วิธีการชำระเงิน3

Download Report

Transcript วิธีการชำระเงิน3

วิธก
ี ารชาระเงินดานการค
าต
้
้ างประเทศ
่
ประสิ ทธิ ์ โชติวศ
ิ าล
ศูนยธุ์ รกิจตางประเทศล
าพูน
่
ธุรกรรมการคาและเงิ
นโอน
้
ตางประเทศ
่
ธนาคารไทยพาณิชย ์ จากัด
(มหาชน)
เนื้อเรื่ อง
1. About SCB , Flow chart กลุ่มงาน
2. Refresh Int’l trade payment
3. Flow chart each Int’l trade payment
4. Advantage/Risk Int’l trade payment
5. Question & Answer
6. SCB Trade Finance & Trade Services
7. Others Bank Service
8. Fx Forward Products
9. Case Study , Question & Answer
SCB Group
• บลจ.กองทุนไทยพาณิ ชย์ : นาเสนอทางเลือกในการลงทุนผ่าน
กองทุนรวม , กองทุนสารองเลี้ยงชีพ , กองทุนส่ วนบุคคล
• หลักทรัพย์ไทยพาณิ ชย์ : ให้บริ การด้านหลักทรัพย์
• ไทยพาณิ ชย์สามัคคีประกันภัย : ให้บริ การประกันภัยที่หลากหลาย
• ไทยพาณิ ชย์ประกันชีวิต : ให้บริ การประกันชีวิต
• SCB ไทยพาณิ ชย์ : ให้บริ การทางการเงินอย่างครบวงจร
3
SCB
• เป็ นธนาคารไทยแห่งแรก
• ครบรอบ 106 ปี (30 ม.ค.56)
• ปี 55 มีกาไร 40,200 ล้านบาท
• มีพนักงานมากกว่า 22,000 คน
• มีสาขา 1,145 สาขา
• มีตู ้ ATM มากกว่า 1,145 เครื่ อง
• กลุ่มงานกฏหมาย
• กลุ่มการเงิน
• กลุ่มทรัพยากรบุคคล
• กลุ่มเทคโนโลยีและสารสนเทศ
• กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่
• กลุ่มธุรกิจพิเศษ
• กลุ่มบริ หารความเสี่ ยง
• กลุ่มตรวจสอบและกากับ
• กลุ่มปฏิบตั ิการธุรกิจ
• กลุ่มลูกค้าธุรกิจ
Wholesale Banking Group : สายปฏิบตั ิการธุรกิจ
ธุรกรรมการคาและเงิ
นโอนตางประเทศ
้
่
Front
ศูนย์ ธุรกิจต่ างประเทศ 46 แห่ ง
• เงินโอน
• กรุ งเทพและปริมณฑล 32 แห่ ง
• สิ นค้ าเข้ า
• ภาคตะวันออก และภาคตะวันออก
Back
• สิ นค้ าออก
• เช็คเรียกเก็บต่ างประเทศและติดตาม
เฉียงเหนือ 9 แห่ ง
• สวิฟท์ /พัฒนา และควบคุม
• ภาคใต้ 3 แห่ ง
• บริหารข้ อมูลและสนับสนุน
• ภาคเหนือ 2 แห่ ง เชียงใหม่ , ลาพูน
• ควบคุมพัฒนาระบบงาน
ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ ภาคเหนือ 2 แห่ง
• เชียงใหม่
• ลาพูน
มีลก
ู คามากกว
า่ 140 ราย, มีปริมาณธุรกิจ
้
173 M.USD, รายได้ 12.1 MB.
มีลก
ู คามากกว
า่ 50 ราย, มีปริมาณธุรกิจ
้
246 M.USD, รายได้ 13.2 MB.
• รายได้ ด้านการค้ าต่ างประเทศ
- ค่ าธรรมเนียม , ดอกเบีย้ , กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ น
กลุ่มลูกค้าที่ให้บริ การ
Importer
Exporter
ศูนย์ ธุรกิจต่ างประเทศ 46 แห่ ง
•
Retails
Trade Structuring and
Solution (TSS) , WBG ,CBG ,
• กรุ งเทพและปริมณฑล 32 แห่ ง
MBG , SBG
• ภาคตะวันออก และภาคตะวันออก
• สิ นเชื่อ
เฉียงเหนือ 9 แห่ ง
• ภาคใต้ 3 แห่ ง
• ภาคเหนือ 2 แห่ ง เชียงใหม่ , ลาพูน
• สาขา
-------------------------------• ลูกค้ าทีส่ นใจ
การตกลงซือ
้ ขายสิ นคาระหว
างประเทศ
้
่
 สิ นค้า (Goods)
 การขนส่ง และการส่งมอบ (Shipping and Delivery
Details)
 วิธก
ี ารชาระเงิน
(Terms of Payment)
 เอกสาร (Required Documentation)
 การประกันภัยสิ นค้า (Insurance Cover)
 เงือ
่ นไขขอตกลงในการซื
อ
้ ขายและส่งมอบสิ นคาระหว
าง
้
้
่
ประเทศ (Incoterms) ส่วนมากเป็ นราคา FOB, CNF และ
CIF
9
วิธีการชาระเงินด้านการค้าต่างประเทศ
Remittance (T/T)
1. Advance Payment
2. Open Account
3. Documentary Collection
4. Documentary Letter of Credit
วิธีที่ 1. Advance Payment : ชาระเงินล่วงหน้า
•
ผูซ้ ้ือชาระเงินค่าสิ นค้าให้กบั ผูข้ ายล่วงหน้า เมื่อผูข้ ายได้รับเงินแล้ว จึง
จัดส่ งสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ้ือ
•
ส่ วนใหญ่จะเป็ นการซื้อขายสิ นค้าตัวอย่าง, สิ นค้าผูกขาดในตลาด หรื อ
ชาระเงินบางส่ วนของสิ นค้า ตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้ เช่น เครื่ องจักร
ข้อสังเกตุ : ผูซ้ ้ือมีความเสี่ ยง เพราะจ่ายเงินก่อนที่จะมีการส่ งสิ นค้า
Advantage/Risk
 Exporter
 Importer
 ได้รับเงินก่อน
• ชาระเงินก่อน
 ส่ งสิ นค้าภายหลัง
• อาจจะไม่ได้รับสิ นค้า
 ขยายตลาดได้เร็ วไม่ตอ้ งใช้
เงินทุนมาก
• สิ นค้าอาจไม่ตรงตามที่ตกลง
กันไว้
 ค่าใช้จ่ายต่า
• สิ นค้าอาจมาล่าช้า
3
PURCHASER
PAYER
Goods
1 Contact
SELLER
PAYEE
ADVANCE PAYMENT
CYCLE
2
$
- Demand draft
- Telex / Swift
13
วิธีที่ 2. Open Account : บัญชีเงินเชื่อ
• ผูข้ ายเชื่อใจหรื อติดต่อค้าขายกับผูซ้ ้ือมานาน
• ผูข้ ายส่ งสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ้ื อก่อน เมื่อผูซ้ ้ือได้รับสิ นค้า จึงจ่ายชาระ
เงินค่าสิ นค้าตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ เช่น 30, 60, 90 วัน
• ส่ วนใหญ่ใช้กบั การซื้อขายระหว่างบริ ษทั แม่ กับบริ ษทั ลูก
Advantage/Risk
 Exporter
 Importer
• ส่ งสิ นค้าให้ก่อน
 ได้รับสิ นค้าก่อน
• อาจจะไม่ได้รับชาระเงิน
 จ่ายเงินหลังรับสิ นค้า หรื อ
ระยะเวลาที่ตกลงกัน
• อาจจะถูกต่อรองราคา
• อาจจะได้รับเงินไม่ตรงเวลา
• ขยายตลาดค่อนข้างยากเพราะ
ต้นทุนสูง
 ถ้าสิ นค้าไม่เป็ นไปตามที่ตก
ลงกันก็ยงั สามารถต่อรอง
ราคาได้
2
PURCHASER
PAYER
3
$
Goods
1 Contact
OPEN ACCOUNT
CYCLE
4
TRANSMITTING
BANK
SELLER
PAYEE
$
6
5
RECEIVING
BANK
16
วิธีที่ 3. Documentary Collection : เอกสารเพื่อเรี ยกเก็บ
•
ผูข้ ายใช้ธนาคารเป็ นตัวกลางในการเรี ยกเก็บเงินค่าสิ นค้าจากผูซ้ ้ื อ
•
คือ ตราสารทางการเงิน และเอกสารทางการค้าที่ธนาคารของผูข้ าย (Remitting
Bank) ส่ งไปให้ธนาคารในประเทศของผูซ
้ ้ื อ (Collecting Bank) เพื่อให้ผซู้ ้ื อทา
การรับรองตัว๋ แลกเงิน หรื อ ชาระเงินตามคาสั่ง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ข้อกาหนดและ
เงื่อนไขของตัว๋ แลกเงินที่ส่งมาให้ เมื่อธนาคารในประเทศผูซ้ ้ื อเรี ยกเก็บเงินได้ จะ
โอนเงินที่เรี ยกเก็บได้ไปให้ธนาคารของผูข้ าย
ข้อสังเกตุ : ธนาคารไม่มีขอ้ ผูกพันใดๆ
Documentary Collection
แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1.Document Against Payment : (D/P)
- D/P Sight : ผูซ
้ ้ื อต้องชาระเงินก่อน ธนาคารของผูซ้ ้ื อจึงจะมอบเอกสารให้
- D/P Time (D/P Term) : ผูซ
้ ้ื อรับรองตัว๋ แลกเงิน และชาระเงินอย่างช้า
ที่สุดภายในวันครบกาหนด จึงจะรับเอกสารไปออกสิ นค้าได้
2. Document Against Acceptance : (D/A)
- ผูข้ ายให้เครดิตกับผูซ้ ้ื อ เช่น 90 days after shipment date
- เมื่อผูซ
้ ้ื อรับรองตัว๋ แลกเงิน สามารถรับเอกสารจากธนาคารไปออกของได้
- เมื่อตัว๋ ครบกาหนดผูซ้ ้ื อถึงจะชาระเงินค่าสิ นค้า
Advantage/Risk
 Exporter
 Importer
อาจจะไม่ได้รับเงินเนื่องจากผูซ้ ้ื อไม่มารับ  ได้รับสิ นค้าก่อน
เอกสารหรื อมา accept ตัว๋
 จ่ายเงินหลังรับสิ นค้า หรื อระยะเวลาที่ตก
 ค่าใช้จ่ายถูกกว่า L/C
ลงกัน
•
 มัน่ ใจมากกว่าวิธีการ open account
 ได้รับชาระเงินแน่นอนเมื่อธนาคารปล่อย
เอกสารให้ผซู้ ้ือ (D/P)
•
ติดต่อธนาคารเพื่อขอรับเงินก่อน(กรณี มี
วงเงินสิ นเชื่อ)
 ถ้าสิ นค้าไม่เป็ นไปตามที่ตกลงกันก็ยงั
สามารถต่อรองราคาได้
URC 522
• ย่อมาจากคาว่า Uniform Rules for Collection
(Publication 522)
• ระเบียบประเพณี และวิธีปฏิบตั ิ สาหรับตัว๋ เงินเพื่อเรี ยกเก็บ
ฉบับที่ 522 ของสภาหอการค้านานาชาติ (International
Chamber of Commerce : ICC)
2
1 Contact
COLLECTION
CYCLE
BUYER
6
5
Goods
8
3
Documents
Documents
Documents
4
COLLECTING
BANK
SELLER
7
REMITTTNG
BANK 21
วิธีที่ 4. Documentary Letter of Credit
: เลตเตอร์ออฟเครดิตที่มีเอกสารประกอบ
•
Letter of Credit : L/C หรื อ เครดิต คือ ตราสารทางการเงินหรื อหนังสื อรับรอง
เครดิตที่ออกโดยธนาคารพาณิ ชย์ (Issuing Bank/ Openning Bank) ตามคาสั่ง
ของผูซ้ ้ื อ (Buyer) ที่อยูใ่ นประเทศหนึ่ง ออกให้แก่ผขู ้ ายหรื อผูร้ ับผลประโยชน์ที่
อยูใ่ นอีกประเทศหนึ่ง โดยส่ งผ่านธนาคารผูร้ ับแจ้งการเปิ ดเครดิต (Advising
Bank) ในประเทศของผูข้ าย (Seller)หรื อผูร้ ับผลประโยชน์ (Beneficiary)
•
เพื่อรับรองว่าเมื่อผูข้ ายปฎิบตั ิได้ตามเงื่อนไขต่างๆที่กาหนดไว้ในเครดิตทุกประการ
แล้วธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตจะชาระเงินให้แก่ผรู ้ ับผลประโยชน์โดยไม่มีเงื่อนไข
ข้อสังเกตุ : ธนาคารมีภาระผูกพันกับเครดิตที่เปิ ดออกไป
ทาไมต้องใช้ L/C
• ผูซ้ ้ื อและผูข้ ายไม่รู้จกั กันดีพอ เพิ่งติดต่อซื้ อขายกัน
• ผูซ้ ้ื อและผูข้ ายไม่เชื่อใจซึ่ งกันและกัน
• ผูข้ ายมีความมัน่ ใจว่าจะได้รับเงินแน่นอนเพราะมีธนาคารค้ าประกัน
การชาระเงิน เมื่อปฏิบตั ิได้ตามเงื่อนไขใน L/C
• ผูซ้ ้ื อมัน่ ใจว่าจะได้รับสิ นค้าตรงตามกาหนดและราคาที่ตกลงกันไว้
เพราะผูข้ ายต้องผลิตสิ นค้าและส่ งออกไปก่อน จึงจะส่ งเอกสารไป
เรี ยกเก็บเงินได้
Advantage/Risk
 Exporter
 Importer
 มัน่ ใจว่าจะได้รับเงินแน่นอนถ้าปฏิบตั ิได้
ตามเงื่อนไข L/C
 มัน่ ใจว่าจะได้รับสิ นค้าตรงตามกาหนด
และตามราคาที่ได้ตกลงกันไว้
 ขอสิ นเชื่อกับธนาคารประเภท Packing
Credit(P/C) หรื อ ใช้บริ การขายลดตัว๋
สิ นค้าออก
 ขอสิ นเชื่อจากธนาคารในรู ปสิ นเชื่อ
ต่อเนื่อง เช่น Trust Receipt(T/R) คือ
การรับสิ นค้าไปจาหน่ายก่อนและชาระเงิน
กับธนาคารเมื่อครบกาหนด
• เงื่อนไขใน L/C ต้องเป็ นเงื่อนไขที่ตกลงกัน
ไว้และสามารถปฏิบตั ิได้ เพราะถ้าทา
• รับสิ นค้าไปแล้วสิ นค้าไม่ได้มาตรฐาน แต่
เอกสารผิดเงื่อนไข จะทาให้เกิดค่าใช้จ่าย
เอกสารถูกต้อง จาเป็ นต้องจ่ายเงิน
เพิ่ม หรื อ อาจถูกปฏิเสธการจ่ายเงินได้
5
Goods
APPLICANT
Contact
BENEFICIARY
LETTER OF CREDIT
6
CYCLE
Documents
2
8
1
Request L/C
Documents
Advise L/C
9
Issued L/C
3
Documents
ISSUING
BANK
4
10
7
11
ADVISING/
NEGOTIATIING
BANK 25
THE UNIFORM CUSTOMS AND PRACTICE
FOR
DOCUMENTARY CREDITS, 2007 REVISION,
ICC PUBLICATION NO.600
ี ม
ประเพณีและวิธป
ี ฏิบ ัติสาหร ับแอลซท
ี่ เี อกสารประกอบ
ฉบ ับปร ับปรุง ค. ศ . 2007
ซงึ่ เป็นสงิ่ พิมพ์ของหอการค้านานาชาติ เลขที่ 600
UCP600 เป็นกฎเกณฑ์ (Rules)
้ ังค ับก ับเครดิตทีม
ใชบ
่ เี อกสารประกอบ
ั
้ ฎ UCP600
หากเครดิตระบุไว้อย่างชดเจนว่
าจะใชก
กฎเกณฑ์นผ
ี้ ก
ู พ ันทุกฝ่ายทีเ่ กีย
่ วข้อง
ั
เว้นแต่จะมีการเปลีย
่ นแปลงหรือยกเว้นไว้อย่างชดเจนในเครดิ
ต
ทงหมด
ั้
39 มาตรา
INTERNATIONAL STANDARD BANKING PRACTICE
(ISBP)
FOR THE EXAMINATION OF DOCUMENTS
UNDER DOCUMENTARY CREDITS
วิธป
ี ฏิบต
ั ข
ิ องธนาคาร สาหรับการตรวจเอกสาร L/C
ตามมาตรฐานสากล ภาคขยาย UCP 600
“Figures show that 60%-70% of credits are
rejected for discrepancies on first
presentation.
The new ISBP by encouraging a uniformity of
practice worldwide, is expected to cut these
figures dramatically and, by doing so,
to facilitate the flow of world trade”
Methods of Payment
Risk Scale
Exporter
Lowest Risk
Advance
Payment
Letter
of Credit
Highest Risk
Open
Documentary
Account
Collection
Importer
Highest Risk
Lowest Risk
Question
29
Trade
Finance
Services
SCB
Trade Services
1.Import Service
2.Export Service
3.Others Service
Import Service
1.Letter of Credit Issuance : บริ การเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิต
2.Inward Bills for Collection : บริ การชาระเงินค่าสิ นค้าขาเข้าตามตัว๋ เงินเรี ยกเก็บ
3.Outward Remittance : บริ การเงินโอนต่างประเทศขาออก
4.Shipping Guarantee : บริ การออกหนังสื อค้ าประกันเพื่อออกสิ นค้า
5.Trust Receipt Financing : บริ การสิ นเชื่อทรัสต์รีซีทเพื่อการนาเข้า
1.Letter of Credit Issuance : บริ การเปิ ดเลตเตอร์ออฟเครดิต
• ออก L/C ที่เชื่อถือได้ สะดวก ทันใจ ส่ งได้ทวั่ โลก
• ธนาคารจะเปิ ด L/C ตามคาขอของผูซ้ ้ื อ ภายใต้วงเงินสิ นเชื่อ L/C ที่ผซู ้ ้ื อตกลง
จะชาระเงินค่าสิ นค้าให้กบั ผูข้ ายด้วยวิธีดว้ ยวิธีการชาระเงินแบบ L/C ซึ่ ง
ธนาคารจะระบุรายละเอียด ข้อกาหนดและเงื่อนไขต่างๆ รวมทั้งเอกสารทางการ
ค้าตามที่คู่คา้ ได้ตกลงกันไว้ลงใน L/C และส่ งมอบให้กบั ผูข้ ายผ่านธนาคาร
ผูร้ ับแจ้ง L/C
• ธนาคารให้บริ การแก้ไข L/C(L/C Amendment) ที่ SCB เป็ นผูอ้ อกให้
ทั้งนี้ ผูซ้ ้ื อและผูข้ ายต้องมีขอ้ ตกลงในการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนดและเงื่อนไขใน
L/C ร่ วมกัน
2.Inward Bills for Collection : บริ การชาระเงินค่าสิ นค้าขาเข้าตามตัว๋ เงินเรี ยกเก็บ
• บริ การและรับเอกสารทางการค้า ด้วยวิธีง่ายๆ และรวดเร็ ว
• บริ การสาหรับผูซ้ ้ือ ในการชาระเงินค่าสิ นค้าตามตัว๋ เงินเรี ยกเก็บ (B/C) ที่ผขู ้ ายในต่างประเทศ
รวบรวมเอกสารทางการค้าจัดส่ งให้กบั ผูซ้ ้ือผ่านทางธนาคาร เพื่อให้ผซู ้ ้ือดาเนินการตามเงื่อนไข
ก่อนรับมอบเอกสาร
• ธนาคารจะแจ้งให้ผซู้ ้ือทราบเมื่อได้รับตัว๋ เรี ยกเก็บเงิน พร้อมแจ้งเงื่อนไขการรับเอกสาร โดยทัว่ ไป
เงื่อนไขแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
• ชาระเงินเพื่อขอรับเอกสาร (Document Against Payment : D/P)
D/P - Sight , D/P Time
• รับรองตัว๋ แลกเงินเพื่อขอรับเอกสาร (Document Against Acceptance : D/A)
3.Outward Remittance : บริ การเงินโอนต่างประเทศขาออก
• ธนาคารให้บริ การโอนเงินผ่านระบบ SWIFT ไปยังธนาคารด้าน
ผูข้ ายหรื อผูส้ ่ งออกในต่างประเทศ เพื่อชาระค่าสิ นค้าและบริ การ
ตามคาสัง่ ของผูซ้ ้ื อ หรื อผูน้ าเข้า
• สามารถโอนเงินได้ครั้งละหลายรายการในการส่ งคาสั่งครั้งเดียว
(Bulk Payment)
• บริ การแจ้งรายละเอียดการโอนเงินผ่านทาง e-mail โดยอัตโนมัติ
เมื่อธนาคารโอนเงินตามคาขอเรี บยร้อยแล้ว
4.Shipping Guarantee : บริ การออกหนังสื อค้ าประกันเพื่อออกสิ นค้า
•
รับสิ นค้าไดทั
่ ธุรกิจทีเ่ หนือกวา่
้ นที เพือ
•
ธนาคารให้บริการลงนามรับประกัน ในการทา S/G ทีผ
่ ้ซื
ู อ
้ หรือผู้
นาเขารั
ั ขนส่งสิ นคาหรื
อบริษท
ั เรือ เพือ
่ ขอให้ส่งมอบ
้ บมาจากบริษท
้
สิ นค้ากับผู้ซือ
้ หรือผู้นาเขาที
่ องการรั
บสิ นคา้ กรณีทส
ี่ ิ นค้ามาถึง
้ ต
้
กอนที
ต
่ นฉบั
บใบตราส่งสิ นค้าทางทะเล (Bill of Lading: B/L) จะ
่
้
มาถึง ภายใตการน
าเขาสิ
ธก
ี ารชาระเงินแบบ L/C
้
้ นคา้ ดวยวิ
้
หรือ B/C
•
เมือ
่ เอกสารทางการคาต
รวมถึง B/L ส่งมาถึงธนาคาร
้ างๆ
่
เรียบร้อยแลว
้ นา B/L
้ ธนาคารจะส่งมอบเอกสารดังกลาวให
่
้ผู้ซือ
ไปแลก S/G คืนธนาคาร
5.Trust Receipt Financing : บริ การสิ นเชื่อทรัสต์รีซีทเพื่อการนาเข้า
• ธุรกิจคลองตั
ว ดวยการรั
บสิ นคาก
่
้
้ อน
่ และชาระเงินภายหลัง
• ธนาคารให้บริการสิ นเชือ
่ ระยะสั้ นทรัสตรี์ ซท
ี (Trust Receipt:T/R) ไม่
เกิน 180 วัน แกผู
้ หรือผู้นาเขา้ โดยธนาคารจะชาระคาสิ
่ ้ซือ
่ นคา้
ไปกอน
และให้ผู้ซือ
้ หรือผู้นาเขาจ
นคืนธนาคารในภายหลังตาม
่
้ ายเงิ
่
ระยะเวลาทีก
่ าหนด
• สามารถเลือกสกุลเงินในการขอสิ นเชือ
่ T/R ไดทั
้ ง้ สกุลเงิน
ตางประเทศตามข
อตกลงการซื
อ
้ ขาย หรือสกุลเงินบาท
่
้
บริ การสิ นเชื่อทรัสต์รีซีทเพื่อการนาเข้า (T/R) (ต่อ)
• สิ นเชือ
่ T/R ครอบคลุมวิธก
ี ารชาระเงินตามขอตกลง
ระหวางผู
้
้
่
้ซือ
กับผู้ขาย เช่น
 Letter of Credit : T/R against L/C
 Domestic Letter of Credit : T/R against DL/C
 Bill for Collection : T/R against B/C
 International Funds Transfer : T/R against T/T
 Domestic Funds Transfer : T/R Local Purchase
บริ การสิ นเชื่อทรัสต์รีซีทเพื่อการนาเข้า (T/R) (ต่อ)
• สิ นเชือ
่ T/R ลูกค้าสามารถเลือกจอง rate ได้ 2
กรณี
 T/R Fixed Rate : ลูกค้าขอกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน คงที่ในวันที่
ทา T/R โดยธนาคารจะใช้ T/T Selling Rate ในวันที่ลกู ค้าขอทา
T/R
 T/R Non-Fixed Rate : ลูกค้าไม่ตอ้ งการกาหนด อัตราเปลี่ยนใน
วันที่ขอทา T/R โดยจะใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ T/R ครบกาหนด
หมายเหตุ : - ลูกค้าอาจมีบญั ชี FCD
- จองอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (FWS)
Export Service (1)
1.L/C Advising : บริ การแจ้งเลตเตอร์ออฟเครดิต
2.L/C Confirmation : บริ การยืนยันการชาระเงินตามเลตเตอร์ออฟเครดิต
3.L/C Transfer : บริ การโอนเลตเตอร์ออฟเครดิต
4.Outward Bills under L/C : บริ การเรี ยกเก็บเงินภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต
5.Outward Bills for Collection : บริ การเรี ยกเก็บเงินตามเอกสาร
6.Open Account Collection : บริ การเรี ยกเก็บเงินสาหรับ Open Account
Export Service (2)
7.Assignment of Proceeds : บริ การโอนสิ ทธิ์การรับเงิน
8.Inward Remittance : บริ การเงินโอนต่างประเทศขาเข้า
9.Export Document Preparation : บริ การจัดเตรี ยมเอกสารส่ งออก
10.Packing Credit : บริ การสิ นเชื่อเพื่อการส่ งออก
11.Outward Bills Purchase/Discount : บริ การรับซื้ อ/ซื้ อลดเอกสารภายใต้
L/C และตัว๋ เรี ยกเก็บ
1.L/C Advising : บริ การแจ้งเลตเตอร์ออฟเครดิต
• ทราบการเปิ ดเครดิตทันที มัน่ ใจ L/C ถูกต้อง แท้จริ ง
• ธนาคารให้บริ การแจ้งการเปิ ด L/C หรื อบริ การแจ้งแก้ไข L/C กับผูข้ าย เมื่อผูซ้ ้ื อ
และผูข้ ายตกลงกันว่า จะชาระค่าสิ นค้าด้วยวิธี L/C
• ผูข้ ายจะต้องแจ้งผูซ้ ้ือให้ระบุชื่อธนาคารรับแจ้ง L/C(Advising Bank) เป็ น Siam
Commercial Bank PCL (SWIFT code : SICOTHBK)
• เมื่อธนาคารได้รับ L/C แล้วธนาคารจะทาหน้าที่ตรวจสอบและรับรองความแท้จริ ง
ของ L/C เพื่อแจ้งให้ผขู้ ายทราบและรับ L/C เพื่อดาเนินการส่ งสิ นค้าต่อไป
• รับ L/C ได้ที่ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศของธนาคารครอบคลุมทัว่ ประเทศ
2.L/C Comfirmation : บริ การยืนยันการชาระเงินตามเลตเตอร์ออฟเครดิต
•
ธนาคารให้บริการยืนยันชาระเงินตาม L/C กับผูขายที
ไ่ มมั
่ ใจวาจะได
รั
้
่ น
่
้ บ
ชาระเงินคาสิ
่ มัน
่ ในความน่าเชือ
่ ถือของธนาคารผูเปิ
่ นคา้ เพราะไมเชื
่ อ
้ ด
L/C หรือประเทศของธนาคารผูเปิ
้ ด L/C
•
ผูขายจะต
องแจ
งผู
้ ให้เปิ ด L/C โดยแตงตั
้
้
้ ซื
้ อ
่ ง้ ให้ SCB เป็ นธนาคารรับแจง้
L/C (Advising Bank) ธนาคารผูยื
้ นยัน L/C (Confirming Bank) รวมถึง
เป็ นธนาคารผูรั
เงือ
่ นไขการชาระ
้ บเอกสาร (Negotiating Bank) และตองมี
้
เงินแบบ Reimbursement
•
เมือ
่ ผูขายยื
น
่ เอกสารเรียกเก็บเงินทีถ
่ ก
ู ตองตามเงื
อ
่ นไข L/C แลว
้
้
้ SCB จะ
ชาระเงินแทนให้กรณีทธ
ี่ นาคารผูเปิ
าระเงินได้ หรือ
้ ด L/C ไมสามารถช
่
กรณีทป
ี่ ระเทศของธนาคารผูเปิ
้ ด L/C มีขอบั
้ งคับห้ามชาระเงิน
•
ธนาคารทีเ่ ป็ น Confirming Bank ถือเสมือนวาเป็
่ น Issuing Bank
3.L/C Transfer : บริ การโอนเลตเตอร์ออฟเครดิต
• เพิม
่ สภาพคลอง
สะดวก และยืดหยุนในการช
าระเงิน
่
่
• บริการโอนสิ ทธิตาม
์
L/C ของผู้ขายให้แกผู
่ ้รับประโยชนที
์ ่ 2, 3, ....
อาจโอนสิ ทธิทั
์ ง้ จานวนหรือบางส่วนก็ได้ อีกทัง้ โอนสิ ทธิใ์ ห้ผู้รับ
ผลประโยชนกี
เกิ
์ ร่ ายก็ได้ ทัง้ นี้จะตองไม
้
่ นจานวนเงินตาม L/C
ตนฉบั
บ
้
• เมือ
่ ผู้ผลิต(ผู้รับโอนสิ ทธิ)ส
์ ่ งออกสิ นคาตาม
transfer L/C จะส่ง
้
เอกสารมาที่ SCB เพือ
่ ประกบกับเอกสารของผู้ขาย แลวให
้
้ SCB
เรียกชาระเงินจากธนาคารของผู้ซือ
้ และเมือ
่ ไดรั
้ บเงิน SCB จะทา
หน้าทีก
่ ระจายเงินตามสั ดส่วนของการโอนสิ ทธินั
์ ้นๆ
• ทัง้ นี้ จะตองเป็
น L/C ที่ Advise ผาน
SCB และกาหนดให้
้
่
SCB เป็ น Transferring Bank
4.Outward Bills under L/C : บริ การเรี ยกเก็บเงินภายใต้เลตเตอร์ออฟเครดิต
• มัน่ ใจตรวจ L/C ถูกต้อง รับเงินได้ไม่ผดิ พลาด
• ธนาคารให้บริ การเรี ยกเก็บเงินตามเอกสารภายใต้การชาระเงินแบบ L/C ที่ผขู้ ายได้ส่ง
สิ นค้าไปแล้ว และยืน่ เอกสารให้กบั ธนาคารเพื่อส่ งไปเรี ยกเก็บเงินกับธนาคารผูเ้ ปิ ด
L/C
• ธนาคารจะตรวจเอกสารตามเงื่อนไขและข้อกาหนดที่ระบุใน L/C เพื่อผูข้ ายจะได้แก้ไข
เอกสารให้ถูกต้องเสี ยก่อน เอกสารที่ผดิ เงื่อนไขอาจเป็ นสาเหตุให้ผซู ้ ้ื อปฏิเสธการชาระ
เงินได้
• เมื่อมีการชาระเงินมาที่ SCB ธนาคารจะแจ้งผลการเรี ยกเก็บให้ผขู ้ ายทราบแล้วนาเงิน
เข้าบัญชี
5.Outward Bills for Collection : บริ การเรี ยกเก็บเงินตามเอกสาร
• ส่ งเอกสารฉับไว เรี ยกเก็บเงินได้ทวั่ โลก
• บริ การสาหรับผูข้ าย ในการเรี ยกเก็บเงินค่าสิ นค้าจากผูซ้ ้ือด้วยวิธี B/C โดยหลังจาก
ผูข้ ายส่ งสิ นค้าไปแล้ว จะรวบรวมเอกสารทางการค้าจัดส่ งให้ SCB เพื่อส่ งต่อไปยัง
ธนาคารของผูซ้ ้ื อ เพื่อให้ผซู ้ ้ือดาเนินการตามเงื่อนไขก่อนรับเอกสาร เช่น D/P หรื อ
D/A
• เมื่อธนาคารผูซ้ ้ื อได้รับชาระเงิน และโอนเงินมายัง SCB แล้ว ธนาคารจะแจ้งผลการ
เรี ยกเก็บให้ผขู ้ ายทราบแล้วนาเงินเข้าบัญชี
6.Open Account Collection : บริ การเรี ยกเก็บเงินสาหรับ Open Account
• ธนาคารให้บริการส่งเอกสารเพือ
่ เรียกเก็บเงิน ตามการ
ชาระเงินแบบ Open Account ซึง่ ธนาคารให้บริการ
เรียกเก็บโดยตรงกับผู้ชาระเงิน โดยจะตรวจสอบความ
ครบถวนของเอกสารตามค
าสั่ งเรียกเก็บ หลังจากนั้น
้
ธนาคารจะส่งเอกสารเรียกเก็บเงินไปยังผู้รับเงินโดยตรง
เมือ
่ ไดรั
้ บการชาระเงินแลว
้ ธนาคารจะแจ้งให้ทราบและ
นาเงินเขาบั
ั ที
้ ญชีทน
7.Assignment of Proceeds : บริ การโอนสิ ทธิ์การรับเงิน
• ธนาคารให้บริการโอนสิ ทธิการรั
์
บเงินตามเอกสารเรียกเก็บทางการคา้
(ภายใต้ L/C หรือ B/C) ตามคาร้องของผู้โอน(Assignor/ผู้ขายหรือ
ผู้ส่งออก) เพือ
่ โอนสิ ทธิการรั
์
บเงินตามเอกสารเรียกเก็บทางการคา้
ให้กับผู้รับโอน(Assignee) โดยตองส
้
่ งเอกสารทางการคาเรี
้ ยกเก็บเงิน
ผานธนาคาร
่
• เมือ
่ ไดรั
ู บโอน
้ บชาระเงินเรียบร้อยแลว
้ ธนาคารจะนาเงินเขาบั
้ ญชีผ้รั
แบงตามการโอนสิ
ทธิการรั
์
บเงินตามเอกสารเรียกเก็บทางการคา้
่
(Assignment of Proceeds) และนาเงินส่วนทีเ่ หลือ(ถามี
้ )เขาบั
้ ญชี
ให้กับผู้โอน (Assignor)
8.Inward Remittance : บริ การเงินโอนต่างประเทศขาเข้า
• สะดวก รวดเร็ ว รับเงินทันที
• ธนาคารให้บริ การรับชาระค่าสิ นค้าและบริ การสาหรับผูข้ ายหรื อผูส้ ่ งออก
ผ่านระบบ SWIFT เพียงผูข้ ายหรื อผูส้ ่ งออกแจ้งข้อมูลบัญชีของท่าน
ให้กบั คู่คา้ ทราบ ดังนี้ - เลขที่บญั ชี SCB , - ชื่อธนาคาร SCB , รหัสธนาคาร SCB , (SWIFT CODE : SICOTHBK)
• เมื่อ SCB ได้รับเงินโอนจากธนาคารด้านผูซ้ ้ื อ จะแจ้งให้ผขู ้ ายทราบเพื่อ
นาเงินเข้าบัญชี
• มีบริ การ auto e-mail แจ้งให้ทราบทันทีเมื่อเงินโอนมาถึง SCB
9.Export Document Preparation : บริ การจัดเตรี ยมเอกสารส่ งออก
• ลดความยุงยากการเตรี
ยมเอกสารส่งออก เพิม
่ สภาพคลองของธุ
รกิจ
่
่
• ธนาคารให้บริการจาเตรียมเอกสารส่งออกตามคาขอของผู้ส่งออกทีไ่ ด้
ลงนามในสั ญญาขอใช้บริการกับธนาคาร โดยธนาคารจะจัดเตรียม
เอกสารตามทีไ่ ดตกลงกั
นไว้ เช่น ใบกากับสิ นคา(commercial
้
้
invoice) , ใบแสดงรายการบรรจุหบ
ี หอ(packing
list) , ตัว๋ แลกเงิน
่
(bills of exchange) ฯลฯ
Export Document Preparation : บริ การจัดเตรี ยมเอกสารส่ งออก (ต่อ)
• ประสานกับหน่วยงานตางๆที
เ่ กีย
่ วของ
เพือ
่ ออกเอกสารทีใ่ ช้ในการ
่
้
ส่งออก เช่น หนังสื อรับรองถิน
่ กาเนิดสิ นคา(certificate
of origin) ใบ
้
ตราส่งสิ นคาทางทะเล(bill
of lading) กรมธรรมประกั
นภัย(insurance
้
์
policy) รวมถึงให้คาแนะนาและประสานงานกับพันธมิตรธุรกิจท่
ไว้วางใจได้ เพือ
่ ดาเนินการจองพืน
้ ทีร่ ะวางเรือ หรือ การขนส่ง
อืน
่ ๆ การเดินพิธก
ี ารศุลกากร การขอใบรับรองสิ นคา้ ฯลฯ
• บริการจัดเตรียมเอกสารส่งออก ให้บริการไดครอบคลุ
มเอกสารทุก
้
ชนิด ภายใตวิ
ี ารชาระเงินแบบ Letter of Credit , ตัว๋ เรียกเก็บ
้ ธก
เงิน (Bills for Collection) และเงินโอนขาเขา้ (Inward
Remittance)
10.Packing Credit : บริ การสิ นเชื่อเพื่อการส่ งออก
• เสริมสภาพคลองด
านการผลิ
ต ธุรกิจไมติ
่
้
่ ดขัด
• เป็ นบริการสิ นเชือ
่ ระยะสั้ นไมเกิ
่ น 180 วัน แกผู
่ ้ส่งออกทัง้ เงินสกุล
บาทหรือสกุลตางประเทศ
เพือ
่ ให้ผู้ส่งออกนาไปซือ
้ วัตถุดบ
ิ เพือ
่ การ
่
ผลิตหรือจัดเตรียมสิ นค้า ภายใตการช
าระเงินแบบ L/C , B/C ,
้
Open Account ผู้ส่งออกสามารถนาหลักฐานทีเ่ กีย
่ วของกั
บการค้า
้
เพือ
่ ประกอบการขอสิ นเชือ
่ จากธนาคาร
• เมือ
่ ส่งสิ นค้าไปยังผู้ซือ
้ SCB ไดรั
้ แลว
้ บชาระคาสิ
่ นคาจากผู
้
้ซือ
้ เงิน
ทีเ่ รียกเก็บไดจะถู
กหักลบจากภาระสิ นเชือ
่ ดังกลาว
ส่วนทีเ่ หลือจะเขา้
้
่
บัญชีผ้ส
ู ่ งออก
บริ การสิ นเชื่อเพื่อการส่ งออก (P/C) (ต่อ)
• สิ นเชือ
่ P/C แยกเป็ น 2 ประเภท
 1. การให้สินเชื่อก่อนการส่ งออก (Pre-Shipment Financing)
 2. การให้สินเชื่อหลังการส่ งออก (Post-Shipment Financing)
• จานวนเงินการให้สินเชื่อ P/C ขึ้นอยูก่ บั เอกสารประกอบ เช่น
- Purchase Order ; Contract ได้ 70%
- Letter of Credit
ได้ 80%
- Bill of Exchange ได้ 90%
บริ การสิ นเชื่อเพื่อการส่ งออก (P/C) (ต่อ)
• ระยะเวลาการทา P/C กูยื
เกิ
้ มไดรวมระยะเวลาไม
้
่ น 180
วัน
Purchase Order ; Contract : ไม่เกินวันส่ งสิ นค้า + 10 วัน
Letter of Credit : ไม่เกินวันหมดอายุของ L/C
Bill of Exchange : ไม่เกินวันครบกาหนด + 10 วัน
11.Outward Bills Purchase/Discount : บริ การรับซื้อ/ซื้อลดเอกสารภายใต้ L/C และตัว๋ เรี ยกเก็บ
• เพิ่มสภาพคล่องทางธุรกิจ ด้วยเงินทุนหมุนเวียนหลังการขาย
• ธนาคารให้บริ การสิ นเชื่อหมุนเวียนระยะสั้นแก่ผสู ้ ่ งออกที่ส่งสิ นค้าและยืน่
เอกสารการเรี ยกเก็บเงินให้กบั ธนาคารแล้ว ทั้งวิธีการชาระเงินแบบ L/C
และ B/C โดยธนาคารจะให้สินเชื่อตามมูลค่าในเอกสารดังกล่าว
• ธนาคารจะส่ งเอกสารไปเรี ยกเก็บเงินยังธนาคารด้ายผูซ้ ้ื อหรื อผูน้ าเข้า และ
เมื่อได้รับชาระเงินเรี ยบร้อยแล้ว ธนาคารจะหักลบภาระสิ นเชื่ อที่มีอยูก่ บั
ธนาคาร
บริ การรับซื้ อ/ซื้ อลดเอกสารภายใต้ L/C และตัว๋ เรี ยกเก็บ (ต่อ)
• การรับซื้ อ/ซื้ อลดเอกสารภายใต้ L/C สามารถทาได้ 2 วิธี คือ
 1. การรับซื้ อ/ซื้ อลดแบบไล่เบี้ย(With Recourse) คือ ธนาคาร
‘มี’สิ ทธิ์ ในการไล่เบี้ยผูข้ ายหากธนาคารผูเ้ ปิ ด L/C ไม่ชาระเงินใน
ภายหลัง
 2. การรับซื้ อ/ซื้ อลดแบบไม่ไล่เบี้ย(Without Recourse) คือ
ธนาคาร ‘ไม่ ม’ี สิ ทธิ์ ในการไล่เบี้ยผูข้ ายหากธนาคารผูเ้ ปิ ด L/C ไม่ชาระ
เงินในภายหลัง เนื่องจากธนาคารสามารถรับความเสี่ ยงของธนาคารผูเ้ ปิ ด
L/C ได้
International Trade Products
Core Product
Related Product
Import
LC
TR
IBC
OR
FWS
Advice
L/C
EBLC
EBC
P/C
IR
FWB
Export
56
Others Service
•
บริ การ Fx online : สามารถ quote exchange rate ผ่านระบบ internet ได้
(Free : สมัครใช้บริ การ , เซ็นสัญญา)
•
บริ การเงินฝากสกุลต่างประเทศ (Foreign Currency Deposit : FCD)
•
บริ การ SMS แจ้ง Exchange Rate ผ่านมือถือ (Free : สมัครใช้บริ การ)
•
บริ การส่ งข้อมูล auto e-mail : Inward Remittance, Advice L/C , ใบเสร็จ
เงินโอนออก (Outward Remittance) (Free : สมัครใช้บริ การ , เซ็นสัญญา)
•
บริ การ Bulk OR : สะดวก รวดเร็ว สามารถโอนเงินไปต่างประเทศได้ครั้งละหลาย
รายการ โดยส่ งข้อมูลเพียงครั้งเดียว
•
บริ การ BCM (Business Cash Management) : เป็ น internet banking
สามารถทารายการโอนเงินไปต่างประเทศได้เอง (มีค่าใช้จ่ายรายปี : สมัครใช้บริ การ ,
เซ็นสัญญา)
57
การป้องกันความเสี่ ยง
ด้ านอัตราแลกเปลีย่ น
ความเสี่ ยงทีเ่ กิดจากอัตราแลกเปลีย
่ น
•
ความเสี่ ยงจากเงินบาทอ่อนค่า : ใช้เงินมากขึ้นเพื่อซื้อสิ นค้าจาก ตปท.ที่มีปริ มาณเท่าเดิม
•
ความเสี่ ยงจากเงินบาทแข็งค่า : ส่ งออกไป ตปท.เท่าเดิม แต่ได้เงินค่าสิ นค้าน้อยลง
•
ความเสี่ ยงที่เกิดจากสกุลเงินที่เกี่ยวข้องในการนาเข้าและส่ งออก
 นำเข้ ำและส่ งออกเงินสกุลเดียวกัน : ควำมเสี่ ยงต่ำเพรำะสำมำรถลดควำมผันผวนของอัตรำ
แลกเปลีย่ นได้ เพรำะเป็ นเงินสกุลเดียวกัน
 นำเข้ ำและส่ งออกเงินต่ ำงสกุลกัน : ควำมเสี่ ยงสู งเนื่องจำกต้ องเสี่ ยงกับควำมผันผวนของอัตรำ
แลกเปลีย่ น เพรำะเป็ นเงินต่ ำงสกุลเดียวกัน
59
SCB กับการบริการ : บริหารความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น
1.การซื้อขายเงินตราต่างประเทศทันที (FX Spot)
2.การซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (FX Forward)
3.การซื้อขายสิ ทธิ์ในการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ (FX Option)
60
1.การซือ
้ ขายเงินตราตางประเทศทั
นที (FX Spot)
่
•
คือการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ โดยมีกาหนดส่ งมอบไม่เกิน 2 วันทาการ แบ่งได้เป็ น
3 ประเภท ดังนี้
 1.Value Today (T) : มีการส่ งมอบในวันเดียวกับที่ทารายการ
 2.Value Tom (T+1) (Tomorrow Transaction) : มีการส่ งมอบในวัน
ทาการถัดไป
 3.Value Spot (T+2) : มีการส่ งมอบ 2 วันทาการถัดไป
 ข้ อดี FX Spot
- ไม่ ต้องมีวงเงิน Forward
- ทารายการได้ ทนั ทีเมือ่ มาติดต่ อทีธ่ นาคาร
2.การซือ
้ ขายเงินตราตางประเทศล
วงหน
่
่
้ า (FX Forward)
•
คือ การซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ที่มีกาหนดส่ งมอบมากกว่า 2 วันทาการ
ขึ้นไป โดยกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน (Forward Rate) ไว้ล่วงหน้า และกาหนด
จานวนเงินซื้อขายไว้คงที่ต้งั แต่วนั ที่ทาสัญญา
 อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) ประกอบด้วย
Forward Rate = Spot Rate(Base Rate) + Swap Point
 Spot Rate : คืออัตราแลกเปลี่ยนที่ตกลงซื้ อขายวันนี้ และจะส่ งมอบอีก 2 วันข้างหน้า
 Swap Point : คือส่ วนต่างของดอกเบี้ยในตลาดเงินของเงิน 2 สกุล เช่น
iUSD/iTHB จะเป็ นบวก(premium : iUSD<iTHB) , เท่ากัน(Par :
iUSD=iTHB) หรื อเป็ นลบ(Discount : iUSD>iTHB) ก็ได้
TODAY:
8:45 21
10:35 20
These rates are daily indications and subjected to change without prior notice. Please contact
treasury department for further information. Tel 02-544-5700-14 and 02-544-5745-49
Last updated 11/1/2013 at 10:35:20
CURRENCY
EXPORT
IMPORT
USD
2.200
7.000
EUR
2.840
11.260
DEM
UNQUOTE
UNQUOTE
JPY
2.260
9.660
GBP
1.870
11.720
CHF
2.870
9.960
AUD
-6.260
1.250
NZD
-4.400
1.800
CAD
-.480
5.340
NLG
UNQUOTE
UNQUOTE
SGD
.230
7.180
HKD
-1.180
2.460
MYR
UNQUOTE
UNQUOTE
BEF
UNQUOTE
UNQUOTE
SEK
-.940
1.770
DKK
-.390
2.480
ATS
UNQUOTE
UNQUOTE
ITL
UNQUOTE
UNQUOTE
-1.250
1.640
NOK
Fx Forward
 ต้องมีวงเงิน Fx Forward กับธนาคาร
 สามารถจองได้ท้งั 2 ด้าน
 Fx Forward Bought (FWB) : ข้อตกลงที่ธนาคารรับซื้ อเงินตราต่างประเทศ
ล่วงหน้า จากผูส้ ่ งออก(Exporter)โดยการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ณ วันที่
ทาสัญญา แต่การส่ งมอบเงินจะกระทากันเมื่อถึงกาหนดตามที่ระบุในสัญญา
 Fx Forward Sold (FWS) : ข้อตกลงที่ธนาคารขายเงินตราต่างประเทศ
ล่วงหน้า ให้กบั ผูน้ าเข้า(Importer)โดยการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ณ วันที่
ทาสัญญากับธนาคาร แต่การส่ งมอบเงินจะกระทากันเมื่อถึงกาหนดตามที่ระบุในสัญญา
64
นิติกรรม
Forward
Contract
FWS/FWB
66
ความเสี่ ยงดาน
Forward Exchange
้
• ลูกค้าไม่ยอมเซ็นสัญญา
•
•
ลูกค้าไม่ยอมใช้ Forward ที่จอง
ลูกค้าจอง Forward เพื่อการเก็งกาไร
67
รายได้ Forward Exchange


ค่่า Premium / Discount
กำไรจำกอัตรำแลกเปลี่ยน
68
Case Study
1.AA Co.,Ltd. : Exp. สิ นค้าเกษตรแปรรู ป ใช้วตั ถุดิบในประเทศ มีวงเงินสิ นเชื่อ P/C , FWE
ใช้ products L/C , EBLC , IR , EBC , P/C , จอง FWB
2.BB Co.,Ltd. : Imp.+Exp. สิ นค้าคือตะแกรงเหล็กนิรภัย มีวงเงินสิ นเชื่อทั้ง P/C, T/R ,
FWE ใช้ products เปิ ด L/C , IBLC , T/R , IR จอง FWS, FWB มีบญ
ั ชี
FCD.USD AUD.
3.CC Co.,Ltd. : Imp.+Exp. สิ นค้า coil ลวดเล็กๆที่ใช้ในอุตฯ electronic ไม่มีวงเงิน
สิ นเชื่อ ใช้ products IR , OR มีบญั ชี FCD.USD JPY กับบริ ษทั ฯแม่/บริ ษทั ฯลูก ใช้
offsetting เคยโอนเงินไปลงทุนกับบริ ษทั ฯที่ลงทุนเกี่ยวกับอสังหาฯที่ต่างประเทศ (จะต้องขอ
BOT case by case)
4.DD Co.,Ltd. : Imp. สิ นค้าเกษตรแปรรู ป ซื้อมาขายไป สิ นค้าไม่เข้าประเทศ ไม่มีวงเงินสิ นเชื่อ
ใช้ products OR , IBC Exchange rate ใช้ spot rate
69
Question
70
THANK YOU