การเบิกจ่ าย ค่ าตอบแทน ใช้ สอย และวัสดุ นางนิโลบล แวววับศรี ผู้อานวยการกลุ่มงานกฎหมายและระเบียบด้ านค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร รักษาการในตาแหน่ งนิติกรเชี่ยวชาญ.

Download Report

Transcript การเบิกจ่ าย ค่ าตอบแทน ใช้ สอย และวัสดุ นางนิโลบล แวววับศรี ผู้อานวยการกลุ่มงานกฎหมายและระเบียบด้ านค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร รักษาการในตาแหน่ งนิติกรเชี่ยวชาญ.

การเบิกจ่ าย
ค่ าตอบแทน ใช้ สอย
และวัสดุ
นางนิโลบล แวววับศรี
ผู้อานวยการกลุ่มงานกฎหมายและระเบียบด้ านค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร
รักษาการในตาแหน่ งนิติกรเชี่ยวชาญ
1
ขอบเขตเนือ้ หา
 ลักษณะของรายจ่ ายทีเ่ บิกเป็ นค่ าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุ
 รายจ่ ายลักษณะค่ าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุ ทีไ่ ด้ กาหนด
หลักเกณฑ์ ไว้ ในกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีและ
หนังสื อเวียนกระทรวงการคลัง
 รายจ่ ายลักษณะใดทีต่ ้ องขอทาความตกลงกับกระทรวง
การคลัง และรายจ่ ายใดทีไ่ ม่ ต้องขอทาความตกลงกับ
กระทรวงการคลัง
2
กฎหมายและระเบียบการคลัง
1. รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย
2. กฎหมายเงินคงคลัง
3. กฎหมายวิธีการงบประมาณ
4. กฎหมายงบประมาณรายจ่ ายประจาปี
5. ระเบียบการบริหารงบประมาณ
6. ระเบียบการเบิกจ่ ายเงินจากคลัง
การเก็บรักษาเงินและการนาส่ งคลัง
7. ระเบียบเงินทดรองราชการ
3
การเบิกเงินงบประมาณ
ประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ ายประจาปี แล้ ว
ได้ รับอนุมตั วิ งเงินประจางวดแล้ ว
มีข้อผูกพันหรือมีความจาเป็ นต้ องจ่ ายเงินแก่ เจ้ าหนี้
หรือ ผู้มสี ิ ทธิ
หนีน้ ้ันถึงกาหนดหรือใกล้ ถึงกาหนดต้ องจ่ ายเงิน
4
งบประมาณ
หลักการจาแนกประเภทรายจ่ ายตามงบประมาณ
จาแนกรายจ่ ายตามงบประมาณเป็ น 2 ลักษณะ
รายจ่ ายงบกลาง
รายจ่ ายของส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
5
รายจ่ ายงบกลาง
หมายถึ ง รายจ่ ายที่ ต้ั ง ไว้ เ พื่ อ จั ด สรรให้ ส่ วนราชการแ ละ
รัฐวิสาหกิจโดยทั่วไปใช้ จ่ายตามรายการที่กาหนดดังนี้
เงินเบีย้ หวัด บาเหน็จ บานาญ
 เงินช่ วยเหลือข้ าราชการ ลูกจ้ าง และพนักงานของรัฐ
เงินเลือ่ นขั้น เลือ่ นอันดับเงินเดือน และเงินปรับวุฒิข้าราชการ
 เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้ าราชการ
เงินสมทบของลูกจ้ างประจา
ค่ าใช้ จ่ายในการรักษาพยาบาลข้ าราชการ ลูกจ้ างและพนักงานของรัฐ
เป็ นต้ น
6
นอกจากรายการหลัก ดั ง กล่ า วดั ง กล่ า วแล้ ว
พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ ายประจาปี อาจตั้งรายจ่ าย
ร า ย ก า ร อื่ น ๆ ไ ว้ ใ น ร า ย จ่ า ย ง บ ก ล า ง
ตามความเหมาะสมแต่ ล ะปี ได้ เช่ น ค่ า ใช้ จ่ า ย
การปรั บเงินค่ าตอบแทนบุคลากรภาครั ฐ ค่ าใช้ จ่าย
การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็ นต้ น
7
รายจ่ ายของส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
หมายถึ ง รายจ่ ายซึ่ ง ก าหนดไว้ ส าหรั บ แต่ ล ะ
ส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะ ได้ แก่
 งบบุคลากร
 งบดาเนินงาน
 งบลงทุน
 งบเงินอุดหนุน
 งบรายจ่ายอื่น
8
งบดาเนินงาน
หมายถึง รายจ่ ายทีก่ าหนดให้ จ่ายเพือ่ บริหารงานประจา
ได้ แก่ รายจ่ ายทีจ่ ่ ายในลักษณะ
ค่ าตอบแทน
ค่ าใช้ สอย
ค่ าวัสดุ
ค่ าสาธารณูปโภค
รวมถึงรายจ่ ายทีก่ าหนดให้ จ่ายจากงบรายจ่ ายอืน่ ใด
ในลักษณะดังกล่ าว
9
ค่ าตอบแทน
หมายถึง เงินที่จ่ายตอบแทนให้ แก่ ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ ทาง
ราชการตามที่กระทรวงการคลังกาหนด เช่ น
เงินค่ าเช่ าบ้ าน ข้ าราชการ
ค่ าเบีย้ ประชุมกรรมการ
ค่ าตอบแทนกรรมการตรวจการจ้ างและ
ผู้ควบคุมงาน
เงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนทางวินัย
ข้ าราชการ
เงินค่ าตอบแทนเหมาจ่ ายแทนการจัดหา
รถประจาตาแหน่ ง เป็ นต้ น
10
ค่ าใช้ สอย
หมายถึ ง รายจ่ า ยเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง บริ ก าร (ยกเว้ น
บริ การสาธารณู ปโภค) รายจ่ ายที่เกี่ยวกับการรั บรองและ
พิ ธี ก ารและรายจ่ า ยที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ราชการ
ทีไ่ ม่ เข้ าลักษณะรายจ่ ายอืน่ ๆ เช่ น
 ค่ าจ้ างเหมาบริการ
 ค่ าเบีย้ ประกันภัย
 ค่ าใช้ จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ในประเทศ)
 ค่ าของขวัญ เป็ นต้ น
11
ค่ าวัสดุ
หมายถึง
รายจ่ า ยเพื่ อ จั ด หาสิ่ ง ของซึ่ ง โดยสภาพแล้ ว
ย่ อ มสิ้ น เปลื อ งหมดไป แปรสภาพหรื อ ไม่ ค งสภาพเดิ ม
หรื อ สิ่ งของที่มีลัก ษณะคงทนถาวรและมีราคาต่ อ หน่ ว ย
หรือต่ อชุดไม่ เกิน 5,000 บาท
รายจ่ ายเพื่ อ ซ่ อมแซมบ ารุ ง รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น
เพือ่ ให้ ใช้ งานได้ ตามปกติ เป็ นต้ น
12
ค่ าสาธารณูปโภค
หมายถึง รายจ่ ายค่ าบริการสาธารณูปโภค เช่ น
ค่ าไฟฟ้ า
ค่ าประปา
ค่ าโทรศัพท์
ค่ าบริการไปรษณีย์ เป็ นต้ น
13
งบรายจ่ ายอืน่
หมายถึง รายจ่ ายที่ไม่ เข้ าลักษณะประเภทงบรายจ่ า ยใด
งบรายจ่ ายหนึ่งหรื อรายจ่ ายที่สานักงานประมาณกาหนดให้
ใช้ จ่ายในงบรายจ่ ายนี้ เช่ น
เงินราชการลับ
ค่ าใช้ จ่ายในการเดินทางไปราชการต่ างประเทศชั่วคราว
ค่ าใช้ จ่ายสาหรับกองทุนหรือเงินทุนหมุนเวียน เป็ นต้ น
14
รายจ่ ายที่เบิกจ่ ายได้
กฎหมาย
ระเบียบ
กระทรวงการคลัง
อนุมตั ใิ ห้ จ่ายได้
มติคณะรัฐมนตรี
ข้ อบังคับ
คาสั่ ง
15
รายจ่ ายประเภทค่ าตอบแทน
ความหมายของเงินค่ าตอบแทน
เงินทีจ่ ่ ายตอบแทนให้ แก่ ผู้ปฎิบัติงาน
ให้ ทางราชการ
16
รายจ่ ายประเภทค่ าตอบแทน
ความหมาย : เงินทีจ่ ่ ายตอบแทนให้ แก่ ผู้ปฏิบัติงาน
ให้ แก่ทางราชการ
ลักษณะ  เงินเดือน
 นอกเหนือเงินเดือน
 นอกเวลาราชการปกติ
 นอกเหนืองานในหน้ าที่
 เงินเพิม่ รายเดือน
17
ระเบียบ กค. ว่ าด้ วยค่ าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน
ของข้ าราชการ และลูกจ้ างประจาฯ 2547 และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม
หลักเกณฑ์
1. ข้ าราชการได้ เงินเดือน + ตาแหน่ ง ให้ ได้ ค่าตอบแทน
เท่ ากับเงินตาแหน่ ง เว้ น ระดับ 7
2. ข้ าราชการที่ได้ เงินเดือนระดับ 8 8ว หรือเทียบเท่ า
ให้ ได้ รับ 3,500 บาท
3. ข้ าราชการ 1-7 - เงินเดือนยังไม่ เต็มขั้น
- เงินเดือนเต็มขั้น
18
(1) มีข้นั เหลืออยู่ 1.5 ขั้น ให้ ได้ รับเงินค่ าตอบแทนเพิม่ 2% ของอัตราเงินเดือนหรือ
ค่ าจ้ างทีถ่ ึงขั้นสู ง
(2) มีข้นั เหลืออยู่ 1 ขั้น ให้ ได้ รับเงินค่ าตอบแทนเพิม่ 4% ของอัตราเงินเดือนฯ
(3) มีข้นั เหลืออยู่ 0.5 ขั้น ให้ ได้ รับเงินค่ าตอบแทนเพิม่ 6% ของอัตราเงินเดือนฯ
(4) ได้ รั บ เงิ น เดื อ นหรื อ ค่ า จ้ า งขั้ น สู งของอั น ดั บ หรื อ ต าแหน่ ง ให้ ได้ รั บ เงิ น
ค่าตอบแทนเพิม่ 8% ของอัตราเงินเดือนฯ
4. หากได้ รับเงินเดือนหรื อค่ าจ้ างขั้นสู งของอันดับหรื อตาแหน่ งและได้ รับเงิน
ตอบแทนพิเศษตามระเบียบ พ.ศ. 2544 และได้ ปรั บเงินเดือนหรื อค่ าจ้ างแล้ ว
ให้ ได้ รับเงินค่าตอบแทนเพิม่ 8% ของอัตราเงินเดือนหรือค่ าจ้ างที่ถึงขั้นสู ง
5. หากพ้นหรือเลือ่ นอันดับหรือตาแหน่ ง ให้ งดจ่ ายเงินค่ าตอบแทน
19
แก้ไข
ข้ อ 5
ข้ าราชการพลเรือนทีไ่ ด้ รับเงินประจาตาแหน่ ง
• ให้ ได้ รับค่ าตอบแทนรายเดือน = อัตราเงินประจาตาแหน่ ง
• ยกเว้ น ผู้ทไี่ ด้ รับเงินประจาตาแหน่ งประเภทวิชาการ ระดับชานาญการ
ซึ่งเดิมเคยดารงตาแหน่ งระดับ 7 ไม่ มสี ิ ทธิได้ รับค่ าตอบแทนรายเดือน
แก้ไข
ข้ อ 6
ผู้ดารงตาแหน่ งประเภทวิชาการ ระดับชานาญการพิเศษ, ประเภททัว่ ไป ระดับอาวุโส
(c7-8) เฉพาะผู้ทเี่ คยดารงตาแหน่ งระดับ 8 หรือ 8 ว ซึ่งไม่ ได้ รับเงินประจาตาแหน่ ง
ให้ ได้ รับค่ าตอบแทนพิเศษรายเดือน 3,500 บาท
กาหนด
เพิม่
ประเภททัว่ ไป ระดับปฏิบัติงาน , ชานาญงาน , อาวุโส
ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบตั ิการ , ชานาญการ
• ทีเ่ คยมีสิทธิได้ รับเงินค่ าตอบแทน (เงินดาว) ให้ ได้ รับในอัตราทีเ่ คยได้ รับต่ อไป
• กรณีพ้นจากประเภทตาแหน่ งหรือระดับดังกล่ าว ไม่ ว่าเหตุใด ให้ งดจ่ าย
• การจ่ ายเงินค่ าตอบแทน (เงินดาว) เป็ นการจ่ ายชั่วคราว หากมีการปรับโครงสร้ าง
เงินเดือน กค. จะพิจารณาปรับปรุงหลักเกณฑ์ และอัตราการจ่ าย เพือ่ ให้ สอดคล้ องกับ
โครงสร้ างเงินเดือนของข้ าราชการทีป่ รับใหม่ ต่อไป
20
ระเบียบว่ าด้ วยการเบิกจ่ ายเงินเพิม่ การครองชีพชั่วคราวของ
ข้ าราชการและลูกจ้ างประจาของส่ วนราชการ พ.ศ. 2548
และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม
ผู้มสี ิ ทธิ
- ข้ าราชการพลเรือน
- ข้ าราชการทหาร ไม่ รวมถึงนักเรียนในสั งกัด
กระทรวงกลาโหม
- ข้ าราชการตารวจ ไม่ รวม พลตารวจสารอง
- ลูกจ้ างประจา
- ทหารกองประจาการ
- ข้ าราชการรัฐสภา
- ครู และบุคลากรทางการศึกษา
- ข้ าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
- ข้ าราชการฝ่ ายอัยการประเภทข้ าราชการธุรการ
21
เกณฑ์ การจ่ ายเงินเพิม่ การครองชีพชั่วคราว
1. ผูม้ ีสิทธิได้รับเงินเดือนหรื ออัตราค่าจ้างไม่เกินเดือนละ 11,700 บาท ได้รับ เงิน
เพิม่ การครองชีพชัว่ คราวเดือนละ 1,500 บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนฯ แล้ว
ต้องไม่เกินเดือนละ 11,700 บาท
แต่ถา้ เงินเพิม่ ฯ รวมกับเงินเดือนฯ แล้วไม่ถึง 8,200 บาท ให้ได้รับ
เงินเพิ่มฯ เพิ่มขึ้น เมื่อรวมกับเงินเดือนฯ เป็ น 8,200 บาท
2. การเบิ ก จ่ ายจากเงิ น งบประมาณงบใด รายการใด ให้เ ป็ นไปตามที่ ส านัก
งบประมาณกาหนด
22
ไม่ ใช้ บังคับกับผ้ ูมสี ิ ทธิตาม
 ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่ าด้ วยเงินเพิม่
สาหรับตาแหน่ งพนักงานสอบสวนคดีพเิ ศษ
เจ้ าหน้ าที่คดีพเิ ศษ
 ระเบียบคณะกรรมการกฤษฎีกาว่ าด้ วยการ
กาหนดตาแหน่ งนักกฎหมายกฤษฎีกา
23
 ยกเลิกบัญชีเงินเพิม่ ฯ และให้ ส่วนราชการ
คานวณอัตราการจ่ ายเงินเพิม่ ฯ ตามหลักเกณฑ์ ใหม่
 ให้ ผู้มสี ิ ทธิได้ รับเงินเพิม่ ฯ เต็ม ตามสิ ทธิที่
คานวณได้ เพือ่ ให้ สอดคล้องกับการจ่ ายเงินในระบบ
GFMIS
24
มีผลใช้ บังคับกับ
- อาสาสมัครทหารพราน
- สมาชิกกองอาสารักษาดินแดน
- พนักงานราชการ
- ลูกจ้างเงินนอกงบประมาณ
25
เงินตอบแทน
การปฏิบัติงานนอกเวลา
26
“ข้ าราชการ” หมายความว่า
- ข้าราชการพลเรื อน
- ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
- ข้าราชการฝ่ ายอัยการประเภทข้าราชการธุรการ
- ข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา
- ข้าราชการรัฐสภา
- ข้าราชการตารวจ
- ข้าราชการทหาร
27
“เ งิ น ต อ บ แ ท น ” ห ม า ย ค ว า ม ว่ า เ งิ น ที่ จ่ า ย ใ ห้ แ ก่
ข้ า ราชการที่ ป ฏิ บ ั ติ ง านตามหน้ า ที่ ป กติ โดยลั ก ษณะง าน
ส่ วนใหญ่ตอ้ งปฏิบตั ิงานในที่ต้ งั สานักงานและได้ปฏิบตั ิงานนั้น
นอกเวลาราชการในที่ต้ งั สานักงาน หรื อ
โ ด ย ลั ก ษ ณ ะ ง า น ส่ ว น ใ ห ญ่ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ง า น น อ ก
ที่ต้ งั สานักงานและได้ปฏิบตั ิงานนั้นนอกเวลาราชการนอกที่ต้ งั
สานักงาน และหรื อ
โดยลักษณะงานปกติตอ้ งปฏิบตั ิงานในลักษณะเป็ นผลัด
หรื อกะและได้ปฏิบตั ิงานนั้นนอกผลัดหรื อกะของตน”
28
“การปฏิบตั ิงานเป็ นผลัดหรื อกะ หมายความว่า
การปฏิ บ ัติ ง านประจ าตามหน้ า ที่ ป กติ ข อง
ข้า ราชการในส่ ว นราชการนั้น ๆ ซึ่ ง จัด ให้มี
การปฏิบตั ิงานผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันตลอด
2 4 ชั่ ว โ ม ง ช่ ว ง เ ว ล า ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น
ดั ง กล่ าวถื อเป็ นเวลาราชการปกติ ของ
ข้าราชการผูน้ ้ ัน ทั้งนี้ การปฏิ บตั ิ งานในผลัด
หรื อกะหนึ่ ง ๆ ต้ อ งมี เวลาไม่ น้ อ ยกว่ า
7 ชัว่ โมง (ไม่รวมเวลาหยุดพัก)”
29
ต้ องได้ รับอนุมัติจากหัวหน้ าส่ วนราชการเจ้ าของ
งบประมาณก่ อ นการปฏิ บั ติ ง านนอกเวลาราชการ
โดยให้ พิ จ ารณาเฉพาะช่ วงเวลาที่ จ าเป็ น และให้
คานึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้ องกับระบบและ
วิธีการงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
กรณีที่มี ร าชการจ าเป็ นเร่ ง ด่ วนต้ อ งปฏิ บั ติง าน
นอกเวลาราชการ โดยยังไม่ ได้ รับอนุมัติให้ ขออนุมัติ
จากผู้ มี อ านา จโดย ไม่ ชั กช้ า แล ะให้ แ จ้ งเห ตุ
แห่ งความจาเป็ นทีไ่ ม่ อาจขออนุมตั กิ ่ อนได้
30
 ข้ า ร า ช ก า ร ผู ้ ไ ด้ รั บ ค า สั่ ง ใ ห้ เ ดิ น ท า ง
ไปราชการไม่มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนนอกเวลา
ราชการ เว้นแต่ ได้รับอนุ มตั ิให้ปฏิบ ตั ิงานนอก
เวลาราชการก่อนการเดิ นทาง เมื่ อการเดิ นทาง
ไ ป ร า ช ก า ร นั้ น เ ส ร็ จ สิ้ น ห รื อ เ ส ร็ จ สิ้ น
การฝึ กอบรมในแต่ละวันและกลับถึงสานักงาน
ในวันเดียวกัน ให้เบิกเงินตอบแทนได้
31
การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในวันทาการ
ใ ห้ มี สิ ท ธิ เ บิ ก เ งิ น ต อ บ แ ท น ไ ด้ ไ ม่ เ กิ น
วันละ 4 ชั่วโมง ในอัตราชั่วโมงละ 50 บาท
การปฏิบัติงานในวันหยุดราชการ ให้ มีสิทธิ
เบิ ก เงิ น ค่ า ตอบแทนได้ ไ ม่ เ กิน วัน ละ 7 ชั่ ว โมง
ในอัตราชั่วโมงละ 60 บาท
32
กรณีมีความจาเป็ นต้ องปฏิบัติงานซึ่ งเป็ นภารกิจ
หลั ก ของหน่ วยงานเป็ นครั้ งคราวหรื อ เป็ นไปตาม
นโยบายของรั ฐ บาลที่ ม อบหมายให้ ห น่ ว ยงานปฏิ บั ติ
โดยมีกาหนดระยะเวลาแน่ นอนและมีลักษณะเร่ งด่ ว น
เพื่อ มิ ใ ห้ เ กิด ความเสี ย หายแก่ ร าชการหรื อ ประโยชน์
สาธ าร ณ ะ หั วหน้ าส่ วนร า ชก าร อ าจสั่ ง ก าร ใ ห้
ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการติดต่ อกัน โดยให้ มีสิ ทธิเบิก
เงิ น ตอบแทนเป็ นรายครั้ งไม่ เ กิ น ครั้ งละ 7 ชั่ ว โมง
ในอัตราชั่วโมงละ 60 บาท
33
 การปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการหลาย
ช่วงเวลาภายในวันเดียวกันให้นบั เวลาปฏิบตั ิงาน
นอกเวลาราชการทุกช่วงเวลารวมกัน เพื่อเบิกเงิน
ตอบแทนสาหรับวันนั้น
 การปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการที่ มีสิ ทธิ
ได้รับค่าตอบแทนอื่นของทางราชการสาหรับ
การปฏิบตั ิงานนั้นแล้ว ให้เบิกได้ทางเดียว
34
การปฏิบัติงานดังต่ อไปนี้ ไม่ อาจเบิกเงินตอบแทน
 การอยูเ่ วรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการรักษา
ความปลอดภัยแห่งชาติหรื อตามระเบียบหรื อคาสัง่
ที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการ
 การปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการไม่เต็มจานวนชัว่ โมง
35
◊ ลูกจ้ างประจาและลูกจ้ างชั่วคราวทีไ่ ด้ รับ
ค่ าจ้ างจากเงินงบประมาณ มีสิทธิได้ รับ
เงินตอบแทนฯ ตามระเบียบว่ าด้ วยการจ่ าย
ค่ าจ้ างลูกจ้ างของส่ วนราชการ พ.ศ. 2526
และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม โดยให้ นาหลักเกณฑ์ และ
อัตราเงินตอบแทนตามระเบียบนีม้ าใช้
โดยอนุโลม
36
* พนักงานราชการมีสิทธิได้ รับเงินตอบแทนฯ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่ าด้ วย
พนักงานราชการ พ.ศ. 2547 และประกาศ
คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง
ค่ าตอบแทนและสิ ทธิประโยชน์ ของพนักงาน
ราชการ (ฉบับที่ 3)
37
 ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง ไ ด้ ก า ห น ด
แบบฟอร์ ม ประกอบการเบิ ก จ่ า ยเงิน
ตอบแทน ซึ่งส่ วนราชการอาจกาหนด
รายละเอียดเพิ่มเติมจากแบบฟอร์ ม ได้
ตามความเหมาะสม
38
เบีย้ ประชุมกรรมการ
39
ยกเลิก
เบีย้ ประชุมกรรมการ
1. พ.ร.ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ.ศ. 2523
2. พ.ร.ฎ. เบี้ยประชุมและค่าตอบแทนที่ปรึ กษา
ซึ่ งนายกรัฐมนตรี แต่งตั้ง พ.ศ. 2523
3. มติ ครม. กาหนดเงินสมนาคุณรายเดือน
 พ.ร.ฎ. เบีย้ ประชุ มกรรมการ พ.ศ. 2547 (มีผลใช้ บังคับตั้งแต่
วันที่ 1 มกราคม 2548 เป็ นต้ นไป) และที่แก้ไขเพิม่ เติม ฉบับที่ 2
พ.ศ. 2550 (มีผลใช้ บังคับตั้งแต่ วนั ที่ 18 ตุลาคม 2550 เป็ นต้ นไป)
40
คณะกรรมการคณะอนุกรรมการทีม่ ีสิทธิได้ รับเบีย้ ประชุ ม
แต่ งตั้งโดย
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
ก.ม. /ประกาศพระบรมราชโองการ
ประธานรัฐสภา ประธานสภาผูแ้ ทนฯ ประธานวุฒิสภา
คณะรัฐมนตรี /รัฐมนตรี เจ้าสังกัด ซึ่งได้รับอนุมตั ิจาก ครม.
นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
คณะกรรมการ
คณะกรรมการ
(1) – (4)
คณะอนุกรรมการ (1) – (5)
41
กรรมการ
ลักษณะเบีย้ ประชุม
(1) รายเดือน :
- แต่ งตั้งโดย ก.ม. ประกาศพระบรมราชโองการ
- มีหน้ าที่ความรับผิดชอบสู ง กาหนดนโยบายซึ่งมีผลกระทบ
ต่ อการบริหาร เศรษฐกิจ สั งคม ในภาพรวมของประเทศ
- รายชื่อและอัตราตามที่ ร.ม.ต. คลังกาหนด
(2) รายครั้ง :
- แต่ งตั้งโดย กม. ประกาศพระบรมราชโองการ นอกจาก (1)
- โดยประธานรัฐสภาประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา
- โดย ค.ร.ม. นายก หรือ ร.ม.ต. ซึ่งได้ รับอนุมัตจิ าก ค.ร.ม.
42
ลักษณะเบีย้ ประชุม (ต่ อ)
อนุกรรมการ
(1) รายเดือน :
- คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการทีไ่ ด้ รับรายเดือน
- มีหน้ าที่ความรับผิดชอบสาคัญพิเศษ
- ตามรายชื่อและอัตราที่ ร.ม.ต. คลังกาหนด
(2) รายครั้ง :
- คณะอนุกรรมการนอกจาก (1)
- อ.ก.พ. กระทรวง ทบวง กรม ให้ ได้ รับเฉพาะ
บุคคลต่ างส่ วนราชการและบุคคลภายนอก
43
อัตราเบีย้ ประชุม
 รายเดือน
- ตามรายชื่อและอัตราที่ ร.ม.ต. คลังประกาศกาหนด
- ได้ รับเฉพาะเดือนทีเ่ ข้ าร่ วมประชุ ม
 รายครั้ง
- กรรมการ
ครั้งละไม่ เกิน 1,200 บาท
- อนุกรรมการ
”
800 บาท
- ประธานเพิม่ 1 ใน 4
- รองประธานเพิม่ 1 ใน 8
- เลขานุการไม่ เกิน 1 คน ผู้ช่วยเลขานุการไม่ เกิน 2 คน
44
ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
ได้ รับเบีย้ ประชุมเช่ นเดียวกับกรรมการ
และเฉพาะที่ปรึกษาซึ่งได้ รับแต่ งตั้งโดย
กฎหมาย/ประกาศพระบรมราชโองการ
45
ต้ องมีกรรมการ อนุกรรมการ
มาประชุมอย่ างน้ อยกึง่ หนึ่ง
จึงจะเป็ นองค์ ประชุมและ
มีสิทธิเบิกเบีย้ ประชุม
46
ก ร ณี ก ร ร ม ก า ร ห รื อ อ นุ ก ร ร ม ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง
โ ด ย ต า แ ห น่ ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม ไ ด้
แต่ มอบหมายให้ ผู้อื่นเข้ าร่ วมประชุ มแทน โดยทาเป็ น
หนั ง สื อหรื อ มี ห ลั ก ฐานการมอบหมาย ให้ ถื อ ว่ า
ผู้ได้ รับมอบหมายปฏิบัติหน้ าที่ในฐานะกรรมการหรื อ
อนุ ก รรมการแทนผู้ ด ารงต าแหน่ ง นั้ น ๆ ให้ นั บ เป็ น
องค์ ประชุมและมีสิทธิได้ รับเบีย้ ประชุม
47
ระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่ าด้ วยการเบิกจ่ ายเงินเกีย่ วกับค่ าใช้ จ่าย
ในการบริหารงานของส่ วนราชการ
พ.ศ. 2549
48
เจตนารมณ์ของระเบียบ
เพื่อให้ ส่วนราชการสามารถเบิกจ่ ายเงิน
เกีย่ วกับค่ าใช้ จ่ายในการบริหารงาน ได้ สะดวก
คล่ องตัว มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ บริ หาร
จัดการ ได้ อย่ างเหมาะสม โดยไม่ ต้องอ้ างอิง
หนังสื อสั่ งการหลายฉบับ
49
ในระเบียบนี้
ส่ วนราชการ หมายถึ ง ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี
กระทรวง ทบวง กรม ส่ วนราชการที่เรียกชื่ออย่ างอืน่ ที่
มีฐานะเป็ นหรื อเทียบเท่ า กระทรวง ทบวง กรม ส่ ว น
ราชการที่เรี ยกชื่ ออย่ างอื่นซึ่ งไม่ มีฐานะเป็ นกรมแต่ มี
หัวหน้ าส่ วนราชการซึ่งมีฐานะเป็ นอธิบดี และราชการ
บริหารส่ วนภูมภิ าค
50
ค่ าใช้จ่าย หมายถึง ค่ าใช้จ่ายในการ
บริ ห ารงานของส่ ว นราชการที่ เ บิ ก จ่ า ยจาก
งบด าเนิ น งานในลั ก ษณะ ค่ า ตอบแทน
ใช้ส อยและวัส ดุ ค่ า สาธารณู ป โภค หรื อ
งบรายจ่ ายใดที่เบิกจ่ ายในลักษณะเดียวกัน
51
(ข้ อ 6)
1. ค่ าใช้ จ่ายใดทีม่ กี ฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ
หรื อ มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ก าหนดไว้ เป็ นการเฉพาะ
ให้ หั ว หน้ า ส่ วนราชการเจ้ า ของงบประมาณเบิ ก จ่ า ย
ค่ าใช้ จ่ายดังกล่ าวตามทีก่ าหนดไว้ เช่ น
52
ค่ าใช้ จ่ายที่กาหนดโดยกฎหมาย ได้ แก่
 กฎหมายว่ าด้ วยเบีย้ ประชุมกรรมการ
 กฎหมายว่ าด้ วยค่ าใช้ จ่ายในการเดินทางไปราชการ
เป็ นต้ น
53
ค่ าใช้ จ่ายที่กาหนดโดยระเบียบกระทรวงการคลัง ได้ แก่
 ค่ าใช้ จ่ายในการรั บรองชาวต่ างประเทศ
ค่ าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรม การจัดงาน และการประชุ ม
ระหว่ างประเทศ
 ค่ าใช้ จ่ายเกีย่ วกับศพข้ าราชการและลูกจ้ างประจา
ซึ่งถึงแก่ ความตายในระหว่ างเดินทางไปราชการ เป็ นต้ น
54
ค่ าใช้ จ่ายที่กาหนดโดยมติคณะรัฐมนตรี ได้ แก่
 การประกันภัยทรัพย์ สินของรัฐ
 การเช่ ารถยนต์ ของส่ วนราชการ
 การจ่ า ยเงิ น ค่ า ตอบแทนเหมาจ่ า ยแทนการจั ด หา
รถประจาตาแหน่ ง เป็ นต้ น
55
ค่ าใช้ จ่ายที่กาหนดโดยหนังสื อเวียน สั่ งการ ได้ แก่
• ค่ าผ่ านทางด่ วนพิเศษ เป็ นต้ น
56
(ข้ อ 7)
(1)
(2)
ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินการตามสั ญญาอนุญาโตตุลาการ
เช่ น ค่ าป่ วยการอนุญาโตตุลาการ
ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินคดี เช่ น ค่ าธรรมเนียม ค่ า
ทนายความ ค่ าเสี ยหาย ดอกเบีย้ ค่ าการบังคับคดี
2. ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ หั ว หน้ า ส่ วนราชการเจ้ า ของงบประมาณเบิ ก จ่ ายได้
เ ท่ า ที่ จ่ า ย จ ริ ง ต า ม อั ต ร า ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ น ก ฎ ห ม า ย สั ญ ญ า
อนุ ญาโตตุลาการ คาชี้ขาดอนุ ญาโตตุลาการ คาสั่ งหรื อคาพิพากษา
ของศาลแล้ วแต่ กรณี
57
(ข้ อ 8)
ค่ าสิ นไหมทดแทนที่ ผ้ ู เสี ยหายยื่ น ค าขอให้
หน่ วยงานของรั ฐชดใช้ กรณีเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐได้ กระทา
ละเมิดต่ อผู้เสี ยหายในการปฏิบัตหิ น้ าที่
ให้ เ บิ ก จ่ า ยตามระยะเวลาและอั ต ราที่ ก ระทรวง
การคลังกาหนด
58
(ข้ อ 9)
การเบิกจ่ ายเงินค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินการตามกฎหมาย
ตามสั ญญาอนุญาโตตุลาการ การดาเนินคดีและค่ าใช้ จ่ายเกี่ยวกับ
ค่ าสิ นไหมทดแทน
ให้ เบิกจ่ ายได้ โดยพลัน แต่ ต้องไม่ เกิน 30 วัน นับแต่ วันที่
ก าหนดในสั ญ ญา ได้ รั บ แจ้ ง ค าชี้ ข าด ค าสั่ ง หรื อ ค าพิ พ ากษา
ถึงทีส่ ุ ดหรือระยะเวลาทีก่ ระทรวงการคลังกาหนด
เว้ น แต่ มี เ หตุ จ าเป็ นไม่ อ าจเบิ ก จ่ า ยได้ ทั น ให้ เ บิ ก จ่ า ย
ภายใน 30 วัน นับแต่ วนั ที่อาจเบิกจ่ ายได้
59
(ข้ อ 10)
3. ค่ าเช่ าและค่ าบริการอืน่ ใดที่เกีย่ วกับการเช่ า
ค่าเช่าอาคารปฏิบตั ิงาน/เก็บเอกสาร
เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริ งไม่เกิน 500 บาท/ตร.ม./เดือน
กรณี มีความจาเป็ น ให้จ่ายได้ไม่เกิน 50,000 บาท/เดือน
ค่าเช่าที่ดิน
เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริ งไม่เกิน 50,000 บาท/เดือน
60
หากจาเป็ นต้ องเบิกจ่ ายเกินอัตราที่กล่ าวให้ หัวหน้ า
ส่ วนราชการเบิกจ่ ายได้ ตามที่จ่ายจริง ไม่ เกินอัตราท้ องตลาด
และบันทึกเหตุผลทีต่ ้ องเบิกจ่ ายในอัตรานั้นด้ วย
กระทรวงการคลังอาจประกาศกาหนดอัตราค่ าเช่ า
ให้ เหมาะสมกับสภาวการณ์ กไ็ ด้
61
(ข้ อ 11)
4. ค่ า ใช้ จ่ ายในการด าเนิ น งานตามภารกิ จ ปกติ ห รื อ
ตามนโยบายของทางราชการดั ง ต่ อ ไปนี้ ให้ หั ว หน้ า
ส่ วนราชการใช้ ดุ ล พิ นิ จ เบิ ก จ่ ายได้ เท่ าที่ จ่ ายจริ ง
ตามความจาเป็ น เหมาะสม ได้ แก่
ค่าจ้างเอกชนดาเนินงาน
ค่าวัสดุ
การเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์
ค่าสาธารณูปโภค ยกเว้น ที่ทางราชการจ่ายแทน
ให้ขา้ ราชการหรื อลูกจ้าง ให้เบิกจ่ายตามที่กาหนด
62
ค่ าใช้ จ่ายในการประชุมราชการ
ค่ าตอบแทนล่ ามในการแปลภาษา
ค่ าโล่ ของรางวัล ของทีร่ ะลึก
ค่ าซ่ อมแซมทรัพย์ สินของทางราชการทีม่ ไิ ด้
เกิดจากการเสื่ อมสภาพหรือชารุดจากการ
ใช้ งานปกติ
63
ค่ าของทีร่ ะลึกมอบให้ ชาวต่ างประเทศ
- กรณีเดินทางไปราชการต่ างประเทศชั่วคราว
- กรณีชาวต่ างประเทศเดินทางมาประเทศไทย
ค่ าใช้ จ่ายอืน่ ที่กระทรวงการคลังกาหนด
64
ที่ กค 0502 / ว 101 ลว. 10 ก.ค. 2533
 จ่ ายเงินหรือก่ อหนีผ้ ูกพันในหมวดค่ าตอบแทน ใช้ สอยและ
วัสดุ หรือ หมวดอืน่ ๆ ทีเ่ บิกจ่ ายในลักษณะหมวดดังกล่ าว
 กรณีทไี่ ม่ มี กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ มติ ค.ร.ม. หรือ
รายการทีก่ ระทรวงการคลังอนุญาตให้ จ่ายในเรื่องนั้นๆ ไว้ แล้ ว
 ดุลยพินิจ หนส.ราชการอนุมตั จิ ่ ายได้ เท่ าทีจ่ ่ ายจริง จาเป็ น
ประหยัด ประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้ าทีข่ องหน่ วยงาน
65
ที่ กค 0526.5 / ว 28596 ลว. 5 ส.ค. 2540
 ค่ าใช้ จ่ายในหมวดค่ าตอบแทน ฯลฯ หรือหมวดอืน่ ฯลฯ
ให้ เป็ นไปตามการจาแนกประเภทรายจ่ ายตามงบประมาณ
 การมอบหมาย เป็ นไปตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ
แผ่ นดิน พ.ศ. 2534
 ค่ าใช้ จ่ายที่ หน. ส่ วนราชการเจ้ าของงบประมาณ
ไม่ สามารถใช้ ดุลพินิจพิจารณาอนุญาต
 ต้ องเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการปฏิบัติหน้ าทีห่ ลักโดยตรง
ตามกฎหมายหรือทีไ่ ด้ รับมอบหมายจาก ค.ร.ม.
66
ค่ าใช้ จ่ายในการจ้ างเอกชนดาเนินงาน
หลักเกณฑ์
ส่ วนราชการจาเป็ นต้ องจ้ างเอกชนดาเนินงาน
 ไม่ มผี ้ ูปฏิบัตงิ านซึ่งเป็ นงาน/โครงการใหม่
 มีผ้ ูปฏิบัติงาน แต่ ไม่ สามารถแล้ วเสร็จตามกาหนด
เนื่องจาก
- ปริมาณงานมาก
- ตาแหน่ งว่ างลง/ถูกยุบเลิก
67
 สามารถจ้ างเอกชนดาเนินงานนั้นได้
 เบิกจ่ ายจากงบดาเนินงาน ลักษณะค่ าใช้ ส อย
หากเงิน งบประมาณไม่ เ พีย งพอสามารถน าเงิน นอก
งบประมาณมาสมทบจ่ ายได้
 วิ ธี ก ารจ้ างให้ เป็ นไปตามระเบี ย บส านั ก
นายกรั ฐมนตรี ว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไข
เพิม่ เติม
68
ไม่ ถือเป็ นการจ้ างลูกจ้ างของส่ วนราชการ
เป็ นการจ้ างทาของ ไม่ ถือเป็ นการจ้ างแรงงาน
ไม่ มนี ิตสิ ั มพันธ์ ในฐานะ “นายจ้ าง – ลูกจ้ าง”
ไม่ ต้องนาเงินส่ งสมทบกองทุนประกันสั งคม
มุ่งผลสาเร็จของงานทีจ่ ้ างภายในระยะเวลาทีก่ าหนด
จ้ างเอกชนทีม่ ฐี านะเป็ นนิตบิ ุคคลหรือบุคคลธรรมดาก็ได้
69
ค่ า ตอบแทนอื่น ๆ ค่ า ล่ วงเวลา ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ
เดินทางต้ องกาหนดไว้ ในสั ญญาจ้ าง
ส่ วนราชการผู้ว่าจ้ างไม่ มีอานาจควบคุ ม บังคับ
บั ญ ชา มี อ านาจเพี ย งตรวจตรางาน สั่ ง ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข
ไม่ อ ยู่ ภ ายใต้ ก ฎ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ตามที่ ลู ก จ้ า งของ
ทางราชการต้ องปฏิบัติ
70
การเบิกจ่ ายเงินค่ าใช้ จ่ายในการประชุมราชการ
ตามระเบี ย บฯ หั ว หน้ าส่ วนราชการใช้ ดุ ล พิ นิ จ
เบิกจ่ ายได้ ตามความจาเป็ นและเหมาะสม
หลักเกณฑ์ ตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ด่ วนที่ สุด
ที่ กค 0409.6/ว 102 ลงวันที่ 29 มิ.ย. 2548
- ค่ าอาหารว่ างและเครื่องดืม่ ค่ าอาหาร
- ค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น ที่ จ าเป็ นและเกี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด
ประชุ ม เช่ น ค่ าเช่ าห้ องประชุ ม ค่ าดอกไม้ ตกแต่ งสถานที่
เป็ นต้ น
71
(ข้ อ 12)
5. ค่ าใช้ จ่ายเกี่ยวกับค่ าตอบแทนที่ไม่ ได้ กาหนดไว้
ในระเบียบนี้
ให้ หัวหน้ าส่ วนราชการเจ้ าของงบประมาณ
เบิกจ่ ายตามทีก่ ระทรวงการคลังกาหนด
72
(ข้ อ 13)
6. ให้ หัวหน้ าส่ วนราชการเจ้ าของงบประมาณกากับดูแล
การเบิกจ่ ายให้ เป็ นไปตามระเบียบ
หากเบิก จ่ า ยไม่ เป็ นไปตามระเบี ยบและทางราชการ
ได้ รั บ ความเสี ย หายให้ ด าเนิ น การตามระเบี ย บว่ า ด้ ว ย
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
73
การเบิกจ่ ายเงินค่าตอบแทนเหมาจ่ าย
แทนการจัดหารถประจาตาแหน่ งสาหรับ
ข้ าราชการผู้มสี ิ ทธิได้ รถประจาตาแหน่ ง
74
หลักเกณฑ์
1. ต้ องเป็ นข้ าราชการผู้ดารงตาแหน่ งที่มีสิทธิได้ รถประจา
ตาแหน่ งตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยรถราชการ
พ.ศ. 2523 และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม ได้ แก่
ข้ าราชการซึ่ งกฎหมายบัญญัติให้ เป็ นผู้บังคับบัญชา
ตั้ ง แต่ ระดั บ ผู้ ช่ วยหั ว หน้ าส่ วนราชการ รองหั ว หน้ า
ส่ วนราชการ หั ว หน้ า ส่ วนราชการขึ้นไป ผู้ ตรวจราชการ
ระดับกระทรวง และเอกอัครราชทูตประจากระทรวง
75
ข้ า ราชการประจาในต่ า งประเทศ ได้ แ ก่ เอกอัค รราชทู ต
อัครราชทูต อัครราชทูตที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา ผู้ช่วยทูตฝ่ ายกิจการ
พิเศษ กงสุ ลใหญ่ และหัวหน้ าสานักงานในต่ างประเทศ
หั ว หน้ าส่ วนราชการอาจพิ จ ารณาจั ด สรรรถประจ า
ตาแหน่ งสาหรั บผู้ดารงตาแหน่ งที่ปรึ กษาหรื อผู้ ทรงคุณวุฒิใน
ระดับ 11 และระดับ 10
- ซึ่งเคยดารงตาแหน่ งที่มีสิทธิได้ รับการจัดรถประจา
ตาแหน่ งมาแล้ ว
- และได้ รั บ มอบหมายจากหั ว หน้ า ส่ วนราชการ
ให้ รับผิดชอบงานด้ านบริหารที่มีอานาจการบังคับบัญชาได้
76
ข้ าราชการในสั งกัดกระทรวงกลาโหม
ได้ แก่
ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่ าด้ วยรถราชการ พ.ศ. 2525
-นายทหารยศชั้นนายพลดารงตาแหน่ งตั้งแต่ เจ้ ากรม
หรือเทียบเท่ าขึน้ ไป
-นายทหารยศชั้ น นายพล พัน เอก นายาเอก นาวา
อากาศเอก ที่รับเงินเดือนอัตราพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษและ
นาวาอากาศเอกพิ เ ศษซึ่ ง ด ารงต าแหน่ ง เป็ นรอง ผู้ ช่ วย และ
เสนาธิการหรือเทียบเท่ าตาแหน่ งข้ างต้ น
-นายทหารชั้ นยศนายพลที่เทียบกับข้ าราชการของ
ส่ วนราชการนอกกระทรวงกลาโหม ซึ่ง ค.ร.ม. อนุมัติให้ ได้ รับรถ
ประจาตาแหน่ ง
77
2. อัตราการจ่ าย
ระดับรองอธิ บดีหรื อเทียบเท่า 25,000 บาท/คน/เดือน
ระดับอธิ บดีหรื อเทียบเท่า 31,800 บาท/คน/เดือน
ระดับปลัดกระทรวงหรื อเทียบเท่า 41,000 บาท/คน/เดือน
78
• 3. ให้ ข้าราชการผู้มีสิทธิเป็ นผู้เลือกว่ าจะใช้ รถประจาตาแหน่ ง
หรือรับเงินค่ าตอบแทนเหมาจ่ ายฯ
3.1 ผูด้ ารงตาแหน่งหัวหน้าส่ วนราชการสามารถใช้สิทธิเลือก
ได้ใหม่ ตั้งแต่วนั ที่ 2 ธ.ค. 2551 (ครม. มีมติ) ทั้งกรณี เลือกรับ
รถประจาตาแหน่ งหรื อรับเงินค่าตอบแทนฯ โดยมีเงื่อนไขว่า
เมื่อใช้สิทธิ เลือกแล้ว จะเปลี่ยนแปลงได้ต่อเมื่อผูด้ ารงตาแหน่ง
ดังกล่าวเลื่อนระดับหรื อโยกย้ายไปดารงตาแหน่งใหม่
กรณี รองหัวหน้าส่ วนราชการที่มีสิทธิ ฯ อยู่ก่อนและหลัง
มติ ครม. ในครั้งนี้ คงต้องถือปฏิบตั ิตามสิ ทธิที่เลือกไว้เดิม
79
3.2 ผูม้ ีสิทธิ ที่จะเกษียณอายุในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 แต่
ได้เลือกรับเงินค่าตอบแทนเหมาจ่ายฯ ก่อนแล้ว หากประสงค์
ขอให้หน่วยงานจัดรถประจาตาแหน่งให้ หากส่ วนราชการไม่มี
รถให้ ด าเนิ น การจ้ า งเหมาบริ การโดยท าสั ญ ญาไม่ เ กิ น
1 ปี งบประมาณ
• 4. เมื่ อ เลือ กรั บ เงิ น แล้ ว ให้ ข้ า ราชการจั ด หารถยนต์ ส่ วนตั ว
ที่เหมาะสมกับเกียรติและฐานะที่ดารงอยู่มาใช้ ในการปฏิบัติ
ราชการ
80
5. ห้ ามนารถยนต์ ส่วนกลางหรื อรถประจาตาแหน่ ง ของ
ส่ วนราชการมาใช้ ในการปฏิบัติราชการ หากฝ่ าฝื นถื อเป็ น
ความผิดวินัย
ยกเว้ น กรณีได้ รับคาสั่ งให้ เดินทางไปราชการ
6. การเปลี่ยนแปลงประเภทรถ ให้ ถือปฏิบัติตามระเบี ยบ
สานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยรถราชการ พ.ศ. 2523 ข้ อ 9
7. เบิ ก จ่ ายเงิ น ฯ ตามที่ ส านั ก งบประมาณก าหนด
(งบดาเนินงานลักษณะค่ าตอบแทน)
81
การทาประกันภัยของภาคราชการ
 การประกันภัยทรัพย์ สินของรัฐ
 การประกันภัยรถราชการ
82
หลักเกณฑ์
สถานทีร่ าชการภายในประเทศ
•ถือหลักประกันตนเอง
•เว้ น แต่ สถานที่ ร าชการหรื อ ทรั พ ย์ สิ น ของ
รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ มี ค ลั ง เก็ บ สิ่ ง ของหรื อ โรงงานที่ อ าจ
เสี ยหายมาก เมือ่ เกิดอัคคีภยั ให้ ประกันภัยได้
สถานที่ ร าชการในต่ า งประเทศที่ เ ป็ นกรรมสิ ท ธิ์
ของรัฐบาลให้ ประกันได้
83
การประกันภัยรถยนต์ ราชการของสานักงานในต่ างประเทศ
•รถยนต์ ส่วนกลางและรถประจาตาแหน่ งให้ ประกัน ได้
ในแบบคุ้ ม ครองบุ ค คลที่ 3 หรื อ ตามที่ ก ฎหมายประเทศนั้ น
กาหนด
•หากจ าเป็ นต้อ งท าประกัน ภัย แตกต่ า งไปจากที่ ก ล่ า ว
เนื่ องจากสถานการณ์ในประเทศนั้นไม่ปลอดภัยฯ ให้ประกันได้
ตามความเห็นของกระทรวงการต่างประเทศ
•สถานฑูต สถานกงสุ ลที่ ต้ งั อยู่ในประเทศที่ มีเขตแดน
ติดกับประเทศไทย ให้ทาประกันภัยรถยนต์กบั บริ ษทั ประกันภัย
ในประเทศไทยได้ โดยคุม้ ครองความเสี ยหายถึงประเทศนั้น
84
• หากจะประกันภัยทรั พย์ สินอื่น ๆ ให้ เสนอคณะกรรมการ
กลัน่ กรองการจัดเอาประกันภัยทรัพย์ สินของรัฐพิจารณา
องค์ ประกอบคณะกรรมการ
ปลัดกระทรวงการคลัง เป็ นประธานกรรมการ
ผู้แทนสานักงบประมาณ กรมการประกันภัย
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
กระทรวงการต่ างประเทศ สานักงานอัยการสู งสุ ด
และกรมธนารักษ์ เป็ นกรรมการและเลขานุการ
85
อานาจหน้ าที่
-ก าหนดขอบเขตการจั ด เอาประกั น ภั ย
ทรัพย์ สินอืน่
-ก าหนดความหมายของ “ทรั พ ย์ สิ น ของ
ทางราชการ”และ “สถานที่ราชการ”
-พิจารณาให้ ความเห็นชอบเรื่องที่ส่วนราชการ
เสนอขอจัดเอาประกันภัย
-เชิ ญเจ้ าหน้ าที่เจ้ าของเรื่ องและเจ้ าหน้ าที่ของ
ส่ วนราชการ รั ฐวิสาหกิจ หน่ วยงานของรั ฐ เข้ า ร่ วม
พิ จ า ร ณ า ห รื อ ชี้ แ จ ง แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ต่ อ
คณะกรรมการ
86
การประกันภัยรถราชการ
หลักเกณฑ์
รถราชการ
หมายถึ ง รถราชการตามระเบี ย บส านั ก
นายกรั ฐมนตรี ว่าด้ วยรถราชการ พ.ศ. 2523 และที่แก้ ไข
เพิม่ เติม ได้ แก่ รถส่ วนกลาง รถประจาตาแหน่ ง รถรับรอง
รถรับรองประจาจังหวัดและรถอารักขา
- ที่ได้ มาโดยการซี้อ รับบริจาคหรือความช่ วยเหลือ
จากรัฐบาลต่ างประเทศ
- และขึน้ ทะเบียนครุภณ
ั ฑ์ แล้ ว
87
 ประเภทภาคบังคับ
ส่ วนราชการต้องจัดทาประกันภัยตาม พ.ร.บ. คุม้ ครอง
ผูป้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535
 ประเภทภาคสมัครใจ
- ให้พิจารณาตามความจาเป็ นและเหมาะสมกับภารกิจ
- เสนอเรื่ องขออนุมตั ิต่อคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณา
อนุมตั ิก่อนการเบิกจ่าย
88
หั ว หน้ า ส่ วนราชการหรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย
ใช้ ดุลพินิจเบิกจ่ ายค่ าใช้ จ่ายในการทาประกันภัย
เบิ ก จ่ ายจากเงิ น งบประมาณ งบด าเนิ น งาน
ลั ก ษณะค่ าตอบแทนใช้ สอยและวั ส ดุ หรื อ งบอื่ น ๆ
ทีเ่ บิกจ่ ายในลักษณะเดียวกัน
หรื อเงินรายรั บประเภทอื่นที่มิใช่ เงินงบประมาณ
เช่ น เงินรายได้ เงินบารุง เป็ นต้ น
89
รถที่ไม่ สามารถจัดทาประกันภัยได้
รถยนต์ ที่ส่วนราชการจัดหาโดยการเช่ า ตามมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2546
รถยนต์ ส่วนตัวของข้ าราชการผู้ ที่เลือกรั บเงินค่ า ตอบแทน
เหมาจ่ ายฯ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2547
รถราชการของส่ วนราชการในต่ า งประเทศให้ ถื อ ปฏิ บั ติ ต าม
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2548
90
นางนิโลบล แวววับศรี
ผู้อานวยการกลุ่มงานกฎหมายและระเบียบด้ านค่ าใช้ จ่าย
ในการบริหาร รักษาการในตาแหน่ งนิติกรเชี่ยวชาญ
โทร. 0 - 2270 - 0300
Fax 0 - 2273 - 9609
E – mail [email protected]
91