Transcript Slide 1

การดาเนินงานเชิงรุกสู่ ความสาเร็จ
ความหมาย 1). ของการทางานเชิงรุก (Proactive)
เป็ นการทางานที่ มีเป้ าหมายสู่ อนาคต การทางานเชิ งรุ ก
ต้องอาศัยข้อมูลข่าวสาร หรื อประสบการณ์ที่ได้รับมาจากอดีต
และที่ ก าลัง ประสบอยู่ในปั จ จุ บนั โดยกรอบการคิ ดจะเน้น
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต เน้นพันธกิจที่ดาเนินงานได้อย่าง
รวดเร็ ว คุม้ ค่าและมีคุณภาพ
ความหมาย 2). ของการทางานเชิงรุก (Proactive)
“Competency Dictionary ของ ก.พ.”
การเล็ ง เห็ น ถึ ง ปั ญ หาหรื อโอกาส พร้ อ มทั้ง ลงมื อ
จัด การกับ ปั ญ หานั้ น ๆ หรื อใช้ โ อกาสที่ เ กิ ด ขึ้ นให้ เ กิ ด
ประโยชน์ต่องานด้วยวิธีที่สร้างสรรค์และแปลกใหม่
ความหมาย 3). ของการทางานเชิงรุก (Proactive)
เป็ นการทางานที่มีการวางแผนงานล่วงหน้า อย่างละเอี ยด
รอบคอบ รู ้ จ ัก และรั บ ผิ ด ชอบตนเอง โดยสามารถที่ จ ะเลื อ ก
ตอบสนองแรงกระตุ ้น จากภายนอก ในมุ มมองและคุ ณ ค่ าของ
ตนเองที่ ไ ม่ ย อมตกอยู่ภ ายใต้อิ ท ธิ พ ลสิ่ ง แวดล้อ มรอบข้า งและ
สถานการณ์ภายนอกบีบบังคับให้ตอ้ งจาใจทา รวมถึงมีส ติไม่จม
ปลักอยูก่ บั ปัญหา แต่ตอบสนองด้วยสติ
การทางานเชิงรับ (Reactive)
เป็ นการกระทาเมื่อสถานการณ์บีบบังคับให้ตอบสนอง
ในบางครั้งอาจมีความรู ้สึกเข้าเกี่ยวข้องด้วย เมื่อเกิ ดข้อผิดพลาด
จะโทษสิ่ ง แวดล้อ มรอบข้า ง เงื่ อ นไขข้อ จ ากัด ต่ า งๆ โดยไม่
พิจารณาตนเองเป็ นหลัก
การทางานเชิงรุก
ต่ างจากการทางานแบบอืน่ ๆ อย่ างไร
ลักษณะที่สาคัญของการทางานเชิงรุก
มีการวางแผนล่วงหน้า
บริ หารจัดการด้วยวิจารณญาณ ด้วยความรอบคอบ
สามารถคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้ดว้ ยข้อมูลที่มีอยู่
สามารถตอบสนองความต้องการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ ว
 เป็ นการทางาน “กันไว้ดีกว่าแก้”




ประโยชน์ การทางานเชิงรุก
 องค์การสามารถเล็งเห็นวิกฤตและโอกาส
 องค์ ก รป้ องกั น ปั ญ หาที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ นในอนาคต จึ ง
สามารถเตรี ยมเรื่ องต่างๆ ไว้รองรับล่วงหน้า
 เป็ นการช่วยลดทอนความเสี ยหายอย่างทันท่วงที
 หรื อเป็ นการฉกฉวยประโยชน์ จ ากโอกาส หรื อจาก
สถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นได้อย่างทันกาล
 เป็ นการพัฒ นาบุ ค ลากรขององค์ก รให้มี อุ ป นิ สั ย ในการ
ทางาน-การคิดเชิงรุ ก
ทัศนคติที่ทาให้ เกิดการทางานเชิงรุก




การมองโลกในแง่บวก
คิดที่จะเป็ น “ผูใ้ ห้” มากกว่า “ผูร้ ับ”
ทุกอย่างย่อมต้องเป็ นไปได้
“วันพรุ่ งนี้” ย่อมดีกว่า “วันนี้”
การวางแผนการทางานเชิงรุก
ทาไมต้ องมีการวางแผน
 ทาให้มีการใช้กาลังคน วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และ
เวลาอย่างประหยัด
 ช่วยให้การปฏิบตั ิงานประสบความสาเร็ จ
 ลดความเสี่ ยง ความเสี ยหายในการปฏิบตั ิงาน
 ทาให้พนักงานเกิดการมุ่งมัน่ ร่ วมกัน เกิดการ
ประสานงาน ง่ายต่อการควบคุมงาน
การวางแผน คืออะไร
แผนกลยุทธ์และแผนดาเนินการ แสดงให้เห็นโครงช่วยการ
ปฏิบตั ิให้บรรลุภารกิจและเป้ าหมาย/วัตถุประสงค์ที่ได้ต้ งั เอาไว้
และเป็ นกระบวนการที่ได้ทราบว่าจะให้เกิดสิ่ งใดขึ้นในอนาคต
ข้ อควรระวังในการวางแผนงาน
 การกาหนดวัตถุประสงค์ไม่ชดั เจน วัดได้ยากทาให้การ
ประเมินผลทาไม่ได้
 วิธีปฏิบตั ิไม่ชดั เจนยุง่ ยากต่อการปฏิบตั ิ ไม่ยดื หยุน่
 รู ้รับผิดชอบขาดความรู ้ความสามารถในการปฏิบตั ิ
 ทรัพยากรที่มีอยูไ่ ม่เพียงพอในการสนับสนุนแผนงาน
 เกิดการประสานงา แทนการประสานงาน
 ไม่มีการตรวจสอบ ติดตามผลงานทีมีประสิ ทธิภาพ
 มีการวางแผนแต่ไม่มีการปฏิบตั ิงานตามแผน
การวิเคราะห์ งานเพือ่ จัดลาดับความสาคัญ
1. งานปกติ - งานที่นกั บริ หารทา เช่น การสอนงาน มอบหมายงาน
2. งานประจา - งานที่ทาแบบเดิมๆ ประจาวัน
3. งานเร่ งด่ วน - นโยบายเร่ งด่วน
4. งานริเริ่มสร้ างสรรค์ - นักบริ หารที่ดีตอ้ งทางานริ เริ่ มสร้างสรรค์
งานแบ่ งออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
 สาคัญ และ เร่ งด่ วน : ฝากใครทาไม่ได้ ต้องทาเอง ทันที
เร่ งด่วน รอข้าไม่ได้และต้องสาเร็ จด้วย
 สาคัญ แต่ ไม่ เร่ งด่ วน : ฝากใครทาไม่ได้ ต้องทาเอง แต่ไม่
ด่วนมาก ต้องจัดสรรเวลามาทา และต้องทาสาเร็ จด้วย
 ไม่ สาคัญ แต่ เร่ งด่ วน : ฝากคนอื่นทาได้ แต่ตอ้ งทาทันทีไม่
ควรช้า
 ไม่ สาคัญ และไม่ เร่ งด่ วน : ฝากใครทาก็ได้ ถ้าว่างจริ งๆ แล้ว
จะทางานอย่างนี้
ประโยชน์ จากการจัดลาดับความสาคัญ
1.
2.
3.
งานสาคัญ งานเร่ งด่วน เสร็ จทันเวลา
ทางานได้ครบตามลาดับความสาคัญได้มากที่สุด
มีสมาธิในการทางาน ไม่ตอ้ งพวงในหลายเรื่ องการ
ทางานไม่ซ้ าซ้อน
ศิลปะการสื่ อสารงานเชิงรุก
ประเภทของการสื่ อสาร
 การสื่ อสารด้วยการพูด (Oral)
 การสื่ อสารด้วยข้อเขียน (Write)
 การสื่ อสารที่ไม่ใช่การพูดและการเขียน/ด้วยท่าทาง (Body
Language)/ ด้วยสี
แบบแผนของการสื่ อสาร
 การสื่ อสารทางเดียว (One way Communication)
 การสื่ อสารสองทาง (Two way Communication)
เทคนิคกลวิธีและแนวคิดต่ างๆ
ในการทางานเชิงรุกให้ ประสบความสาเร็จ
รูปแบบการคิดเชิงรุก
 คิดแบบเฮลิคอปเตอร์ (Helicopter Thinking)
 คิดแบบระยะยาว (Long Term Thinking)
 คิดเชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)
 คิดแบบเฮลิคอปเตอร์ (Helicopter Thinking)
เป็ นการคิ ด ที่ ม องรายละเอี ย ดของสภาพการต่ า งๆ ให้
ครอบคลุม เพื่อเน้อความพยายามที่มุ่งสู่ความสาเร็ จ
 คิดแบบระยะยาว (long Term Thinking)
เป็ นการคิ ด ที่ ก าหนดองค์ป ระกอบต่ า งๆ ที่ ส่ ง ผลต่ อ
ความสาเร็ จในระยะ 5-10 ปี ข้างหน้า
 คิดเชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)
เป็ นการคิดที่พิจารณาการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ที่เป็ นไปได้
และเป็ นกุญแจสาคัญต่อความสาเร็ จตามเป้ าหมาย
ขั้นตอนของการคิดเชิงรุก
 ขั้นตอนรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ (Gathering information)
 จัดรู ปแบบการคิด (Formulating Idea)
 ปฏิบตั ิการวางแผน (Planning Action)
เครื่องมือต่ างๆ ที่ใช้ ในการทางานเชิงรุก
7 รู้สู่ การทางานเชิงรุก
 รู ้วิสยั ทัศน์ เป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ของงานและองค์กร
 รู ้ตาแหน่งงาน หน้าที่งาน และความรับผิดชอบ
 รู ้เทคนิค วิธีปฏิบตั ิ และการปรับปรุ งงานอย่างต่อเนื่อง
 รู ้การพัฒนาตนเอง
 รู ้การศึกษาวิเคราะห์บุคคลอื่น และการยอมรับความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
 รู ้การพัฒนาศักยภาพในเรื่ องความคิด
 รู ้การพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ทักษะการคิดเชิงรุก
 การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytic Thinking)
 การคิดเชิงตัวเลข (Numerical Thinking)
 การคิดไตร่ ตรอง (Reflective Thinking)
 การคิดเชิงพยากรณ์ (Predictive Thinking)
 การคิดจินตนาการ (Imaginative Thinking)
 การคิดเชิงประจักษ์ (Visual Thinking)
ทักษะการคิดเชิงรุก (ต่ อ)
 การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 การคิดถึงผลที่จะตามมา (Reflective Thinking)
 คิดเป็ นระบบ (System Thinking)
 คิดมีเหตุผล (Reasonable Thinking)
 คิดยืดหยุน่ (Flexible Thinking)
ทักษะการคิดเชิงรุก (ต่ อ)
 คิดรอบคอบ (Delicate Thinking)
 คิดเชิงบวก (Positive Thinking)
 คิดปราศจากอคติ
 คิดบูรณาการ (integrate Thinking)
การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
พัฒนาความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
 การระดมมันสมอง (Brainstorming) โดวิธีการนี้ จะทาให้
พนักงานทุกคนได้มีอิสรเสรี ทางความคิด มีการแสดงความ
คิดเห็นร่ วมกันในเชิงสร้างสรรค์เรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
 รายการตรวจสอบ (Checklist) วิธีการนี้จะช่วยกระตุน้ ให้
คนพิจารณาในสิ่ งที่อาจจะมองข้ามไปได้ ควรตรวจสอบให้
ละเอียดถี่ถว้ น
เก่ งกับการพัฒนาตนเอง (Self Development)
เก่งตน (self Ability)
- ทางกาย
- ทางวาจา
- ทางใจ
เก่งคน (Self Ability)
เก่งงาน (Task Ability) : โมเดลปลาทู
โมเดลปลาทู KM 2010
KV=Knowledge Vision (ส่ วนหัวปลา)
- กาหนดทิศทางและเป้ าหมายขององค์กร
- ค้นหาความรู ้ที่จาเป็ นต่อองค์กรทั้งความรู ้จาก
ภายนอกและความรู ้ภายใน
โมเดลปลาทู KM 2010 (ต่ อ)
KS=Knowledge Sharing (ส่ วนลาตัวของปลา)
- การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้ อของปลา คือการเรี ยนรู ้ จาก
กิจกรรมและเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีการและช่องทางต่างๆ
- ทางานผสานกัน สร้างบรรยากาศและชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้
- (ในบางครั้งหรื ออาจบ่อยๆ) เป็ นจุดเริ่ มต้นของการกาหนด
ทิศทางและเป้ าหมายขององค์กร ซึ่ งเป็ นแนวคิดจาก “ชุมชนแนว
ปฏิบตั ิ”
- ทาให้องค์กรเคลื่อนไหวเดิ นหน้า ดัง่ ปลาที่ว่ายน้ าไป สู่
จุดมุ่งหมาย
โมเดลปลาทู KM 2010 (ต่ อ)
KA-Knowledge Asses (ส่ วนท้ องปลา)
- เป็ นที่จดั เก็บความรู ้ที่สร้างขึ้นหรื อทีแ่ สวงหามาได้
เพื่อการนามาไว้ใช้ประโยชน์หรื อใช้งานต่อไป
- เป็ นดัง่ อาหาร (ความรู ้) ที่คอยหล่อเลี้ยงชีวิต (องค์กร)
ซึ่งความรู ้จะถูกดึงไปใช้ในส่ วนต่างๆ อยูต่ ลอดเวลา
หลักในการใช้ เครื่องมือ
ในกระบวนการแก้ปัญหาเชิงรุก
ความคิดเชิงรุกกับการทางานและการบริหารอย่ างมีระบบ
การก าหนดเป้ าหมายในปั จ จุ บนั นั้น มี ก ระบวนการ
ต่ า งๆ เข้า มาช่ ว ยในการก าหนดเป้ าหมายมากมาย แต่ ที่
ยอมรับกันมากและกาลังเป็ นที่นิยมอย่างมากในปั จจุบนั นั้น
ก็ คื อ การวางยุ ท ธศาสตร์ (กลยุ ท ธ์ Strategy) ซึ่ งสามารถ
กาหนดได้ในทุกระดับของการทางานพร้อมทั้งอาจมีตวั วัดที่
มีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อเป็ นตัวช่วยในการวัดผลการทางาน เช่น
BSC,KPI ฯลฯ
ความคิดเชิงรุกกับการทางานและการบริหารอย่ างมีระบบ
การทางานหรื อความคิดเชิงรุ กที่จะต้องเริ่ มต้นจากการวาง
ยุทธศาสตร์ (ระดับองค์กร,บุคคล) ที่ดีก่อนเป็ นอันดับแรก ซึ่ งเราอาจ
รวบรวมเป็ นแนวทาง ต่างๆ ได้ดงั นี้
 กาหนดยุทธศาสตร์
- Swot
- พันธกิจ
- กลยุทธ์
- กาหนดวิสัยทัศน์ - เป้ าหมาย
กาหนดตัววัด
- BSC
- KPI
กาหนดแนวทางการทางาน
นวัตกรรม (INNOVATION)
7 คาถามเพื่อนาไปสู่ การสร้ างนวัตกรรมพนักงานผูส้ ร้ างนวัตกรรมจะ
สามารถช่วยหาจุ ดที่ ตอ้ งการทานวัตกรรมได้โดยตั้งคาถามที่ เหมาะสม ตามชุด
คาถาม (7R) ที่สามารถช่วยให้เกิดความคิดได้ง่ายขึ้น ดังนี้
 Retching (คิดใหม่ทาใหม่)
 Reconfigure (ทบทวนการทางานใหม่)
 Reassign (มอบหมายใหม่)
 Resequence (เรี ยงลาดับใหม่)
 Relocate (สถานที่ใหม่)
 Retool (เครื่ องมือใหม่)
 Reduce (ลดทุกอย่าง)
หลักการใช้ เครื่องมือใน
ในกระบวนการแก้ ปัญหาเชิงรุ ก
การวิเคราะห์ การแก้ ปัญหา
ลาดับขั้นตอนในการวิเคราะห์ ปัญหา
 รวบรวมปั ญหาที่เกิดขึ้น
 ศึกษาผลกระทบต่างๆ จากปั ญหาที่เกิด
 กาหนดประเด็นปั ญหา
 แยกปัญหาหลักปัญหารอง
 ค้นหาวิธีแก้ปัญหาโดยใช้เครื่ องมือ
 ผลกระทบจากการแก้ปัญหา และการตัดสิ นใจ
 วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในการแก้ปัญหา
 เลือกวิธีที่จะใช้ในการแก้ปัญหา (Force Field Analysis)
 กาหนดช่วงเวลาในการแก้ปัญหา การตัดสิ นใจ
การวิเคราะห์ การแก้ ปัญหา
เครื่ องมือช่วยในการแก้ปัญหา
อริ ยสัจสี่
แผนภูมิกา้ งปลา
PP MTRIX
Mind Mapping