นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Download Report

Transcript นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยินดีต้อนรับ
คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา
27 มกราคม 2555
ผูบ้ ริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายธีระ วงศ์สมุทร
…
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ
2
ผูบ้ ริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ต่อ)
…
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นางสาวสุพตั รา ธนเสนี วฒ
ั น์
…
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายศุภชัย บานพับทอง
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายชวลิ ต ชูขจร
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายนิ วตั ิ สุธีมีชยั กุล
…
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลิ ศวิ โรจน์ โกวัฒนะ
3
ผูบ้ ริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ต่อ)
หัวหน้ าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน
22 หน่ วยงาน
ผูต้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 12 ท่าน
รับผิดชอบเขตตรวจราชการ 18 เขต
4
5
การดาเนินภารกิจ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในภาพรวม
6
มูลค่าการส่งออก-นาเข้า
ดุลการค้า
หน่ วย : ล้านบาท
7,000,000
5,962,482
5,851,371
6,000,000
5,000,000
4,000,000
6,176,000
5,839,000
4,942,923 5,302,119
5,194,589
4,754,025
4,931,449 4,870,186
4,600,548
4,428,947
1,500,000
1,068,656
1,000,000
570,564
500,000
0
3,000,000
-5,550
ปี
2,000,000
-500,000
1,136,000
1,045,737
796,998 845,968
944,921
1,000,000 690,160
311,000
318,184
-1,000,000
271,415
222,247 234,485
0 309,383
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
ส่ งออกรวม
ส่ งออกสินค้าเกษตร
นาเข้ารวม
นาเข้าสินค้าเกษตร
604,662
718,246 664,749
779,185
594,041
337,033
431,933
-111,112 -70,708
-17,940
-172,729
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
-442,152
-576,114
-829,358
-1,086,596
-1,500,000
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิ จการเกษตร หมายเหตุ : มกราคม-พฤษภาคม 2554
ดุลการค้ ารวม
ดุลการค้ าสินค้าเกษตรและอาหาร
ดุลการค้ าสินค้านอกการเกษตร
7
สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
ประเทศ ณ ราคาปี ฐาน 2531
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
ณ ราคาประจาปี
หน่ วย : ร้ อยละ
100.00
90.96 91.31 91.22 91.06 91.70
หน่ วย : ล้ านล้ านบาท
12.000
10.000
10.110
9.080
9.042
7.845 8.5258.031 8.005 8.854
8.000
7.615
7.000
80.00
60.00
40.00
6.000
20.00 9.04
8.69 8.78 8.94
8.30
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
2549 2550
2551 2552
2553
4.000
ภาคเกษตร
ภาคนอกเกษตร
2.000
0.845
0.000
0.910 1.050
1.037
1.256
ปี 2549 ปี 2550
ปี 2551 ปี 2552
ปี 2553
ภาคเกษตร
ภาคนอกเกษตร
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
รวม
8
วิสยั ทัศน์
เกษตรกรมีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดี
ประชาชนมีความมันคงด้
่
านอาหาร
เป็ นฐานสร้างรายได้ให้แผ่นดิน
9
ิ
ภารก
จ
และหน้
า
ที
่
ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี อ านาจหน้ าที่ เ กี่ ย วกั บ
การเกษตรกรรม การจัดหาแหล่ ง น้ าและพัฒนาระบบชลประทาน
ส่ ง เสริ ม และพัฒ นาเกษตรกร ส่ ง เสริ ม และพัฒ นาระบบสหกรณ์
รวมตลอดทัง้ กระบวนการผลิตและสินค้าเกษตรกรรม และราชการ
อื่ น ที่ ก ฎหมายก าหนดให้ เ ป็ นอ านาจหน้ าที่ ข องกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์หรือส่วนราชการที่สงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ทีม่ า : พระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม มาตรา 18
10
การพัฒนา
เกษตรกร
และองคกร
์
เกษตรกร
การพัฒนาการผลิต
Agenda
Based
นโยบายและ
แนวทาง
การปฏิบต
ั งิ าน
Commodity
Based
กระทรวง
เกษตรและ
สหกรณ์
การพัฒนา
โครงสราง
้
พืน
้ ฐาน
และปัจจัย
สนับสนุ น
Area Based
11
(1) การลดตนทุ
(2) มาตรฐานสิ นค้า (3)
้ นการผลิต
ประสิ ทธิภาพการผลิต
(4)ความมัน
่ คงทางอาหาร
(5) เกษตรอินทรีย ์
(6)
วิจย
ั และพัฒนาสายพันธุ ์
(7)
การพัฒ
ฒนาอุ
ตสาหกรรมเกษตร
การพั
นาการผลิ
ต
การพัฒนา
Agend
เกษตรกร
a
และองคกร
์
Based
เกษตรกร
(1) การเพิม
่ ประสิ ทธิภาพการบริหาร
จัดการภาคเกษตร
(2) ประกันความมัน
่ คงให้เกษตรกร
(สวัสดิการ)
(3) พัฒนาธุรกิจสถาบันเกษตรกร
(4) ฟื้ นฟูอาชีพเกษตรกรผู้พักชาระหนี้
การพัฒนา
โครงสราง
้
พืน
้ ฐาน
และปัจจัย
สนับสนุ น
(1) การบริหารจัดการน้า
อยางบู
รณาการ
่
(2) การขยายพืน
้ ที่
ชลประทาน
(3) จัดทีด
่ น
ิ ทากินให้
เกษตรกร
(4) ฟื้ นฟู/อนุ รก
ั ษดิ
์ น
12
มันสาปะหลัง
ขาว
้
ประมง (จืด/ทะเล)
ขาวโพดเลี
ย
้ งสั ตว ์
้
Commodit
y Based
ปาลมน
์ ้ามัน
ยางพารา
ปศุสัตว ์
ไมผล
้
ถัว่ เหลือง/ถัว่ เขียว
13
โครงการพระราชดาริ
ทุงกุ
ล
าร
องไห
่
้
้
พืน
้ ทีส
่ งู
ทุงสั
่ มฤทธิ ์
Area Based เขตชลประทาน
เขตจัดรูปทีด
่ น
ิ
ลุมน
่ ้าปากพนังนิคมเกษตร
14
งบประมาณของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หน่ วย : ล้านบาท
120,000.00
104,930.67
100,000.00
80,000.00
70,822.96
65,193.28
64,972.77
75,610.38
70,336.50
76,721.21
60,000.00
40,000.00
20,000.00
33,023.73
36,193.13
29,857.26 32,169.55
34,629.83
34,594.17
ปี
ปี
ปี
35,115.51
39,409.38
37,311.83
36,754.19
38,856.15
0.00
ปี
รวม
หมายเหตุ : ปี 2553 รวมงบประมาณไทยเข้มแข็ง
รายจ่ายลงทุน
ปี
ปี
รายจ่ายประจา
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิ จการเกษตร
15
การบริหารจัดการน้า
• การบริหารจัดการน้าเป็ นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องมีการบริหารจัดการอย่างบูรณาการ เน้ นขยาย
พืน้ ที่ชลประทาน ให้มีการบริหารจัดการน้าในระดับประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถป้ องกัน
ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง ด้วยการ
- ติดตามสถานการณ์น้าในแต่ละพืน้ ที่อย่างใกล้ชิดและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
เพื่อเตรียมรับมือกับสภาวการณ์อทุ กภัย
- ก่อสร้างระบบชลประทานขนาดใหญ่ กลาง เล็ก รวมถึงได้เตรียมแผนการป้ องกันและ
บรรเทาภัยจากน้าในพืน้ ที่เกษตรและพืน้ ที่เขตเศรษฐกิจ
- จัดหาแหล่งน้าในระดับไร่นาและชุมชน
• การจัดทาแผนระยะยาวเพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้า สร้างความเชื่อมันฟื
่ ้ นฟู
ความเชื่อถือและสร้างความมังคั
่ ง่ มันคงของประเทศให้
่
กลับคืนมาโดยบูรณาการร่วมกับ
กยน.
16
การบริหารจัดการน้า
ปัญหาอุปสรรค
1) ไม่มีหน่ วยงานที่รบั ผิดชอบด้านนโยบายที่แท้จริง
2) ปัญหาด้านกฎหมายและระเบียบต่างๆ
3) การขอใช้พนื้ ที่เพื่อก่อสร้างโครงการจากหน่ วยงานที่รบั ผิดชอบ
4) การคัดค้านการดาเนินโครงการ (NGO และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย)
5) การเปลี่ยนแปลงผังเมือง การใช้ประโยชน์ ที่ดิน และการบุกรุกพืน้ ที่ Flood way
6) สภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีผลให้ภยั แล้ง อุทกภัยรุนแรงขึน้
ระบบการคาดการณ์และเตือนภัยไม่มีประสิทธิภาพ
7) เทคโนโลยีการเกษตรที่มนั สมัย เกษตรกรทานาได้เร็วขึน้ ทาหลายครัง้ ต่อปี
17
งบการพัฒนาการเกษตรอื่น
(ประมาณ 35,000 ล้านบาท)
• การส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนใต้
• การยกระดับราคาสินค้าเกษตรและการช่วยเหลือด้านหนี้ สิน
เกษตรกร
• การส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม
ภาคเกษตร
- การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
- การพัฒนาการผลิต
- ที่ดินทากิน การจัดการคุณภาพดิน
• การบริหารการจัดการทรัพยากรประมง
18
โครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปี ปี เพาะปลูก 2554/55
• ครม. 13 ก.ย. 54 รับทราบหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการรับจานาข้าวเปลือกนาปี
ปี เพาะปลูก 2554/55 ตามข้อเสนอของ กขช. กาหนดความชื้นไม่เกิน 15 %
• ระยะเวลา 7 ต.ค. 2554 - 30 กันยายน 2555
• กษ. ขึน้ ทะเบียนเกษตรกรผูป้ ลูกข้าวไปแล้ว 3.562 ล้านครัวเรือน พืน้ ที่ 65.077 ล้านไร่
ผ่านประชาคม 3.448 ล้านครัวเรือน พืน้ ที่ 63.295 ล้านไร่
• ออกใบรับรอง 3.427 ล้านครัวเรือน พืน้ ที่ 62.957 ล้านไร่
• จุดรับจานา 848 จุด ใบประทวน 1.017 ล้านใบ ยุ้งฉาง 11,260 แห่ง
• รับจานาข้าวทุกชนิดแล้ว รวม 5.581 ล้านตัน
• เกษตรกรที่ได้รบั เงินจาก ธ.ก.ส. (7 ต.ค. 54 - 26 ม.ค.55) จานวน 857,912 ราย
วงเงิน 91,883.98 ล้านบาท
ปัญหา อุปสรรค
• เกษตรกรปลูกพืชในพืน้ ที่ไม่มีเอกสารสิทธ์ ิ ทาให้ไม่มีสิทธิเข้าร่วมโครงการ
• เกษตรกรเข้าร่วมโครงการน้ อยจึงทาให้มีปริมาณข้าวเปลือกที่รบั จานาตา่ มาก
• จุดรับจานาน้ อย อยู่ไกลไม่ค้มุ กับการขนส่ง
• คุณภาพข้าวเปลือกของเกษตรกรตา่ กว่ามาตรฐาน
19
นโยบายการปลูกยางพารา
ปั จจุบ นั ประเทศไทยมี พื้นที่ ปลูกยางพารา 18.56 ล้ า นไร่ และมี อตั ราการ
ขยายตัว เฉลี่ยร้อยละ 4.69 ต่อปี
กษ. มีนโยบายส่ งเสริมการปลูกยางพาราในทุกภาคของประเทศ โดยปลูก
ทดแทนพื้นที่ เดิม หรือพื้นที่ ใหม่ ภายใต้ พ.ร.บ. กองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง
โดยค านึ ง ถึ ง การผลิ ต และปริ ม าณความต้ อ งการใช้ รวมถึ ง แนวโน้ มในอนาคต
และไม่ ส่ ง เสริ ม การปลู ก ในพื้ น ที่ ไ ม่ เ หมาะสม (พื้น ที่ ป่ าไม้ พื้น ที่ ล าดเอี ย งไม่ เ กิ น
ร้อยละ 35 องศา พืน้ ที่ล่มุ ตา่ และพืน้ ที่ปริมาณน้าฝนไม่เพียงพอ)
ปัญหา-อุปสรรค
- การแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ ในประเทศมีน้อย ส่งผลกระทบด้านราคา
- ราคายางจูงใจให้มีการบุกรุกพืน้ ที่ป่าและการปลูกในพืน้ ที่ที่ไม่เหมาะสม
20
แนวทางการเพิ่มมูลค่าการผลิตสินค้าเกษตร
• การพัฒนาคุณภาพ/มาตรฐาน/เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (Post-harvested)
• ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิต สร้างโอกาสให้เกิดแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Value Creation)
• การผลิตกลุ่มสินค้าเกษตรแบบ Cluster/การสร้างเครือข่ายการผลิตของสถาบันเกษตรกร
• ส่งเสริมการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร
• พัฒนาระบบโลจิสติกส์
• สร้างบรรจุภณ
ั ฑ์ที่ยืดอายุสินค้าเกษตร และรูปลักษณ์สวยงามรวมทัง้ ตราสัญลักษณ์ /
ตราสินค้าที่แสดงคุณประโยชน์ ที่ผบู้ ริโภคได้รบั
ปัญหา อุปสรรค
• สินค้าเกษตรเน่ าเสียง่าย
• ขาดความรู้ด้านการตลาด/การแปรรูปผลิตผลการเกษตร
• ขาดการเชื่อมโยงและบริหารจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply Chain)
21
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
www.moac.go.th
www.oae.go.th
22