พรบ.สุขภาพจิต PPT - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

Download Report

Transcript พรบ.สุขภาพจิต PPT - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

พระราชบัญญัติสุขภาพจิ ต พ.ศ.๒๕๕๑
โดย พญ. สุกญ
ั ญา เวียงอินทร์
นายแพทย์ชานาญการ
โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์
วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ ได้ รับทราบเนื้อหาในพระราชบัญญัติสขุ ภาพจิต(พ.ศ.
๒๕๕๑)
 เพื่อให้ เกิดความตระหนักและมีความรู้ ความเข้ าใจใน
กฎหมายสุขภาพจิต
 เพื่อให้ เป็ นแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้ อง
คดีเปมิกา หมอเผ่า
ช่วงกุมภาพันธ์ปี 2550 เมื่อ “น้ องเป”เข้ าแจ้ งความที่
สน.บางซื่อ กล่าวว่าได้ รับโทรศัพท์จาก "หมอเผ่า" ให้ เข้ าไป
ช่วยเหลือที่โรงพยาบาลศรีธญ
ั ญาซึ่งอ้ างว่าถูกครอบครัวนามา
กักขัง โดยกุเรื่องว่าสาเหตุท่หี มอเผ่าถูกนามากักเพราะเป็ นผู้
ต้ องสงสัยฆ่าภรรยาตัวเองและทางพี่ชายต้ องการช่วยเหลือจึง
นามากักขังไว้ ในรพ.ดังกล่าว
ผูป้ ่ วยจิ ตเวช
ไม่มีคดี
ยินยอมรักษา
มีคดี
ไม่ยินยอมรักษา
กระบวนการ
ยุติธรรม
พระราชบัญญัติสขุ ภาพจิต(พ.ศ. ๒๕๕๑)
เป็ นกฎหมายที่มีจุดมุ่งหมายคุ้มครองผู้ท่มี ี
ปัญหาสุขภาพจิตให้ ได้ รับการบาบัดรักษา รวมทั้ง
เป็ นการป้ องกันอันตรายอันเกิดจากผู้ป่วยจิตเวช
ที่มีต่อตนเอง ผู้อ่นื และสังคม
โครงสร้างของพระราชบัญญัติสขุ ภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวดที่ ๑ คณะกรรมการ
ส่วนที่ ๑
คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ส่วนที่ ๒
คณะกรรมการสถานบาบัดรักษา
หมวดที่ ๒
สิทธิผ้ ูป่วย
หมวดที่ ๓
การบาบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ ๑ ผู้ป่วย
ส่วนที่ ๒ ผู้ป่วยคดี
ส่วนที่ ๓ การฟื้ นฟูสมรรถภาพ
หมวดที่ ๔
การอุทธรณ์
หมวดที่ ๕
พนักงานเจ้ าหน้ าที่
หมวดที่ ๖
บทกาหนดโทษ
ใจความสาคัญ
การนาบุคคลที่
“มีภาวะอันตราย”หรือ “มีความจาเป็ นต้องได้รบั การ
บาบัดรักษา”
ให้ ได้ รับการบาบัดรักษา
มาตรา ๒๒
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณี
หนึ่งดังต่อไปนี้เป็ นบุคคลที่ต้องได้ รับการ
บาบัดรักษา
(๑) มีภาวะอันตราย
(๒) มีความจาเป็ นต้ องได้ รับการบาบัดรักษา
ภาวะอั นตราย คือ

อันตรายที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติทางจิตที่
แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด อัน
เป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือ
ทรัพย์สนิ ของตนเองหรือผู้อ่นื
ภาวะอั นตราย คือ
 การประเมินภาวะอันตรายพิจารณาจากองค์ประกอบ
ของพฤติกรรมที่มีลักษณะสาคัญอย่างน้ อย 4 ประการ
คือ
1. ขนาดความรุนแรงของอันตราย
2. ความเป็ นไปได้ ท่อี นั ตรายจะเกิดขึ้น
3. ความถี่ของอันตรายที่จะเกิดขึ้น
4. เป็ นอันตรายที่ใกล้ จะถึง
มาตรา ๒๓
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ท่นี ่าเชื่อว่าบุคคล
นั้นมีความผิดปกติทางจิต คือมีภาวะอันตรายหรือ มี
ความจาเป็ นต้ องได้ รับการบาบัดรักษา ให้ แจ้ งต่อ
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรือตารวจโดยเร็ว
มาตรา ๒๔
เมื่อพนักงานเจ้าหน้าทีห่ รือตารวจได้ รับแจ้ ง หรือพบ
บุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ท่นี ่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติ
ทางจิต ให้ ดาเนินการนาตัวผูน้ ้นั ไปยังสถานพยาบาล เพื่อ
รับการตรวจวินิจฉัย โดยการนาตัวบุคคลดังกล่าวไป
สถานพยาบาล จะไม่สามารถผูกมัดร่างกายของบุคลนั้นได้
เว้ นแต่ความจาเป็ นเพื่อป้ องกันการเกิดอันตรายต่อบุคคล
นั้นเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สนิ ของผู้อ่นื
มาตรา ๒๗
ให้ แพทย์อย่างน้ อยหนึ่งคนและพยาบาลอย่าง
น้ อยหนึ่งคนที่ประจาสถานพยาบาลของรัฐหรือสถาน
บาบัดรักษาตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้ องต้น
ต้ องให้ แล้ วเสร็จ ภายใน ๔๘ ชั่วโมง นับตั้งแต่บุคคล
นั้นมาถึงสถานพยาบาล และผู้ท่ที าการตรวจวินิจฉัย
ต้ องบันทึกรายละเอียดในแบบรายงานผลการตรวจ
วินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้ น (ตจ.๑)
มาตรา ๒๙
เมื่อสถานบาบัดรักษารับบุคคล ที่พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่นาส่งหรือส่งต่อจากแพทย์ ให้ คณะกรรมการ
สถานบาบัดรักษาตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการ
บุคคลนั้นโดยละเอียดภายใน ๓๐ วัน และมีการ
พิจารณาว่าให้ บุคลนั้นต้ องเข้ ารับการบาบัดรักษาใน
สถานบาบัดรักษา หรือ ให้ บุคคลนั้นต้ องรับการ
บาบัดรักษา ณ สถานที่อ่นื นอกจากสถานบาบัดรักษา
เมื่อบุคคลนั้น ไม่มีภาวะอันตราย
คณะกรรมการสถานบาบัดรักษา
๑. จิ ตแพทย์ประจาสถานบาบัดรักษา ประธานกรรมการ
๒. แพทย์ ๑ คน
กรรมการ
๓. พยาบาลจิ ตเวช ๑ คน
กรรมการ
๔. นักกฎหมาย ๑ คน
กรรมการ
๕. นักจิ ตวิทยาคลินกิ หรือ
นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ๑ คน กรรมการ
มาตรา ๓๐
คณะกรรมการบาบัดรักษากาหนดวิธกี ารและระยะเวลาการ
บาบัดรักษาตามความรุนแรงของความผิดปกติทางจิต แต่ต้องไม่
เกิน ๙๐ วันนับแต่วันที่มีคาสั่ง ขยายระยะเวลาได้ อกี ครั้งละไม่
เกิน ๙๐ วัน นับตั้งแต่วันที่มีคาสั่งครั้งแรกหรือครั้งถัดไป
ให้ คณะกรรมการสถานบาบัดรักษาพิจารณา ผลการ
บาบัดรักษาเพื่อมีคาสั่งตามาตรา ๒๙ แล้ วแต่กรณี ก่อนสิ้ น
กาหนดระยะเวลาบาบัดรักษาในแต่ละครั้งตามวรรคหนึ่งไม่
น้อยกว่าสิบห้าวัน
มาตรา ๓๑
ในระหว่างการบาบัดรักษา เมื่อแพทย์ผ้ ู
บาบัดรักษาเห็นว่า ผู้ป่วยได้ รับการบาบัดรักษาจน
ความผิดปกติทางจิ ตหายหรือทุเลาและผู้ป่วยไม่มี
ภาวะอันตรายแล้ ว ให้ แพทย์จาหน่ายผู้ป่วยดังกล่าว
ออกจากสถานพยาบาล และรายงานผลการรักษา
บาบัดรักษาและการจาหน่ายผูป้ ่ วยให้
คณะกรรมการสถานบาบัดรักษาทราบโดยไม่ช้า
ทั้งนี้ ให้ แพทย์ติดตามผลการบาบัดรักษาเป็ นระยะ
มาตรา ๓๓
ในกรณีท่ผี ้ ูป่วยหลบหนีออกนอกเขต สถานพยาบาล
ของรัฐหรือสถานบาบัดรักษา ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่
ประสานงานกับพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจและญาติ
เพื่อติดตามบุคคลนั้นกลับมาที่สถานพยาบาลของรัฐหรือ
สถานบาบัดรักษา ทั้งนี้มิให้ นับระยะเวลาที่บุคคลนั้นหลบหนี
เข้ าในกาหนดระยะเวลาตามมาตรา ๒๗ มาตรา ๒๙ หรือ
มาตรา ๓๐ แล้ วแต่กรณี
ให้ นาความในมาตรา ๔๖ มาใช้ บังคับกับการติดตาม
ผู้ป่วยที่หลบหนีตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม
มาตรา ๓๔
เพื่อประโยชน์ในการบาบัดรักษาผู้ป่วย ให้
คณะกรรมการสถานบาบัดรักษามีอานาจสั่งย้ าย
ผู้ป่วยไปรับการบาบัดรักษาในสถานบาบัดรักษา
อื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
รายชือ่ สถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ข้อ ๑ ให้ โรงพยาบาลหรือสถาบันในสังกัดกรมสุขภาพจิต
กระทรวงสาธารณสุขดังต่อไปนี้ เป็ นสถานบาบัดรักษาทาง
สุขภาพจิต
(๑๐) โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์
ข้อ ๒ ให้ โรงพยาบาลในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข ดังต่อไปนี้ เป็ นสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิต
(๓๘) โรงพยาบาลสกลนคร
โดยสรุป
เน้ นการบังคับรักษาผู้ป่วยทางจิต แม้ ผ้ ูป่วยจะ
ไม่ยินยอม
ถือเป็ นการให้ ความคุ้มครองเจ้ าพนักงานตารวจ
หรือเจ้ าหน้ าที่โรงพยาบาลที่เอาตัวผู้ป่วยไว้
รักษาในโรงพยาบาล โดยไม่ถอื ว่าเป็ นการกักขัง
หน่วงเหนี่ยวแต่อย่างใด
ผูป้ ่ วยคดี
“ผู้ป่วยคดี” หมายความว่า ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการสอบสวน
ไต่สวนมูลฟ้ อง หรือ พิจารณาในคดีอาญา ซึ่งพนักงานสอบสวน
หรือศาลสั่งให้ ได้ รับการตรวจ หรือ บาบัดรักษา รวมทั้งผู้ป่วย
ที่ศาล มีคาสั่งให้ ได้ รับการบาบัดรักษาภายหลังมีคาพิพากษา
ในคดีอาญาด้ วย
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
ผูเ้ สียหาย
ผูผูก้ ป้ ระท
่ วยา
ความผิ
คดี ด
พนักงาน
สอบสวนหรือ
ตารวจ
พนักงาน
อัยการ
ศาล
ยุติธรรม
กรมราชทัณฑ์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผูป้ ่ วยคดี
 ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา(พ.ศ.๒๔๗๗)
 ประมวลกฎหมายอาญา
 พระราชบัญญัติสุขภาพจิ ต พ.ศ.๒๕๕๑
ป.วิ อาญา มาตรา ๑๔
ในระหว่างทาการสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้ องหรือพิจารณา ถ้ ามีเหตุควร
เชื่อว่าผู้ต้องหาหรือจาเลยเป็ นผู้วิกลจริต และไม่สามารถ ต่อสู้คดีได้ ให้
พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้ วแต่กรณี สั่งให้ พนักงานแพทย์ตรวจผู้น้ัน
เสร็จแล้ วให้ เรียกพนักงานแพทย์ผ้ ูน้ันมา ให้ ถ้อยคา หรือให้ การว่าตรวจได้ ผล
ประการใด
ในกรณีท่พี นักงานสอบสวนหรือศาลเห็นว่าผู้ต้องหาหรือจาเลย เป็ นผู้
วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ให้ งดการสอบสวนไต่สวน มูลฟ้ องหรือ
พิจารณาไว้ จนกว่าผู้น้ันหายวิกลจริตหรือสามารถจะ ต่อสู้คดีได้ และให้ มี
อานาจส่งตัวผู้น้ันไปยังโรงพยาบาลโรคจิต หรือมอบให้ แก่ผ้ ูอนุบาลข้ าหลวง
ประจาจังหวัดหรือผู้อ่นื ที่เต็มใจรับ ไปดูแลรักษาก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
กรณีท่ศี าลงดการไต่สวนมูลฟ้ องหรือพิจารณาดั่งบัญญัติไว้ ใน วรรค
ก่อนศาลสั่งจาหน่ายคดีเสียชั่วคราวก็ได้
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๕
ผู้ใดกระทาความผิด ในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ
หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เพราะมีจิตบกพร่อง โรค
จิตหรือจิตฟั่นเฟื อน ผู้น้นั ไม่ต้องรับโทษสาหรับความผิด
นั้น
แต่ถ้าผู้กระทาความผิดยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง
หรือยังสามารถบังคับตนเองได้ บ้าง ผู้น้นั ต้ องรับโทษ
สาหรับความผิดนั้น แต่ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมาย
กาหนดไว้ สาหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๔๘
ถ้ าศาลเห็นว่า การปล่อยตัวผู้มีจิตบกพร่อง
โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟื อน ซึ่งไม่ต้องรับโทษหรือ
ได้ รับการลดโทษตามมาตรา 65 จะเป็ นการไม่
ปลอดภัยแก่ประชาชน ศาลจะสั่งให้ ส่งไปคุมตัว
ไว้ ในสถานพยาบาลก็ได้ และคาสั่งนี้ศาลจะสั่งเพิก
ถอนเสียเมื่อใดก็ได้
พระราชบัญญัติสขุ ภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑
หมวดที่ ๓ ส่วนที่๒ : ผู้ป่วยคดี
มาตรา ๓๕
ภายใต้ บังคับมาตรา ๑๔ วรรคหนึง่ แห่งประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา ให้ พนักงานสอบสวนหรือศาลส่งผู้ต้องหาหรือจาเลย
ไปรับการตรวจที่สถานบาบัดรักษาพร้ อมทั้งรายละเอียดพฤติการณ์แห่งคดี
เมื่อสถานบาบัดรักษารับผู้ต้องหาหรือจาเลยไว้ แล้ ว ให้ จิตแพทย์ตรวจ
วินิจฉัยความผิดปกติทางจิตและทาความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของ
พนักงานสอบสวนหรือศาลว่าผู้ต้องหาหรือจาเลย สามารถต่อสู้คดีได้ หรือไม่
แล้ วรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินความสามารถในการต่อสู้คดีให้
พนักงานสอบสวนหรือศาลทราบภายในสี่สบิ ห้ าวันนับแต่วันที่ได้ รับผู้ต้องหา
หรือจาเลยไว้ และอาจขยายระยะเวลาได้ อกี ไม่เกินสี่สบิ ห้ าวัน
มาตรา ๓๖
ภายใต้ บังคับมาตรา ๑๔ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณา
ความอาญาให้ สถานบาบัดรักษารับผู้ต้องหาหรือจาเลยไว้ ควบคุมและ
บาบัดรักษาโดยไม่ต้องได้ รับความยินยอมจากผู้ต้องหาหรือจาเลย จนกว่า
ผู้ต้องหาหรือจา เลยจะหายหรือทุเลาและสามารถต่อสู้คดีได้ เว้ นแต่พนักงาน
สอบสวนหรือศาลจะมีคาสั่งหรือมีกฎหมายบัญญัติไว้ เป็ นอย่างอื่น
ให้ จิตแพทย์ผ้ ูบาบัดรักษาทารายงานผลการบาบัดรักษาส่งให้ พนักงาน
สอบสวนหรือศาล ภายในหนึ่งร้ อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่ได้ รับผู้ต้องหาหรือ
จาเลยไว้ ในกรณีท่จี ิตแพทย์เห็นว่าผู้ต้องหา หรือจาเลยยังไม่สามารถต่อสู้คดี
ได้ ให้ รายงานผลการบาบัดรักษาทุกหนึ่งร้ อยแปดสิบวันเว้ นแต่ พนักงาน
สอบสวนหรือศาลจะมีคาสั่งเป็ นอย่างอื่น
มาตรา ๓๖(ต่อ)
ในระหว่างการบาบัดรักษา เมื่อจิตแพทย์ผ้ ู
บาบัดรักษาเห็นว่าผู้ต้องหาหรือจาเลยได้ รับการ
บาบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลา และ
สามารถต่อสู้คดีได้ แล้ วให้ รายงานผลการบาบัดรักษาต่อ
พนักงานสอบสวนหรือศาลทราบโดยไม่ชักช้ า
มาตรา ๓๗
ในกรณีท่ศี าลมีคาสั่งให้ ส่งผู้ป่วยคดีไปคุมตัวหรือรักษาไว้ ในสถานพยาบาล
ตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรือตาม
มาตรา ๒๔๖ (๑) แห่งประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา ให้ ศาลส่งสาเนา
คาสั่งไปพร้ อมกับผู้ป่วยคดี และให้ สถานบาบัดรักษารับผู้ป่วยคดีไว้ ควบคุมและ
บาบัดรักษาโดยไม่ตอ้ งได้รบั ความยินยอมจากผูป้ ่ วยคดี
ให้ จิตแพทย์ผ้ ูบาบัดรักษารายงานผลการบาบัดรักษาและความเห็นต่อศาล
ภายในหนึ่งร้ อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่ได้ รับผู้ป่วยคดีไว้ ในกรณีท่จี ิตแพทย์เห็นว่ามี
ความจาเป็ นต้ องบาบัดรักษาผู้ป่วยคดีต่อไป ให้ รายงานผลการบาบัดรักษาและ
ความเห็นต่อศาลทุกหนึ่งร้ อยแปดสิบวัน เว้ นแต่ศาลจะมีคาสั่งเป็ นอย่างอื่นในการ
ควบคุมและบาบัดรักษา สถานบาบัดรักษาอาจขอให้ ศาลกาหนดวิธกี ารเพื่อป้ องกัน
การหลบหนีหรือเพื่อป้ องกันอันตรายก็ได้
การฟื้ นฟู สมรรถภาพ
มาตรา ๔๐
ในกรณีท่คี ณะกรรมการสถานบาบัดรักษามีคาสั่งตามมาตรา ๒๙ (๒)
ให้ หัวหน้ าสถานบาบัดรักษามีหน้ าที่ ดังนี้
(๑) แจ้ งให้ ผ้ ูรับดูแลผู้ป่วยรับตัวผู้ป่วยไปดูแล
(๒) ในกรณีท่ไี ม่มีผ้ ูรับดูแลให้ แจ้ งหน่วยงานด้ านสงเคราะห์และ
สวัสดิการทั้งภาครัฐและเอกชนตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
(๓) แจ้ งให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ติดตามดูแล ประสานงานและช่วยเหลือ
ในการดาเนินการฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยตาม (๑) และหน่วยงานตาม
(๒) แล้ วรายงานให้ คณะกรรมการสถานบาบัดรักษาทราบ
มาตรา ๔๑
เมื่อผู้ถูกคุมขังซึ่งได้ รับการบาบัดรักษาในระหว่าง
ถูกคุมขัง ถึงกาหนดปล่อยตัวให้ หัวหน้ าสถานที่คุมขัง
มีหน้ าที่ดาเนินการตามมาตรา ๔๐
การอุทธรณ์
มาตรา ๔๒
ในกรณีท่คี ณะกรรมการสถานบาบัดรักษา มีคาสั่งตามมาตรา ๒๙ (๑) หรือ (๒)
หรือมีคาสั่งให้ ขยายระยะเวลาการบาบัดรักษาตามมาตรา ๓๐ ให้ ผ้ ูป่วยหรือคู่สมรส ผู้
บุพการี ผู้สบื สันดาน ผู้ปกครองผู้พิทกั ษ์ ผู้อนุบาล หรือผู้ซ่ึงปกครองดูแลผู้ป่วย แล้ วแต่
กรณี มีสทิ ธิอุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
ได้ รับหนังสือแจ้ งคาสั่งดังกล่าว
การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งไม่เป็ นเหตุทุเลาการบังคับตามคาสั่งเว้ นแต่
คณะกรรมการอุทธรณ์ จะเห็นสมควรให้ มีการทุเลาการบังคับตามคาสั่งนั้นไว้ ช่ัวคราวให้
คณะกรรมการอุทธรณ์พิจารณาอุทธรณ์ให้ แล้ วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้ รับ
อุทธรณ์ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ให้ เป็ นที่สดุ
หลักเกณฑ์และวิธกี ารในการยื่นอุทธรณ์ และวิธพี ิจารณาอุทธรณ์ให้ เป็ นไปตาม
ระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๖
ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มอี านาจ
ดังต่อไปนี้
(๑) เข้ าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ ในระหว่างพระอาทิตย์ขึ้น
และตกเพื่อนาบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อนั น่าเชื่อว่ามีลักษณะตามมาตรา
๒๒ ไปรับการบาบัดรักษาในสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถาน
บาบัดรักษาเมื่อมีเหตุอนั ควรสงสัยตามสมควรว่าบุคคลดังกล่าวอยู่ใน
เคหสถานหรือสถานที่น้ัน ประกอบกับมีเหตุอนั ควรเชื่อว่าเนื่องจาก
การเนิ่นช้ ากว่าจะเอาหมายค้ นมาได้ บุคคลนั้นจะหลบหนีไป หรือกรณี
มีเหตุฉุกเฉินเนื่องจากบุคคลนั้นมีภาวะอันตรายและเป็ นอันตรายที่
ใกล้ จะถึง