โครงการ CDM - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Download Report

Transcript โครงการ CDM - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

การศึกษาความคม้ ุ ค่าในการผลิต
ก๊าซชีวภาพจากของเสียในฟาร์มส ุกรภายใต้
กลไกการพัฒนาที่สะอาด
ส่วนวิจยั เศรษฐกิจปศ ุสัตว์และประมง
สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร
24 สิงหาคม 2554
1
Krit Iemthanon
5
ประเด็นการนาเสนอ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
ความสาคัญของปัญหา
วัตถ ุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
วิธีการศึกษา/กรอบแนวคิด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
ความเป็นมาของโครงการ CDM ในฟาร์มส ุกร
ผลการศึกษา
ปัญหาและอ ุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
เปิดเวทีแสดงความคิดเห็น
2
1. ความสาคัญของโครงการ
การผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสียในฟาร์มส ุกร
ก๊าซชีวภาพ
อน ุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
• ส ุขอนามัย/สิ่งแวดล้อม
• พลังงานทดแทน(กระแสไฟฟ้า)
• รายได้จากการขายปุ๋ยอินทรีย ์
พิธีสารเกียวโต
• เงินอ ุดหน ุน/เงินกด้ ู อกเบี้ยต่า
• มีที่ปรึกษา/ประสานงาน
CDM
• บริษท
ั AEP
• เงือนไขในการเข้าร่วมโครงการ
ยง่ ุ ยาก/ใช้เวลา
• ลงท ุนสูง
• เกษตรกรไม่มนั่ ใจในตัวโครงการ
การวิเคราะห์ทางการเงิน
คม้ ุ ค่ากับการลงท ุน
• กรมปศ ุสัตว์
• รายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต
Yes
No
ตัวแปรทางเศรษฐกิจ
ที่มีอิทธิพลต่อความคม้ ุ ค่า
ประเด็นการศึกษา
3
3
วัตถ ุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาปัญหาและ
อ ุปสรรคในการลงท ุนผลิต
ก๊าซชีวภาพจากของเสียใน
ฟาร์มส ุกรภายใต้กลไกการ
พัฒนาที่สะอาด
2. เพื่อวิเคราะห์ความคม้ ุ ค่าทาง
การเงินในผลิตก๊าซชีวภาพ
จากของเสียในฟาร์มส ุกร
ภายใต้กลไกการพัฒนาที่
สะอาด
ประเด็น
การศึกษา
3. เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของตัว
แปรทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพล
ต่อความคม้ ุ ค่าในผลิตก๊าซ
ชีวภาพจากของเสียในฟาร์ม
ส ุกรภายใต้กลไกการพัฒนาที่
สะอาด
4
4
ขอบเขตของการศึกษา
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ CDM
ในจังหวัดราชบ ุรีและชลบ ุรี
จานวน 15 ฟาร์ม
กลมุ่ ตัวอย่าง
จากการสารวจปี 2554
• จากทัง้ หมด 18 ฟาร์ม / 10 ฟาร์ม
เดินระบบการทางานได้แล้ว
ข้อมูล
โครงการ CDM
จากของเสียในฟาร์มส ุกร
ฟาร์มส ุกรที่เข้าร่วมโครง CDM
ของกรมปศ ุสัตว์และสามารถเดินระบบ
การทางานได้แล้ว จานวน 10 ฟาร์ม
(โครงการ CDM รนุ่ ที่ 1)
วิธีการ
เก็บ
ข้อมูล
สารวจแบบเจาะจง
(Purposive Method)
5
5
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
1. ใช้เป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจ
ลงท ุน/เข้าร่วมโครงการผลิตก๊าซ
ชีวภาพภายใต้โครงการ CDM
2. ใช้ในการกาหนดแนวทางในการ
ส่งเสริมการลงท ุนสร้างระบบก๊าซ
ชีวภาพภายใต้โครงการ CDM
6
6
กรอบแนวความคิด/วิธีการศึกษา
ฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการ CDM
(จานวน 10 ฟาร์ม)
Cash-Flow
• ราชบ ุรี
• มีเงินอ ุดหน ุน
• ชลบ ุรี
• ไม่มีเงินอ ุดหน ุน
วิเคราะห์ความอ่อนไหว
ของโครงการ
วิเคราะห์ทางการเงิน
• NPV > 0
• BCR >= 1
• IRR > r
คม้ ุ ค่าต่อ
การลงท ุน
• SVTB.
• SVTC
ไม่คม้ ุ ค่าต่อ
การลงท ุน
7
7
การคานวณกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่าย
1 . ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ CDM
กระแสเงินสดจ่าย
1.1 ค่าใช้จ่ายในช่วงพัฒนาโครงการ CDM
1.2 ค่าใช้จ่ายในช่วงดาเนินโครงการ CDM
หลังการขึ้นทะเบียน
1.3 ค่าธรรมเนียมที่บริษทั AEP เรียกเก็บ
2. ค่าใช้จ่ายในการลงท ุน
3. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
4. ค่าใช้จ่ายในการบาร ุงรักษา
กระแสเงินสดรับ
1 . รายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต
2. รายได้จากการขายปุ๋ยอินทรีย ์
3. ค่าไฟฟ้าที่สามารถประหยัดลงได้
4. เงินอ ุดหน ุน
8
ความเป็นมา
โครงการ CDM & โครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศ ุสัตว์ ฯ
การ
เปลี่ยนแปลง
สภาพภ ูมิอากาศ
ของโลกและ
ผลกระทบที่
เกิดขึ้น
ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อหาแนวทาง
ยับยัง้ /ป้องกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้น
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภ ูมิอากาศ
(Framework Convention on Climate Change: UNFCCC)
เมื่อวันที่ 9 พ.ค. 2535
รักษาระดับความเข้มข้นของ GHG ให้อยูใ่ นระดับที่ปลอดภัย
ประเทศภาคีต่างๆ ร่วมกันลดการปล่อย GHG โดยสมัครใจ
และไม่มีกรอบเวลาบังคับที่แน่นอน
พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol: KP) เมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2540
ประเทศภาคีสมาชิกภายใต้อนุสัญญาจานวน 191 ประเทศ
ประเทศพัฒนาแล้ว (Annex I) จานวน 41 ประเทศ
ลดปริมาณ GHG ลง อย่างน้อยร้อยละ 5 โดยใช้ฐานปี 2553 ภายในช่วงปี 2551-2555
ประเทศกาลังพัฒนา (Non Annex I) จานวน 150 ประเทศ
ไม่มีพนั ธกรณีในการลด GHG
9
การบรรล ุเป้าหมายตามพันธกรณี
การลดภายในประเทศ
Annex I
• กาหนดนโยบายและมาตรการต่างๆ
เพื่อส่งเสริมการลด GHG
• การลด GHG สามารถทาได้อย่าง
จากัด เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูง
กลไกการยืดหยน่ ุ
ภายใต้พิธีสารเกียวโต
• ประเทศ Annex I สามารถสนับสน ุนการลด GHG
ในต่างประเทศได้ (ประเทศ Non-Annex I )
• ปริมาณ GHG ที่สามารถลดได้ สามารถนามาคิด
เป็นเครดิตให้กบั ประเทศที่ให้การสนับสน ุนการลด
• สามารถบรรล ุเป้าหมายตามพันธกรณีดว้ ย
ค่าใช้จ่ายที่ถ ูกลง
• ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที่ตงั้ ไว้
10
กลไกยืดหยน่ ุ ภายใต้พิธี
สารเกียวโต
การซื้อขาย GHG (Emission
Trading: ET)
การดาเนินการร่วมกัน
(Joint Implementation: JI)
กลไกการพัฒนาที่สะอาด
(Clean Development
Mechanisms: CDM)
เป็นการซื้อขายใบอน ุญาต
การปล่อย GHG ของ
ประเทศ Annex I
เป็นการซื้อขายคาร์บอน
เครดิตระหว่างประเทศ
Annex I
เป็นการซื้อขายคาร์บอน
เครดิตระหว่างประเทศ
Annex I กับ Non-Annex I
Assigned Amount Units:
AAUs
Emission Reduction Units:
ERUs
Certified Emission
Reductions: CERs
11
ประเภทโครงการของ CDM
1.
2.
3.
4.
โครงการ CDM ทัว่ ไป (15 ประเภทโครงการ)
โครงการ CDM ขนาดเล็ก
โครงการ CDM แบบ Bundling และ Programmatic CDM
โครงการ Sectoral CDM
12
โครงการ CDM ขนาดเล็ก
ประเภทของโครงการ CDM ขนาดเล็ก
1. พลังงานหมุนเวียน
• กาลังการผลิตไม่เกิน 15 MW
2. การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน
• Supply and/or demand side ไม่เกิน 60 GWh ต่อปี
3. โครงการอื่นๆ
• ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไม่เกิน 60,000 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อปี
*** การแยกโครงการ (De-bundling) ขนาดใหญ่ออกเป็นโครงการขนาดเล็กไม่สามารถทาได้
*** การตรวจสอบการแยกโครงการ
– เจ้าของโครงการเดียวกัน
– โครงการประเภทเดียวกัน
– ขึ้นทะเบียนภายใน 2 ปี
– อยูใ่ นระยะทาง 1 กิโลเมตร จากขอบเขตของโครงการ
13
โครงการ CDM ขนาดเล็ก (ต่อ)
สิทธิพิเศษสาหรับโครงการ CDM
ขนาดเล็ก
• กฎระเบียบที่ง่ายขึ้น
• เอกสารประกอบโครงการที่ไม่ซบั ซ้อน
• วิธีการในการคานวณการลด GHG และการ
ติดตามประเมินผลที่ง่ายขึ้น
• ค่าธรรมเนียมในการขึ้นทะเบียนต่ากว่า
โครงการปกติ
• ระยะเวลาในการขึ้นทะเบียนสัน้ กว่า
• สามารถใช้หน่วยปฏิบตั ิการในการตรวจสอบ
(DOE) รายเดียวกันในการตรวจสอบ การยืนยัน
และการรับรองปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจก
สามารถรวมโครงการหลายๆ
โครงการเข้าด้วยกัน (Bundling)
โดยใช้เอกสารประกอบโครงการ
ฉบับเดียว
- ทัง้ นี้ ขนาดของโครงการรวม
จะต้องไม่เกินข้อกาหนดของ
โครงการกลไกการพัฒนาที่
สะอาดขนาดเล็ก
 โครงการเริม
่ พร้อมกันและมี
ระยะเวลาคิดคาร์บอนเครดิต
เท่ากัน
14
หลักการของโครงการ CDM
1.โดยสมัครใจ (Voluntary) เป็นการดาเนินงานด้วยความสมัครใจ
โดยได้รบั ความเห็นชอบจากประเทศภาคีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
ประเทศผูล้ งท ุน ประเทศที่โครงการตัง้ อยู่ (Host country)
2. ส่วนเพิ่มเติม (Additionality)
• เป็นโครงการที่แสดงให้เห็นว่า มีการดาเนินการเพิ่มเติมจากการเนิน
งานตามปกติ (Business as Usual) ในด้านต่างๆ เช่น ด้านเทคโนโลยี
สิ่งแวดล้อม การเงิน และการลงท ุน
• เป็นโครงการที่ ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกลงได้มากกว่า มาตรฐานที่
ประเทศโครงการตัง้ อยู่ (Host country) กาหนดไว้
15
หลักการของโครงการ CDM (ต่อ)
3. การพัฒนาที่ยงั่ ยืน (Sustainable Development) สอดคล้องกับ
นโยบายการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ของประเทศที่โครงการตัง้ อยู่
4. ความโปร่งใสและเชื่อถือได้ (Transparency & Accountable) ต้องมี
การดาเนินงานด้วยความโปร่งใส และตรวจวัดได้
5. การรับรอง (Certify) ปริมาณการปล่อยก๊าซที่ลดได้จาก
โครงการ CDM จะต้องได้รบั การรับรองจาก UNFCCC
CDM-Executive Board ซึ่งตัง้ อยู่ ณ กร ุงบอนน์ ประเทศ
เยอรมนี
16
ขัน้ ตอน
ในการ
ดาเนิน
โครงการ
CDM
17
รายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต
18
ช่วงเวลาในการคิดเครดิต
(โครงการ CDM ทัว่ ไป)
แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ
1. ช่วงเวลาแบบคงที่ (Fixed Crediting Period)
ระยะเวลามากที่ส ุด 10 ปี และ
ไม่สามารถต่ออาย ุได้อีก
2. ช่วงเวลาแบบต่ออาย ุได้
(Renewable Crediting Period)
ระยะเวลา 7 ปี และสามารถต่ออาย ุได้ไม่
เกิน 2 ครัง้ รวม 21 ปี
ทัง้ นี้ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้จริง
ในแต่ละปีจะถ ูกตรวจสอบโดย DOE และ
รายงานไปยัง CDM Executive Board
กรณีที่โครงการไม่ปฏิบตั ิตามข้อกฎหมายของประเทศ ประเทศนัน้ ก็สามารถเพิกถอนสิทธิในการทาโครงการ
19
CDM โครงการนัน้ ได้ โดยผ่านการบังคับใช้กฎหมายในประเทศ
ตลาดคาร์บอน (Carbon Market)
1. ตลาดทางการ (Mandatory Market)
• Emission Trading: ET
• Joint Implementation: JI
• Clean Development Mechanisms: CDM
2. ตลาดสมัครใจ (Voluntary Market)
• โครงการ CDM/ JI ที่ไม่ได้ขอใบรับรองจากประเทศที่เป็นเจ้าของ
โครงการหรือไม่ได้ลงทะเบียนกับ UNFCCC แบ่งออกเป็น 2 ตลาด
 Chicago Climate Exchange: CCX
 Over-the-Counter: OTC
• ปริมาณ GHG ที่ลดลงได้เรียกว่า “Verified Emission Reduction: VERs)
20
การดาเนินโครงการ CDM ของไทยภายใต้โครงการ
“การจัดการของเสียในฟาร์มปศ ุสัตว์ในภ ูมิภาคเอเชียตะวันออก”
•
•
•
•
•
มีฟาร์มส ุกรที่เข้าร่วมโครงการจานวน 10 ฟาร์ม (รนุ่ 1)
จานวนส ุกรประมาณ 200,000 ตัว
สามารถลดปริมาณการปล่อย GHG ได้ประมาณ 60,000 ตัน/ปี
ระยะเวลาดาเนินโครงการ 5 ปี (ปี 2552-2557)
ได้รบั การสนับสน ุนทางการเงินจาก
1.กองท ุนอน ุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
(ผ่านสถาบันวิจยั และพัฒนาพลังงาน ม.ช.)
2. กองท ุนคาร์บอนเพื่อการพัฒนาช ุมชน (Community
Development Carbon Fund) และ กองท ุนสิ่งแวดล้อมโลก (Global
Environment Facility : GEF)
(World Bank เป็นผูด้ ูแลโครงการ Methane-to-Markets)
21
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการซื้อขายคาร์บอนเครดิต
1.
2.
3.
4.
ธนาคารโลก ในฐานะผูซ้ ้ ือ
ฟาร์ม ในฐานะผูข้ าย
ผูต้ รวจสอบ เพื่อตรวจสอบปริมาณคาร์บอนเครดิตที่ได้
บริษทั แอดวานซ์ เอ็นเนอยี่ พลัส จากัด (AEP) ในฐานะที่
ปรึกษาและผูป้ ระสานงานด้าน CDM
5. กองท ุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF), โครงการ M to M,
สถาบันวิจยั และพัฒนาพลังงาน ม.ช.(ERDI) และ Bank
สนับสน ุนโครงการที่อยูใ่ นร ูปของเงินอ ุดหน ุนหรือเงินก ้ ู
ดอกเบี้ยต่า
6. กรมปศ ุสัตว์ ในฐานะผูต้ ิดตามและประสานงาน
22
ความเชื่อมโยงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในการซื้อขายคาร์บอนเครดิต
พนัสอัมพร ฟาร์ม
ผูต้ รวจสอบ
จุ่ง ฟาร์ม
เคโอเอส ฟาร์ม
มณีรตั น์ ฟาร์ม
วีไท ฟาร์ม
ธนาคารโลก
AEP
วันชัย ฟาร์ม
ศ ุภฤกษ์ ฟาร์ม
หน่วยงานที่ให้
การอ ุดหน ุน
• GEF
• M to
•ERDI
• Bank
เอพี ฟาร์ม
กรมปศ ุสัตว์
กาญจนา ฟาร์ม
กาญจนาไฮบริด
23
บทบาทและหน้าที่ของ AEP
•
•
•
•
ให้คาปรึกษาการจดบันทึกและจัดเก็บข้อมูลแก่ฟาร์ม
รวบรวมข้อมูลการจดบันทึกข้อมูล
จัดทารายงานการคานวณปริมาณคาร์บอนเครดิตแต่ละฟาร์ม
ตอบคาถามและประสานงานร่วมกับฟาร์มในการหาเอกสารสนับสน ุน
ให้แก่ผต้ ู รวจสอบ
• ติดตามความคืบหน้าของการตรวจสอบ
• โอนเงินรายได้จากการขายคาร์บอนเครดิตให้แก่ฟาร์ม
24
ผลการศึกษา
25
จานวนคาร์บอนเครดิต
26
รายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต
27
รายได้จากการขายปุ๋ยอินทรีย ์
28
ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้
29
เงินอ ุดหน ุนที่ได้รบั
30
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ CDM
31
ค่าใช้จ่ายในการลงท ุน
32
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานและ
ค่าใช้จ่ายในการบาร ุงรักษา
33
กระแสเงินสดรับและจ่ายของโครงการ CDM ส ุกร
กรณีมีเงินอ ุดหน ุน
34
กระแสเงินสดรับและจ่ายของโครงการ CDM ส ุกร
กรณีไม่มีเงินอ ุดหน ุน
35
การวิเคราะห์ทางการเงินของโครงการ CDM
จากของเสียในฟาร์มส ุกร
กรณี
ศึกษา
NPV
(ล้านบาท)
IRR
B/C
SVTC
SVTB
Payback
period
มีเงิน
188.16
44.85%
อ ุดหน ุน
1 ปี
1.56 55.57 62.87 11.80เดือน
ไม่มีเงิน
131.00
24.69%
อ ุดหน ุน
3 ปี
1.39 38.69 54.10 4.60 เดือน
ที่มา : จากการคานวณ ณ. ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 7.00
36
ปัญหาและอ ุปสรรค
1. ห้ามเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ เช่น
•
•
•
•
เพิ่ม/ลด จานวนหรือขนาดเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า
ห้ามขายไฟฟ้า
ห้ามนาน้าเสียจากฟาร์มอื่นหรือน้าเสียอื่นๆมาบาบัดในระบบ
ห้ามนาก๊าซชีวภาพที่ได้ไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
นอกเหนือจากการผลิตไฟฟ้าและเผาทิ้ง
การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ อาจจะทาให้ฟาร์มนัน้ ๆ หรือทัง้
10 ฟาร์มไม่ได้คาร์บอนเครดิต
37
ปัญหาและอ ุปสรรค (ต่อ)
2. อ ุปกรณ์เครื่องมือวัดต้องทาการสอบเทียบตามระยะเวลา
ที่กาหนด หากเกินวันที่กาหนดอาจจะถ ูกลดทอนปริมาณ
คาร์บอนเครดิตที่ควรจะได้
3. หากข้อมูลที่กล่าวไว้ขา้ งต้นสูญหายหรือไม่ถกู ต้อง
ครบถ้วน ปริมาณคาร์บอนเครดิตจะถ ูกลดทอนลงจาก
ปริมาณที่ควรจะได้
38
ปัญหาและอ ุปสรรค (ต่อ)
4. แม้โครงการดังกล่าวจะมีความคม้ ุ ค่าในการลงท ุน แต่
หากพิจารณาผลตอบแทนที่แต่ละฟาร์มจะได้รบั ในแต่ละ
ปี เมื่อเทียบกับเงื่อนไขและระยะเวลาที่ใช้ในการ
ดาเนินการอาจไม่จงู ใจให้เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
5. จากหลักการที่อธิบายว่า “การดาเนินการเพิ่มเติมจาก
การเนินงานตามปกติ” ส่งผลทาให้ฟาร์ม(ส่วนใหญ่) ที่มี
Biogas อยูแ่ ล้วไม่สามารถเข้าร่วมโครงการนี้ได้ (ไทยได้
มีการส่งเสริมตัง้ แต่ 2538)
39
19
ข้อเสนอแนะ
1. องค์กร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรร่วมกัน
 หาแนวทางในการลดขัน้ ตอน /เงื่อนไข /ระยะเวลาใน
การเข้าร่วมโครงการ CDM
 หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาสาหรับฟาร์มส ุกร ทีม
่ ี
ระบบ Biogas อยูแ่ ล้วแต่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการนี้
ได้ เพราะถือเป็นการงานตามปกติ
40
19
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
2. จากสัญญาซื้อขายที่กาหนดไว้เฉพาะปีที่ 1-2 เท่านัน้
(สาหรับ 253,500 ตันแรก)ที่จะรับชื้อในราคา 17 US /
ตัน หลังจากนัน้ จะซื้อขายในราคาตลาด ซึ่งมีความผัน
ผวนสูง ดังนัน้ การก่อตัง้ กองท ุนคาร์บอนเครดิตจึงเป็น
ประเด็นที่ควรนามาพิจารณาในการส่งเสริม และมีผล
ต่อความคมุ่ ค่าของของโครงการการผลิตก๊าซชีวภาพ
จากของเสียในฟาร์มส ุกรภายใต้กลไกการพัฒนาที่
สะอาด
41
20
ขอบค ุณ
ครับ
42
การวิเคราะห์ทางการเงินของโครงการ CDM
กรณี ไม่นาค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้มาพิจารณา
กรณี
ศึกษา
NPV
(ล้านบาท)
IRR
B/C
SVTC
SVTB
Payback
period
มีเงิน
อ ุดหน ุน
-3.61 5.96 % 0.99
-
-
5 ปี
6.11เดือน
ไม่มีเงิน
อ ุดหน ุน
-60.77 -4.80% 0.82
-
-
-
ที่มา : จากการคานวณ ณ. ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 7.00
43