกันภัย
การรับจานา
การประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิ ชย์
การขายอสังหาริ มทรัพย์เป็ นทางการค้าหรื อหากาไร
การขายหลักทรัพย์
กิจการซื้ อและขายคืนหลักทรัพย์
การประกอบธุรกิจแฟ็ กเตอริ ง
การประกอบกิจการธุรกิจบัตรเครดิต
การประกอบกิจการอื่น ตามกาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
ฐานภาษีธุรกิจเฉพาะ
ได้แก่ รายรับก่อนหักรายจ่าย ใด ๆ ที่ผปู ้ ระกอบกิจการได้รับ
หรื อพึงได้รับเนื่องจากการประกอบกิจการ
"รายรับ" หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรื อประโยชน์ใด ๆ
อันมีมูลค่าที่ผปู ้ ระกอบกิจการ ได้รับหรื อพึงได้รับ ไม่วา่ ในหรื อนอกราชอาณาจักร
อันเนื่องมาจากการประกอบกิจการ
กิจการที่ตอ้ งเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ จะต้องเสี ยภาษีโดยคานวณจากฐานภาษี
ซึ่ งได้แก่ รายรับตามฐานภาษี ของแต่ละประเภทกิจการ คูณด้วยอัตราภาษีที่กาหนด
ไว้ และจะต้องเสี ยภาษีทอ้ งถิ่นอีก ร้อยละ 10 ของจานวนภาษีธุรกิจเฉพาะดังกล่าว
อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ
กิจการ
1. การธนาคารตามกฎหมายว่าด้วย
การธนาคารพาณิ ชย์ หรื อกฎหมาย
เฉพาะ
2. การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจ
หลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิ เอร์
ฐานภาษี
o ดอยเบี้ย ส่ วนลด
ค่าธรรมเนียม ค่าบริ การ
o กาไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ
จากการซื้ อขายเงินตรา การ
ออกตัว๋ เงินหรื อส่ งเงินไป
ต่างประเทศ
o (เหมือนกิจการธนาคาร)
อัตราภาษี
(ร้ อยละ)
3.0
3.0
3.0
อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ
กิจการ
3. การรับประกันชีวิต
4. การรับจานาตามกฎหมายว่าด้วย
โรงรับจานา
5. การประกอบกิจการโดยปกติ
เยีย่ งธนาคารพาณิ ชย์ เช่น กูย้ นื เงิน
ค้ าประกัน ขายตัว๋ เงิน ฯลฯ
ฐานภาษี
o ดอยเบี้ย ค่าธรรมเนียม
ค่าบริ การ
o ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม การ
ขายของหลุดจานา
o (เหมือนกิจการธนาคาร)
อัตราภาษี
(ร้ อยละ)
2.5
2.5
3.0
อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ
กิจการ
ฐานภาษี
6. การขายอสังหาริ มทรัพย์เป็ นทาง o รายรับจากกิจการก่อนหัก
การค้าหรื อหากาไร
รายจ่ายใดๆ
7. การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมาย o รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ
ว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย
8. กิจการซื้ อและขายคืนหลักทรัพย์ o กาไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ
ที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกากับ
หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
อัตราภาษี
(ร้ อยละ)
3.0
0.1
(ยกเว้น)
3.0
อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ
กิจการ
9. ธุรกิจแฟ็ กเตอริ ง
10. ธุรกิจบัตรเครดิต
ฐานภาษี
o ดอยเบี้ย ส่ วนลด
ค่าธรรมเนียมหรื อค่าบริ การ
o ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม
อัตราภาษี
(ร้ อยละ)
3.0
3.0
การจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
ผูป้ ระกอบการที่มีหน้าที่เสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจ
เฉพาะ โดยยืน่ คาขอจดทะเบียนตามแบบ “ภ.ธ.01” ภายในกาหนดเวลา 30 วัน
นับจากวันเริ่ มประกอบกิจการ
 ผูป้ ระกอบการที่ประกอบกิจการในกรุ งเทพมหานคร ให้ยนื่ คาขอจดทะเบียน
ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่อนั เป็ นสถานที่ต้ งั สถานประกอบการ
 ผูป้ ระกอบการที่ประกอบกิจการในต่างจังหวัด ในยืน่ คาขอจดทะเบียน
ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
 ในกรณี ที่ผปู ้ ระกอบการมีสถานประกอบการหลายแห่ ง (หรื อหลายสาขา) ให้ยนื่
คาขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่อนั เป็ นที่ต้ งั ของสานักงาน
ใหญ่ต้ งั อยู่
การยืน่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี
ผูป้ ระกอบการที่ได้จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วมีหน้าที่
เสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยยืน่ แบบแสดงรายการภาษีตามแบบ ภ.ธ.40
เป็ นรายเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
กาหนดเวลาในการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ
- ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ มีหน้าที่ตอ้ งยืน่
แบบแสดงรายการ และชาระภาษีโดยใช้แบบ ภ.ธ.40 ภายใน
วันที่ 15 ของเดือนถัดไป ไม่วา่ จะมีรายรับในเดือนนั้น หรื อไม่ก็
ตาม
- ภาษีในเดือนภาษีใด เมื่อรวมคานวณแล้วมีจานวนไม่ถึง 100
บาท ผูป้ ระกอบกิจการไม่ตอ้ งเสี ยภาษีสาหรับ เดือนภาษีน้ นั แต่
ยังคงมีหน้าที่ตอ้ งยืน่ แบบแสดงรายการตามปกติ
อากรแสตมป์
ตราสารทีต่ ้ องเสี ยอากรแสตมป์
คาว่า “ตราสาร” ตามประมวลรัษฎากรหมายถึง เอกสารที่
ต้องเสี ยอากรแสตมป์ ตามที่กาหนดไว้ในบัญชีอตั รา อากร
แสตมป์ ซึ่ งปัจจุบนั มีท้ งั หมด 28 ลักษณะตราสาร เช่น ตราสาร
เช่าที่กบั โรงเรื อน เช่าซื้อทรัพย์สิน จ้างทาของ กูย้ มื เงิน ฯลฯ
อากรแสตมป์ เป็ นภาษีอากรที่จดั เก็บจากการกระทาตราสาร
โดยคาว่ากระทา หมายความว่า การลงลาย มือชื่อตาม
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่ง
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยอากรแสตมป์
1. บุคคลตามที่ระบุไว้ในบัญชีอตั ราอากรแสตมป์ ช่องที่ 3 เช่น ผูใ้ ห้เช่า
ผูโ้ อน ผูใ้ ห้กู้ ผูร้ ับประกันภัย ฯลฯ
2. ถ้าตราสารทาขึ้นนอกประเทศ ให้เป็ นหน้าที่ของผูท้ รงตราสารคนแรกใน
ประเทศไทยเป็ นผูเ้ สี ยอากรภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับตราสารนั้น
3. ตัว๋ เงินที่ยนื่ ให้ชาระเงิน มิได้ปิดแสตมป์ บริ บูรณ์ ผูร้ ับตัว๋ จะเสี ยอากรและ
ใช้สิทธิไล่เบี้ยจากผูม้ ีหน้าที่เสี ยอากร หรื อหักค่าอากรจากเงินที่จะชาระก็ได้
4. ผูม้ ีหน้าที่เสี ยอากร ตามที่ระบุไว้ในบัญชีอตั ราอากรแสตมป์ อาจตกลงให้
คู่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่งเป็ นผูเ้ สี ยอากรแทนตนก็ได้
วิธีการเสียอากรแสตมป์
1. ในกรณีแสตมป์ ปิ ดทับ คือการได้ เสียอากรโดยปิ ดแสตมป์ ทับ
กระดาษก่อนกระทาการหรือในทันทีท่ที าตราสารเป็ นราคาไม่น้อย
กว่าอากรที่ต้องเสีย และได้ ขดี ฆ่าแสตมป์ นั้นแล้ ว
2. ในกรณีแสตมป์ ดุน คือการเสียอากรโดยใช้ กระดาษมีแสตมป์ ดุน
เป็ นราคาไม่น้อยกว่าอากรที่ต้องเสียและขีดฆ่าแล้ ว หรือโดยยื่น
แบบตราสารให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ประทับแสตมป์ ดุนและชาระเงิน
เป็ นจานวนเงินไม่น้อยกว่าอากรที่ต้องเสียและขีดฆ่าแล้ ว
วิธีการเสียอากรแสตมป์
3. ในกรณีชาระเป็ นตัวเงิน คือ การได้ เสียอากรเป็ นตัวเงินเป็ นราคา
ไม่น้อยกว่าอากรที่ต้องเสีย
ในกรณีตราสารใดมิได้ ปิดแสตมป์ บริบูรณ์ผ้ ูมีหน้ าที่เสียภาษีอากรหรือผู้ทรง
ตราสารชอบที่จะยื่นตราสารนั้นต่อเจ้ าพนักงานเพื่อขอให้ เสียอากรให้ ถูกต้ อง ดังนี้
(มาตรา 113)
กรณีให้ เป็ นตราสารที่ทาขึ้นในประเทศให้ ย่ นื เสียอากรภายใน 15 วัน นับแต่วันที่
ต้ องปิ ดอากรแสตมป์
กรณีอ่นื เมื่อยื่นต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่จะถูกเรียกเก็บเงินเพิ่มอากรตามเกณฑ์ท่ี
กาหนดไว้
ผลของตราสารทีม่ ิได้ ปิดแสตมป์ บริบูรณ์
1. จะใช้ตน้ ฉบับ คู่ฉบับ คู่ฉีก หรื อสาเนาตราสารนั้นเป็ น
พยานหลักฐานในคดีความไม่ได้จนกว่าจะได้เสี ยอากรปิ ดแสตมป์
บริ บูรณ์และขีดฆ่าแล้ว (มาตรา 118)
2. เจ้าพนักงานของรัฐหรื อเทศบาลจะไม่ลงนามรับรู ้ ยอมให้ทา หรื อ
บันทึกไว้ จนกว่าจะได้ปิดอากรแสตมป์ บริ บูรณ์และขีดฆ่าแล้ว
(มาตรา 119)
3. ผูใ้ ดมีหน้าที่เสี ยอากรหรื อขีดฆ่าแสตมป์ เพิกเฉยหรื อปฏิเสธ
ไม่เสี ยอากรหรื อไม่ขีดฆ่าแสตมป์ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500
บาท (มาตรา 124)
อัตราอากรแสตมป์
อัตราอากรที่จะต้องใช้แสตมป์ ปิ ดลงบนตราสารต่างๆ กาหนดไว้
เป็ นสองลักษณะดังนี้
1. กาหนดให้เสี ยอากรแสตมป์ เป็ นรายฉบับไม่วา่ ตราสารนั้นจะ
เป็ นทุนทรัพย์เป็ นเงินจานวนเท่าใด
2. กาหนดให้เสี ยอากรแสตมป์ ตามจานวนเงินที่ปรากฏ
ในตราสาร
ลักษณะของธุรกิจทีจ่ ะได้ รับสิ ทธิประโยชน์ ทางภาษี SMEs
ลาดับที่
1.
ลักษณะ
เป็ นบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนชาระแล้วในวันสุ ดท้ายของ รอบ
ระยะเวลาบัญชี ไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้จากการขายสิ นค้าและให้บริ การ
ไม่เกิน 30 ล้านบาทต่อรอบระยะเวลาบัญชี
2.
3.
4.
5.
เป็ นบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลมีสินทรัพย์ถาวรไม่รวมที่ดิน ไม่เกิน 200 ล้านบาท
และจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน
เป็ นบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่นาหลักทรัพย์มาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
MAI
เป็ น VC (Venture Capital) ที่ถือหุน้ ในบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่มีสินทรัพย์
ถาวร ไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท และจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน
เป็ นกิจการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การที่อยูใ่ นบังคับภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่มีรายรับไม่เกิน 1.8
ล้านบาทต่อปี หรื อต่อรอบระยะเวลาบัญชี ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษี SMEs
กรมสรรพากรได้ส่งเสริ มและสนับสนุนการให้ประโยชน์ทางธุรกิจ SMEs ด้วยวิธีการต่าง เช่น
ยกเว้ นภาษี
รัฐได้มีนโยบายยกเว้นภาษี เพื่อบรรเทาภาระหรื อสนับสนุนส่ งเสริ มธุรกิจต่าง ๆ
ลดอัตราภาษี
ประมวลรัษฎากรได้กาหนดอัตราภาษีเพื่อใช้จดั เก็บภาษีแต่ละเภทไว้ แต่ละประเภทภาษี
หักค่ าสึ กหรอและค่ าเสื่ อมในอัตราเร่ ง ฯ
บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่ซ้ือทรัพย์สินมาใช้งาน หากทรัพย์สินนั้นใช้งานเกิน 1 รอบระยะเวลาบัญชี
กฎหมายกาหนดให้หกั ค่าสึ กหรอและค่าเสื่ อมราคา โดยกาหนดประเภททรัพย์สินและอัตราทีให้หกั ค่าสึ กหรอ
ไว้ในพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 145)
รายจ่ ายทีห่ ักได้ มากกว่ า 1 เท่ า
ปกติการประกอบธุรกิจต่าง ๆ รายจ่ายที่จ่ายเพื่อกิจการสามารถนามาหักเป็ นรายจ่ายได้เท่าที่จ่ายไป
มีบางกรณี ที่กฎหมายให้หกั น้อยกว่าที่จ่ายไปหรื อไม่ยอมให้หกั รายจ่าย ดังนั้น
การหักรายจ่ายต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กฎหมายกาหนด
สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษี SMEs
ยกเว้ นภาษี
ลดอัตราภาษี
บุคคลธรรมดา
นิติบุคคล
นิติบุคคล
ยกเว้นเงินได้ สุทธิ
150,000 บาทแรก
หลังจากคานวณจากเงิน
ได้ พึงประเมินหักออก
ด้วยค่าใช้จ่ายและค่า
ลดหย่อน
มาตรการส่งเสริ ม SMEs
ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล
สาหรับกาไรสุ ทธิ 150,000
บาทแรก ของบริ ษทั หรื อ
ห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่มี
ทุนจดทะเบียนที่ชาระแล้ว
ในวันสุดท้ายของรอบ
ระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5
ล้านบาทและมีรายได้จาก
การขายสิ นค้าและให้บริ การ
ไม่เกิน 30 ล้านบาทในรอบ
ระยะเวลาบัญชี
มาตรการส่งเสริ ม SMEs
บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคล ที่มีทุนจดทะเบียนชาระ
แล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท
และมีรายได้ จากการขายสิ นค้ าและให้ บริ การไม่ เกิน 30 ล้ าน
บาทในรอบระยะเวลาบัญชี
รอบระยะเวลาบัญชี รอบระยะเวลาบัญชี
ปี 2555
ปี 2556
กาไรสุทธิ (บาท) อัตราภาษี (ร้อยละ) อัตราภาษี (ร้อยละ)
1 - 150,000
ยกเว้น
150,001 - 1,000,000 15
1,000,001 บาทขึ้นไป 23
ยกเว้น
15
20
ลักษณะของธุรกิจที่จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ทางภาษี
วิสาหกิจชุมชน SMCE (Small and Micro Community Enterprise)
ลาดับที่
1.
2.
ลักษณะ
เป็ นผูป้ ระกอบการ
ห้างหุน้ ส่ วนสามัญหรื อคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
ซึ่งได้จดทะเบียนเป็ นวิสาหกิจชุมชน
มีเงินได้พึงประเมินไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษี
ยกเว้ นภาษี
สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินที่ไม่ เกิน 1.8 ล้านบาทต่ อปี
ที่ได้รับตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารหมอภาษี คลินิกภาษี
กระทรวงการคลัง รุ่นที่ 1 - 5
ความรู้ เกีย่ วกับภาษีอากรของกรมสรรพากรตามประมวลรัษฎากร
วันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ถึงวันที่ 13 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมวินเซอร์ สวีท สุ ขุมวิท 20