Transcript Slide 1

การวิจัยในคน:ข้ อกฎหมายและจริยธรรม
นายแพทย์ เกรียง อัศวรุ่ งนิรันดร์
อนุมัตบิ ัตรประสาทวิทยา
อนุมัตบิ ัตรเวชศาสตร์ ครอบครัว
นิตศิ าสตร์ บัณฑิต
เนติบัณฑิตไทย
ประกาศนียบัตรทนายความ
คดีจริยธรรมการวิจัยในคน
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 1
- Ellen Roche, a 24-year-old technician
in the Johns Hopkins Asthma and
Allergy Center,
- was recruited as a normal volunteer
in an NIH-funded study of asthma
directed by Dr. Alkis Togias
The purpose of the study was
to understand how
1. bronchodilation is maintained in
normal people by deep inspirations
in the face of a bronchoconstrictive
stimulus,
2. bronchial wall nerves and nitric oxide
release play important roles in this
process.
- Ms. Roche consented to participate
in the study on 4/16/01 and underwent
a series of methacholine challenges
over a period of 2 weeks,
in accord with the IRB-approved protocol.
- 5/4/01 she received approximately
1 gm of hexamethonium by inhalation,
given to produce ganglionic neural
blockade.
- 5/5/01 she developed a dry cough and
dyspnea on exertion (reported 5/7/01).
- 5/7/01, she had flu-like symptoms and
her FEV1 was reduced.
- 5/9/01, she was febrile, a chest X-ray
revealed streaky densities in the
right perihilar region, and her arterial
oxygen saturation fell to 84% after
walking a short distance.
- She was admitted to The Johns Hopkins
Bayview Medical Center (JHBMC)
for observation, and developed
progressive dyspnea
- and was transferred to the ICU
on 5/12/01.
- she developed pulmonary infiltrates
and worsening hypoxia, was intubated
and ventilated,
- suffered bilateral pneumothorax,
and presented a clinical picture of
adult respiratory distress syndrome
(ARDS).
- 6/2/01 She died with
progressive hypotension and
multiorgan failure.
- Of the 9 subjects who signed
the consent form and began the study,
- only 3 reached the point in the protocol
calling for hexamethonium inhalation.
- The following outlines what transpired
in each of these 3 subjects
SUBJECT #1
April 9,2001: Consent form signed
April 9,2001:Methacholine-Bronchodilation
April 25,2001:Clinical Follow-up
- Subject reported mild shortness of breath
and a non-productive cough
associated with deep inspiration.
- No other symptoms such as sputum
production, fever, or chest pain were
reported, no abnormal physical findings
May 3,2001:Clinical Follow-up
- The volunteer reported
complete resolution of symptoms
SUBJECT#2
April 10,2001:Consent form signed
April 10,2001:Methacholine-Bronchodilation
May 1,2001:Methacholine HexamethaniumBronchoprotection
- the investigators reported that there was
ptosis and that the patient appeared tired
SUBJECT#3
April 16,2001:Consent form signed
April 16,2001:Methacholine-Bronchodilation
May 4,2001:Methacholine-HexamethoniumBronchodilation
- Hexamethonium was administered
through completion of the anticipated dose
(1 gram).
- 5/5/01 The subject experienced
cough with inspiration.
- May 7, 2001 she reported rhinorrhea
and feeling hot
- May 8th she was not feeling well and was
going to see her primary care provider
(which she did and received a prescription
for an anti-tussive medication)
- May 9th, the symptoms had not resolved
and the subject was asked by the
investigator to return to the laboratory
for further evaluation.
- A chest radiograph showed abnormalities
consistent with pneumonitis,
- her temperature was 101 F and her
oxyhemoglobin saturation decreased
from 92% to 84% after walking a short
distance.
- She was admitted to the hospital
on May 9th.
- 5/12/2001, a chest CT scan demonstrated
a ground glass appearance of the lungs,
worse at the lung bases.
- Participation in the research study and
exposure to hexamethonium were known
and considered as a cause of her illness.
Steroid therapy was initiated.
- 5/14/2001, Ms. Roche was intubated
and mechanically ventilated due to
progressive respiratory failure.
- A pneumothorax developed, was treated
with a tube thoracostomy.
- Her family elected to withdraw support
and Ms. Roche died on 6/2/2001.
1. Was the study designed to address an
important scientific question?
- The research study addressed an important
scientific question about the role of
bronchial nerves in human asthma.
- The study had solid scientific rationale
and was well designed to answer the
questions posed.
- The study required human subjects
and could not have been adequately
done in experimental animals.
- The research was of particular importance
given the increasingly high prevalence of
asthma
2. Was the review of the study protocol
by the JHBMC IRB appropriate?
- The majority of the committee concluded
that an adequate evidence base did not
exist for the IRB to be confident that
- inhaled hexamethonium was safe for use
in research subjects.
- The four published papers provided to
the IRB did not mention any pulmonary
toxicity; but even in the absence of
pulmonary adverse events in the
20 subjects,
- there was uncertainty regarding the
true risk of inhaled hexamethonium.
The pulmonary toxicity associated with
oral, intramuscular, and/or subcutaneous
hexamethonium administration for
hypertension was first reported in 1953
.
The National Academy of Sciences assisted the
FDA in this review by setting up review panels.
The panels believed hexamethonium was
ineffective in the treatment of hypertension.
FDA removed the product from the market
on 8/5/72.
- The committee believes that the IRB
should have required more safety
evidence for a non-FDA approved drug
no longer in clinical use,
- and administered by a non-standard
route.
- A way to obtain evidence of safety
would have been to have
- Dr. Togias submit an IND application
to the FDA for review.
3. Was the consent form appropriate?
- it was inadequate in the description
of the research risks, and should have
indicated that
(a) hexamethonium was not FDA approved
and was no longer used clinically,
(b) hexamethonium as an inhalant was
used only experimentally, never clinically,
(c) the safety of inhaled hexamethonium
was not known with certainty since
it was based on published reports
involving a total of only 20 people, and
(d) there was a possibility of serious
adverse event or death related to
study participation.
4. Was any coercion involved in the
recruitment of the research subject?
- The committee believes that Ms. Roche
was not coerced to join Dr. Togias’ study.
Although Ms. Roche worked in the Asthma
and Allergy Center,
- she did not work in the laboratory of
the investigators who conducted this
research.
5. Was the study carried out
appropriately?
(a) Who performed the study?
- The study was carried out by a
postdoctoral Research Fellow,
Dr. George Pyrgos, under Dr. Togias’
direct supervision.
(b) Was the experiment conducted in
accordance with the approved protocol?
- A description of the proposed preparation
of the hexamethonium was approved
by the IRB,
- but the actual preparation used for
Ms. Roche was modified without
IRB approval.
- However, it is likely that the IRB would
have approved the changes in protocol,
- since the modifications were made to
improve subject comfort and make the
control solution more comparable to
the hexamethonium solution in terms of
osmolarity.
(c) What were the results in the three
research subjects?
- Dr. Togias did not inform the IRB
that Subject #1 developed a cough
and exertional dyspnea lasting 1 week
following exposure to hexamethonium
- until after Ms. Roche developed
a significant adverse pulmonary
complication and was admitted to
the hospital.
- He explained that the adverse event
in Subject #1 was not an "unexpected
and serious adverse event,"
- because it was self-limited and
required no treatment and therefore
did not require immediate reporting
to the IRB.
He further explained that
- he thought the symptoms were
related to a URI which was prevalent
in the A&AC or
- possibly to the low pH of the
hexamethonium solution
Dr. Togias also said that
- he did not seriously consider the
possibility of hexamethonium toxicity.
- Subject #2 was exposed to
hexamethonium while Subject #1 still had
pulmonary symptoms.
- Subject #2 did not report any symptoms.
- Subject #3 (Ms. Roche) was exposed
1 day after the symptoms disappeared
in Subject #1.
- The committee believes that
Dr. Togias should have considered
the possibility of hexamethoniuminduced pulmonary toxicity in Subject #1.
- Most members believe that he should
have reported the event promptly to
the IRB,
- delayed the exposure of the next subject
to hexamethonium until the symptoms
resolved in subject #1,
- and searched more comprehensively
for previous reports of hexamethoniuminduced pulmonary toxicity.
6. Was medical care provided promptly
and appropriately?
- The committee believes that medical care
was delivered promptly and appropriately
at the JHBMC, independent of the
research team.
7. What was the cause of the serious
adverse event?
- The autopsy on Ms. Roche demonstrated
diffuse alveolar damage but provided
no specific etiologic diagnosis.
The committee also believes that
- the death was most likely the result of
participation in the hexamethonium phase
of the experiment.
This belief is based on the following
considerations:
(a) the timing between hexamethonium
inhalation and the development of
pulmonary symptoms,
(b) the lack of any identifiable cause,
including negative cultures and
serological tests for a wide variety of
infectious agents,
(c) the development of pulmonary symptoms,
although less severe,after hexamethonium
in Subject #1, and
(d) the previously reported association
between prolonged intravenous
hexamethonium administration and
pulmonary toxicity in a few seriously ill
patients.
- Office for Human Research Protections
(OHRP) of the US Department of Health
and Human Services (DHHS)
- temporarily suspend all federally funded
research at Johns Hopkins Medical
Institutions on July 19.
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 2
- on 1997 NIH-funded studies which
we found to be unethical is a study in
Ethiopia involving researchers from
that country and the Johns Hopkins
University School of Public Health.
- approximately 900 HIV-positive
pregnant women were to be randomly
assigned to one of three groups
In the first group,
women were to receive AZT for
six to nine weeks
- during the last part of pregnancy
and during labor and delivery, and
- the newborn infant was to be
treated with AZT.
Women in the second group
- were to receive the same AZT treatment
during the latter part of pregnancy
and labor and delivery, but
- infants were not to be given AZT.
In the third group,
- no treatment (a placebo) was to be
given to the mothers and the infants.
We have learned
- from four independent sources
at Johns Hopkins that
- in the past several weeks a decision
was made by the Johns Hopkins
researchers to drop the third
(placebo-only) group
to conduct the experiment as
- a comparison between groups one
and two to see if they are equivalent
in reducing the rate of infections
in the infants.
New Data from ACTG 076 Showing that
Shorter Treatments Are Effective
- ACTG 076 was stopped in late 1993
because it so clearly showed that
- AZT significantly reduced HIV transmission
to infants born to HIV-positive mothers
- it would have been unethical
to continue denying treatment
to women in the placebo arm
of the study.
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 3
Tuskegee Study
- เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับ ธรรมชาติของการเกิดโรค
Syphillis ในผู้ชายผิวดาที่ Macon city
สหรัฐอเมริกา
- ดาเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข
สหรัฐอเมริการ่ วมกับสถาบันTuskegee
- โดยตรวจคน 600 คน ผลการตรวจ มี 399 คน
ป่ วยเป็ น Syphillis และอีก 201 คน ไม่ เป็ น
- ผู้ทาวิจัยไม่ ได้ บอก ผู้ถูกวิจัยว่ า มีคนป่ วยเป็ น Syphillis
- และได้ ตดิ ตามเฝ้าดูอาการต่ อไปอีก ถ้ าตามแผนคือ 6 เดือน
- แต่ ตามความเป็ นจริง มีการติดตามต่ อไปเรื่อยๆ
ประมาณ 40 ปี
- โดยไม่ ได้ ให้ การรักษา ทาเพียงแต่ การให้ การดูแลทั่วไป
เท่ านัน้
- ทัง้ ที่ภายหลังมีการค้ นพบว่ า penicillin
สามารถรักษาได้
- โดยไม่ คานึง ถึงผลกระทบจากการทดลองว่ า
โรคจะแพร่ ไปยังบุคคลอื่นๆ อีกจานวนมาก
นอกจากตัวผู้ถูกวิจัยแล้ ว ยังมี คู่สมรส ลูก
ที่เกิดจากผู้ป่วยที่เป็ น Syphillis
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 4
Willowbrook Study
- ค.ศ. 1950 มีการศึกษาวิจัย การระบาดของไวรัสตับอักเสบ
ที่ทดลองในเด็ก ที่มีภาวะพร่ องทางปั ญญา ภายใต้ โครงการ
สวัสดิการของรัฐ ที่เข้ าเรียนในโรงเรียนของรัฐ New York
ชื่อ “Willowbrook”
- โดยผู้ปกครองของเด็กเหล่ านี ้ ต้ องยินยอม ให้ เด็กเข้ าร่ วม
ในโครงการวิจัยก่ อน จึงจะสามารถรับสวัสดิการของรัฐได้
- ปั ญหาสาคัญ อยู่ท่ กี ระบวนการวิจัยซึ่งให้ เด็กเหล่ านี ้
กินของเหลวที่เตรียมจาก อุจจาระของเด็ก ที่ป่วย
ด้ วยโรคตับอักเสบอยู่
- นับเป็ นอีกตัวอย่ างหนึ่ง ของการไม่ คานึงถึง
ความเป็ นมนุษย์ ของเด็กที่มีภาวะพร่ องทางปั ญญา
ซึ่งจัดเป็ น vulnerable subject
- เป็ นการบังคับ (coercion) ให้ ผ้ ูปกครองของเด็ก
ต้ องจาใจ ให้ ทาการทดลองในเด็กเหล่ านีไ้ ด้
เพื่อขอรับสวัสดิการของรัฐ
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 5
Nuremberg code
- ค.ศ.1947 หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีการสอบสวน
อาชญากรสงครามที่เมือง Nuremberg ประเทศเยอรมัน
- พบว่ าระหว่ างสงคราม มีการทดลองโดยใช้ นักโทษสงคราม
เป็ นผู้ถกู วิจัยอย่ างทารุ ณ
- โดยไม่ ได้ รับความยินยอม และชีแ้ จงวิธีการทดลองก่ อน
ทัง้ ยังไม่ สามารถ ร้ องขอให้ หยุดทดลองได้
- รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลฮิตเลอร์
ทหารระดับสูงหลายสิบคน
ผู้พพ
ิ ากษาที่ตดั สินคดีต่างๆ
ทนายความ และ
ข้ าราชการที่รับใช้ และรับคาสั่งจากฮิตเลอร์
แม้ แต่ นักหนังสือพิมพ์ ที่เป็ นกระบอกเสียงของฮิตเลอร์
- ในช่ วงที่ฮติ เลอร์ ยังเรืองอานาจ
- ล้ วนถูกศาลโลก และศาลสูงสหรัฐ นาตัวขึน้ ศาล
- ในข้ อหาสมรู้ร่วมคิด ร่ วมวางแผน ร่ วมคิด
ร่ วมมือปฏิบัติ เพิกเฉย
- ต่ อการฆาตกรรมหมู่ชาวยิว ถึง 6 ล้ านคน
เกิดคาประกาศ ที่ร้ ูจักกันในชื่อ ของ
“Nuremberg code” ตามชื่อเมืองดังกล่ าว
- โดยมีสาระสาคัญว่ า การเข้ าร่ วมโครงการวิจัยต้ องเกิดจาก
- ความสมัครใจ (voluntary)
- ต้ องมีการลงนาม ในเอกสารยินยอม
เข้ าร่ วมโครงการวิจัย (informed consent)
- ต้ องมีการพิจารณาถึง ความเสี่ยงและประโยชน์ ท่ เี กิดขึน้
(risk/benefit analysis) และ
- คงสิทธิของอาสาสมัครในการถอนตัวจากโครงการวิจัย
โดยไม่ ถูกกาจัดสิทธิในการ รักษาตามปกติ
(right to withdraw without penalty)
- อาสาสมัครต้ องมีอิสระ ในการตัดสินใจอย่ างเต็มที่
โดยไม่ อยู่ภายใต้ อานาจหรืออิทธิพลใด ๆ อีกด้ วย
(coercion)
- ในกรณีของเชลยศึกเหล่ านี ้ ไม่ อยู่ในฐานะเช่ นนัน้ เลย
จึงจัดว่ าเป็ นตัวอย่ างแรก ของผู้ท่ ไี ม่ สามารถตัดสินใจได้
อย่ างอิสระ (vulnerable subject)
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 6
Tearoom Trade Study
- ค.ศ. 1970 นักวิทยาศาสตร์ ทางสังคม
Laud Humphries ทาการศึกษาวิจัย
- พฤติกรรมของชายรักร่ วมเพศ ที่ทากิจกรรมทางเพศ
ในห้ องนา้ สาธารณะ ซึ่งเขาเฝ้าอยู่ในละแวกดังกล่ าว
- ทาการบันทึกป้ายทะเบียนรถ และลักษณะส่ วนบุคคล
ในการสืบค้ น จนได้ ช่ ือและที่อยู่ ของชายเหล่ านัน้
- เขาตามไปที่บ้านของชายเหล่ านี ้ เพื่อขอสัมภาษณ์ ชีวิต
ส่ วนตัว และครอบครัว
- โดยไม่ สนใจว่ า ความลับของชายเหล่ านีใ้ นเรื่องรักร่ วมเพศ
จะทาให้ ชีวิตครอบครัวของชายเหล่ านี ้ เปลี่ยนไปอย่ างไร
ถ้ าความลับนีแ้ พร่ งพรายออกไป
- ที่สาคัญ ดร.Humphries ไม่ เคย แจ้ งให้ ชายเหล่ านี ้
ทราบว่ า เป็ นงานวิจัย
- ซึ่งรายงานการวิจัย ที่ลงตีพมิ พ์ นัน้ มีรายละเอียดมากพอ
ที่จะสืบค้ นได้ ว่าชายบางคน ในรายงานการวิจัยนีเ้ ป็ นใคร
- นับเป็ นตัวอย่ าง การไม่ รักษาความลับของข้ อมูลส่ วนตัว
รวมทัง้ เรื่องการตีตรา (stigmatization) ทาให้ เกิด
ปั ญหาสังคม
- นอกเหนือไปจากเรื่องการ ไม่ ขอความยินยอมในการ
เข้ าร่ วมในงานวิจัย
คดีจริยธรรม คดีท่ ี 7
- ค.ศ. 1955 การศึกษาคณะลูกขุนเมือง Wichita
รัฐ Kansas (Wichita jury study) ของคณะผู้วิจัย
จากมหาวิทยาลัยชิคาโก
- ในแง่ วิทยาศาสตร์ ทางสังคม (social science)
ที่ต้องการศึกษาการตัดสินใจของคณะลูกขุน
ในคดีอาญา
- โดยแอบบันทึกเสียง ที่เกิดขึน้ ในกระบวนการทางาน
ของคณะลูกขุน
- โดยไม่ มีการแจ้ งให้ ลูกขุนทราบว่ ามีการบันทึกเสียง
- เพื่อไม่ ให้ มีผล ต่ อพฤติกรรมของลูกขุนในกระบวนการ
ดังกล่ าว
- ในมุมมองของนักวิจัยแล้ วดูเหมือน จะเป็ นการ
ออกแบบการวิจัยที่ดี แต่ ปัญหากลับอยู่ท่ กี ารล่ วงเกิน
ความเป็ นส่ วนตัว
- การนาความคิดเห็น ของลูกขุนแต่ ละคนที่มีระหว่ าง
กระบวนการทางาน ของคณะลูกขุนไปนาเสนอ
ในที่ประชุม ซึ่งอาจมีผลเสียเกิดขึน้ ได้
สภาของสหรัฐอเมริกา ต้ องออกกฎหมายป้องกัน
- ไม่ ให้ มีการบันทึกเสียง ระหว่ างกระบวนการทางาน
ของคณะลูกขุน เพื่อให้ ลูกขุนมีความมั่นใจในการ
ให้ ความเห็น ได้ อย่ างอิสระ โดยไม่ ต้องกังวลใจว่ า
จะมีบุคคลภายนอก คณะลูกขุนรู้รายละเอียด
ในการให้ ความเห็นของตน และจะส่ งผลเสียต่ อตนหรือไม่
เหตุการณ์ ในครัง้ นี ้ แสดงให้ เห็นว่ า
- การวิจัยบางเรื่อง อาจก่ อให้ เกิดผลกระทบต่ อความมั่นคง
ของสถาบันทางสังคมที่สาคัญได้
คดีจริยธรรม คดีท่ ี 8
- วิทยานิพนธ์ ของนาย ก.ไปคัดลอกผลงานวิจัยของบริษัท ข.
มาแบบคาต่ อคา โดยไม่ ได้ มีการวิเคราะห์ วิจัย หรือ
ทาสิ่งใดที่แตกต่ าง หรือสร้ างองค์ ความรู้ขนึ ้ มา
- เป็ นการ คัดลอกงานวิชาการ ของคนอื่น
ถือว่ า เป็ นการกระทาที่ผิดจริยธรรมทางวิชาการ
อย่ างร้ ายแรง
- วิทยานิพนธ์ ของนาย ก.ไม่ เป็ นวิทยานิพนธ์
ที่ได้ คุณภาพ และมาตรฐานทางวิชาการ และ
ไม่ สร้ างองค์ ความรู้ใหม่
- ที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขสาคัญ
ของการศึกษา ในหลักสูตรปริญญาเอก ที่เน้ นการวิจัย
- ประเด็นการคัดลอกทางวิชาการ เป็ นการประพฤติผิด
จริยธรรม ทางวิชาการอย่ างร้ ายแรง
- ทาให้ ผ้ ูกระทา ขาดคุณสมบัติ ความเป็ นผู้มีความประพฤติดี
ที่จะมีสิทธิ ขอรับปริญญาตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
มีมติ - เพิกถอนมติสภามหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม
พ.ศ.2551 มีผลตัง้ แต่ วันที่ 21 มิถุนายน 2555
- เพิกถอนปริญญาดุษฎีบัณฑิต ของนาย ก.
คดีจริยธรรม คดีท่ ี 9
เรื่อง ประพฤติหรือกระทาการใดๆอันอาจเป็ นเหตุให้
เสื่อมเสีย เกียรติศักดิ์แห่ งวิชาชีพ
นายแพทย์ ก.
ผู้ร้องเรียน
นายแพทย์ ข.
ผู้ถูกร้ องเรียนที่ 1
นายแพทย์ ค.
ผู้ถูกร้ องเรียนที่ 2
ผู้ร้องเรียน
- ตรวจสอบพบ การลงตีพมิ พ์ บทความ
วิชาการในวารสาร 2 ฉบับ เป็ นเรื่องเดียวกัน
- เรื่องที่ 1 นิพนธ์ โดยผู้ถูกร้ องเรียนที่ 2
- เรื่องที่ 2 นิพนธ์ โดยผู้ถูกร้ องเรียนที่ 1
ผู้ถูกร้ องเรียนที่ 1และที่ 2
- ทาการเก็บข้ อมูลในการวิจัยร่ วมกัน
- ตัง้ ใจว่ าจะลงชื่อเจ้ าของผลงานร่ วมกัน
- เกิดความผิดพลาด จึงลงพิมพ์ ในวารสาร 2 ฉบับ
ต่ างที่กัน โดยลงชื่อผู้นิพนธ์ แต่ ละฉบับคนละชื่อ
มติกรรมการแพทยสภา
- ผู้นิพนธ์ ทงั ้ 2 คนได้ นาบทความ ของผู้อ่ นื ไป
พิมพ์ ซา้ ซ้ อน และสนับสนุนให้ เกิดการกระทาดังกล่ าว
- กระทาผิดข้ อบังคับแพทยสภา ว่ าด้ วยการรักษา
จริยธรรมแห่ งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549 หมวด 2 ข้ อ 6
ลงโทษ ว่ ากล่ าวตักเตือน
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 10
เรื่อง ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตัองไม่ ทบั ถมให้ ร้าย
หรือกลั่นแกล้ งกัน
นายแพทย์ ก.
ผู้ร้องเรียน
นายแพทย์ ข.
ผู้ถูกร้ องเรียน
ผู้ร้องเรียน
- ตีพมิ พ์ บทความที่ 2 ในวารสารที่ 2
- ตีพิมพ์ บทความที่ 1 ในวารสารที่ 1
- บทความที่ 1 และที่ 2 มีท่ มี าจากข้ อมูลเดียวกัน
แต่ ประเด็น ในการนาเสนอแตกต่ างกัน และ
บทความดังกล่ าว เป็ นรายงานผู้ตาย มิใช่ ผลงานวิจัย
จึงไม่ ใช่ บทความซา้ ซ้ อน
- ผู้ถูกร้ องเรียน ได้ ลงชื่อผู้ร้องเรียน ในเรื่อง
การถอดถอน บทความในวารสารที่ 2
- ผู้ถูกร้ องเรียน ไม่ ยอมตีพมิ พ์ บทความที่ 3
ที่ผ้ ูร้องเรียนเป็ นผู้นิพนธ์
ผู้ถูกร้ องเรียน
- การตีพมิ พ์ บทความที่ 1 และที่ 2 ของผู้ร้องเรียน
ในวารสาร 2 ฉบับ
- เป็ นการตีพมิ พ์ บทความซา้ ซ้ อน
( Duplicate Publication หรือ
self plagiarism) เป็ นการผิดจริยธรรมการวิจัย
ซึ่งใน Uniform Requirements ของ ICMJE
ได้ กล่ าวไว้ มีข้อพิจารณา 2 ประการ คือ
1) “a paper” ในที่นีม้ ิได้ ระบุว่าเป็ นบทความอะไร
ดังนัน้ จึงครอบคลุมบทความทุกประเภท
2) “overlaps substantially with are
already published in print”
ข้ อบังคับ ว่ าด้ วยจรรยาบรรณบุคลากรและนักศึกษา ข้ อ 13
- การคัดลอก หรือนาผลงานของตนเอง มาใช้ อีกครัง้ หนึ่ง
โดยไม่ มี การอ้ างถึงผลงานเดิมของตน
- ทาให้ ผ้ ูอ่ นื เข้ าใจ ผิดพลาคลาดเคลื่อนไปจาก
ความถูกต้ องเป็ นจริง และอาจเกิดความสับสน
ในการอ้ างอิงได้
- ถือเป็ นการกระทาผิดจรรยาบรรณ อย่ างร้ ายแรง
และ เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
พยาน
วารสารวิชาการทางการแพทย์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ
ส่ งเสริม และเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการแพทย์ สู่
วงการแพทย์ และสาธารณสุขระดับนานาชาติ
บรรณาธิการ มีหน้ าที่พจิ ารณากลั่นกรอง บทความ
ที่จะตีพมิ พ์
กรณีการตีพมิ พ์ ซา้ ซ้ อนกับวารสารฉบับอื่น บรรณาธิการ
ต้ องตรวจสอบ ถ้ าพบว่ ามีการซา้ ซ้ อนกันจริง บรรณาธิการ
มีอานาจถอดถอนบทความได้ โดยยึดถือว่ าวารสารฉบับใด
ตีพมิ พ์ เป็ นลาดับแรก
กรณีการตีพมิ พ์ ซา้ ซ้ อน กับวารสารฉบับอื่น
บรรณาธิการต้ องตรวจสอบ ถ้ าพบว่ ามีการซา้ ซ้ อน
กันจริง บรรณาธิการมีอานาจถอดถอนบทความได้
โดยยึดถือว่ าวารสารฉบับใด ตีพมิ พ์ เป็ นลาดับแรก
มติกรรมการแพทยสภา
ผู้ถูกร้ องเรียน มิได้ กระทาผิดข้ อบังคับแพทยสภา
ว่ าด้ วยการรักษาจริยธรรมแห่ งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549
หมวด 5 ข้ อ 30 และหมวด 5 ข้ อ 31
จึงมีมติว่า คดีไม่ มีมูล
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 11
วันที่ 29 สิงหาคม 2555 ศาลอุทธรณ์ ภาค 7
ได้ พพ
ิ ากษาคดีท่ ี
พนักงานอัยการจังหวัดนครปฐม
โจทก์
นาย ก.
โจทก์ ร่วม
นาย A
จาเลยที่ 1
นางสาว B
จาเลยที่ 2
นาย C
จาเลยที่ 3
ศาลอุทธรณ์ ได้ พพ
ิ ากษายืน ตามศาลชัน้ ต้ น
ที่พพ
ิ ากษายกฟ้อง ว่ าไม่ มีนา้ หนักเพียงพอ
และจาเลยไม่ ผิดตามที่ฟ้อง การอุทธรณ์ จงึ ฟั งไม่ ขึน้
โจทก์ ร่วม
-มิถุนายน 2552 จาเลยที่ 1 ให้ สัมภาษณ์ แก่ จาเลยที่ 2
(ผู้ส่ ือข่ าว น.ส.พ.) มีจาเลยที่ 3 เป็ นบรรณาธิการ
แล้ วร่ วมกัน
- พิมพ์ โฆษณาใส่ ความโจทก์ ร่วม ลงใน น.ส.พ. หัวข้ อ
บททดสอบทางจรรยาบรรณ ด้ านทรัพย์ สินทางปั ญญา
- โดยมีข้อความเป็ นภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลเป็ นภาษาไทย ว่ า
- จาเลยที่ 1 เป็ นผู้เขียนหลัก ในงานพิมพ์ ท่ เี ขาอ้ างว่ า
โจทก์ ร่วม ใช้ เป็ นแหล่ งข้ อมูล คัดลอกไปใช้ ในงาน
ดุษฎีนิพนธ์ … เนือ้ หาส่ วนใหญ่ ของดุษฎีนิพนธ์
เห็นได้ ชัดว่ ามาจาก เอกสาร 4 ฉบับ
ที่จาเลยที่ 1 กล่ าวหาว่ า มาจากงานของคนอื่น
- จาเลยที่ 1 เรียกกรณีนีว้ ่ า เป็ นการขโมยคัดลอก
ทรัพย์ สินทางปั ญญา
- บทความดังกล่ าวของจาเลยที่ 1 นัน้ เป็ นการกล่ าวหา
โจทก์ ร่วมว่ า เป็ นผู้ละเมิดทรัพย์ สินทางปั ญญาของผู้อ่ นื
- เป็ นการใส่ ความ ที่จะทาให้ ผ้ ูเสียหาย
“เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง”
จาเลยทัง้ 3 ให้ การปฏิเสธ ศาลชัน้ ต้ นพิจารณาแล้ ว
ยกฟ้อง
- โจทก์ และโจทก์ ร่วมอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ ภาค 7
ตรวจสานวนแล้ ว เห็นว่ า
- จาเลยที่ 1 เป็ นผู้เรียบเรียง บทความทางวิชาการ
เรื่อง“การสร้ างความเข้ มแข็ง ให้ กับการส่ งออก
ผลิตผลเกษตรอินทรีย์ของไทย”
- ตามสัญญาการว่ าจ้ าง แม้ ว่าสิทธิดงั กล่ าว จะตกอยู่ท่ ี
ICT ตามสัญญาว่ าจ้ าง
- ด้ านผลงานทางวิชาการ เกี่ยวกับบทความดังกล่ าว
ย่ อมตกอยู่แก่ จาเลย
- จาเลย จึงเป็ นผู้มีส่วนได้ เสีย ในการที่โจทก์ ร่วม
นาบทความดังกล่ าว มาลงตีพมิ พ์ ในวิทยานิพนธ์
ของโจทก์ ร่วม
- จาเลย มีสิทธิแสดงความคิดเห็น หรือ ข้ อความใดๆ
โดยสุจริต
- เพื่อความชอบธรรม หรือป้องกันตน หรือ
ป้องกันส่ วนได้ เสียเกี่ยวกับตน ตามครรลองได้
- ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 329(1)
- จาเลยที่ 1 มีสิทธิให้ สัมภาษณ์ แก่ จาเลยที่ 2
ว่ าโจทก์ ร่วม นาบทความทางวิชาการ ของตนไปใช้
ในวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก
- ในลักษณะที่ ไม่ ชอบทางวิชาการ รวมทัง้ ให้ สัมภาษณ์
เกี่ยวกับเรื่องนีไ้ ด้
- ไม่ ปรากฏว่ าจาเลยที่ 1 เคยกล่ าวหาร้ องเรียน
โจทก์ ร่วมว่ า การกระทาของโจทก์ ร่วม เป็ นการขโมย
ทรัพย์ สินทางปั ญญา
- แต่ ใช้ ถ้อยคาว่ า พลาเจียริ ซ่ ม
ึ ซึ่งหมายถึงการคัดลอก
- จึงน่ าเชื่อว่ าจาเลยที่ 1 ไม่ ได้ เป็ นผู้ให้ สัมภาษณ์ ว่า
โจทก์ ร่วมขโมยทรัพย์ สินทางปั ญญา
- จาเลยจึงไม่ มีความผิดตามฟ้อง
ศาลอุทธรณ์
- พิพากษา ยืนตามศาลชัน้ ต้ น
ความหมายของ Plagiarism
ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติ Plagiarism (เพล้ ต-เจอ-ริ-ซึ่ม)
ไว้ ว่า
- โจรกรรมทางวรรณกรรม หรือการลอกเลียนวรรณกรรม
- ความหมายของคานี ้ คือ การนาผลงาน ความคิด หรือ
คาพูดของผู้อ่ นื ไปใช้ โดยไม่ ให้ เครดิต หรือ
- การนาความคิด และงานของผู้อ่ นื มาเขียน โดยทาให้
ดูเหมือนว่ ามาจากความคิดของตนเอง
- รูปแบบของการกระทานี ้ มีตงั ้ แต่ การคัดลอก
มาทัง้ หมด โดยไม่ ระบุท่ มี า หรือ
- การนาข้ อเขียนของผู้อ่ นื มาเรียบเรียงเขียนใหม่
ในแบบของตัวเอง โดยไม่ ระบุท่ มี า
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 12
คดีนีโ้ จทก์ ฟ้อง ระบุความผิดสรุ ปว่ า
โจทก์
-เป็ นอาจารย์ ประจาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
-ได้ ย่ นื ผลงานวิชาการ และเอกสารทางวิชาการ
เสนอจาเลยที่ 3 ในฐานะคณบดี คณะศึกษาศาสตร์
- ประกอบการพิจารณา ตาแหน่ งผู้ช่วยศาสตราจารย์
หรือ ผ.ศ.ระดับ 6 เพื่อเสนอต่ อไปยัง จาเลยที่ 1
ซึ่งเป็ นอธิการบดี
-มีการตัง้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ขึน้ กลั่นกรองผลงานของโจทก์
- ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ กล่ าวหาว่ า โจทก์ ลอกเลียนผลงาน
ทางวิชาการ ของบุคคลอื่น
- ได้ มีการแต่ งตัง้ จาเลยที่ 4 เป็ นประธานสอบข้ อเท็จจริง
- จาเลยที่ 5,6,7 เป็ นกรรมการ และเลขานุการ
สรุ ปการสอบสวนว่ า การกระทาของโจทก์ ผิดวินัย
- มีการแต่ งตัง้ จาเลยที่ 8 เป็ นประธานกรรมการ
สอบวินัย
- มีจาเลย 9,10,11 ร่ วมเป็ นกรรมการสอบสวน
- มีความเห็นว่ าโจทก์ กระทาผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
มีมติให้ ปลดโจทก์ ออกจากราชการ
- การกระทาของจาเลยที่ 3 - 11 เป็ นการกลั่นแกล้ งโจทก์
และเอาใจจาเลยที่ 1
- โจทก์ ได้ ย่ นื อุทธรณ์ มติดังกล่ าวต่ ออนุกรรมการ
ซึ่งเห็นว่ าโจทก์ มิได้ กระทาผิด
- โจทก์ นามติดังกล่ าว ไปแจ้ งคณะกรรมการชุดใหญ่
กรรมการฯ เพิกเฉย ไม่ นาเรื่อง เสนอโจทก์
กลับเข้ ารับราชการ ทาให้ โจทก์ เสียหาย
จาเลย
- ให้ การปฏิเสธว่ า พวกจาเลยได้ ปฏิบัตจิ ริงตามหน้ าที่ และ
- รับฟั งข้ อเท็จจริงจากทุกฝ่ าย ไปตามอานาจหน้ าที่
และตามหลักวิชาการ
- ไม่ มีเจตนากลั่นแกล้ งโจทก์
วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2555
ศาลพิเคราะห์ แล้ วเห็นว่ า
- แม้ โจทก์ จะถูกกล่ าวหาว่ าลอกเลียน ผลงานทาง
วิชาการ
- แต่ ก็ได้ อ้ างอิงแหล่ งที่มาไว้ ท้ายเล่ มถือว่ าไม่ มีเจตนา
ปกปิ ด
- การกระทาของจาเลยที่ 1,3,5 เป็ นการเลือกปฏิบัติ
เป็ นการใช้ ดุลยพินิจ โดยมิชอบ
- โดยเฉพาะจาเลยที่ 1 เป็ นอธิการบดีมานาน
ย่ อมรู้ว่าเหตุการณ์ และข้ อเท็จจริงต่ างๆเป็ นเช่ นไร
- ฟั งได้ ว่าเฉพาะจาเลยที่ 1,3 และ 5
กระทาผิดตามฟ้องตามมาตรา 157
ประกอบมาตรา 90
- จาคุกจาเลยที่ 1 และ 3 คนละ 2 ปี
ปรับคนละ 2 หมื่นบาท
- จาเลยที่ 5 จาคุก 1 ปี ปรับ 1 หมื่นบาท
- จาเลยเป็ นคณาจารย์ เป็ นผู้ประกอบคุณงามความดี
มาก่ อน
- จึงไม่ สมควรจาคุก ให้ รอลงอาญาไว้ เป็ นเวลา 2 ปี
- ยกฟ้องจาเลยที่ 2,4,6,7,8,9,10,11
- โจทก์ และจาเลยที่ 1, 3, 5, ยื่นอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์
- จาเลยที่ 1-2 ได้ แต่ งตัง้ จาเลยที่ 4-7 เป็ นคณะกรรมการ
สอบสวนข้ อเท็จจริง
- ที่มีการกล่ าวหาว่ า โจทก์ ได้ นาเสนองานวิชาการด้ านกีฬา
ฮอกกี ้ มวยสากล และเซปั กตะกร้ อ ที่ไม่ ใช่ เฉพาะ
นาเสนอ แค่ กฎระเบียบกติกา ของกีฬาประเภทนัน้
แต่ ยัง นาเสนอรูปภาพ และรายละเอียดอื่นๆ
- โดยไม่ ระบุแหล่ งที่มา ซึ่งตามระเบียบต้ องให้
มีการระบุท่ มี า ไว้ ในเชิงอรรถ และบรรณานุกรม
โดยการตรวจสอบ พบว่ าโจทก์ ได้ ระบุแหล่ งที่มา
ไว้ เพียงแค่ ในบรรณานุกรม
- การที่จาเลยที่ 4-7 เห็นว่ า ไม่ มีการระบุไว้ ในเชิงอรรถ
ตามระเบียบ และได้ สรุ ปกรณีของโจทก์ กระทั่ง
จาเลยที่ 1 ได้ ใช้ อานาจในการแต่ งตัง้ จาเลยที่ 3 และ
7-11 เป็ นคณะกรรมการสอบสวนวินัยร้ ายแรง
ตามพ.ร.บ.ระเบียบข้ าราชการพลเรือน ในมหาวิทยาลัย
พ.ศ.2507 มาตรา 5 กฎทบวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2519)
และพ.ร.บ.ระเบียบข้ าราชการพลเรือน พ.ศ.2535
มาตรา 22
- ไม่ ใช่ กรณีท่ มี ีการกลั่นแกล้ ง ตามที่โจทก์ กล่ าวอ้ างและ
นาสืบในชัน้ ไต่ สวน มูลฟ้องโจทก์ ว่า
- โจทก์ เคยเป็ นผู้สนับสนุนบุคคล ที่จะสรรหา
เป็ นอธิการบดีมหาวิทยาลัย เป็ นคู่แข่ งกับจาเลยเมื่อ
ปี 2546 และกรณีท่ โี จทก์ ได้ ร่วมให้ มีการลงชื่อ
ถวายฎีกา คัดค้ านการดารงตาแหน่ งของจาเลย
- พยานหลักฐานโจทก์ จึงไม่ มีนา้ หนัก รับฟั งว่ า
จาเลยที่ 1-11 ปฏิบัตหิ น้ าที่โดยมิชอบตามที่โจทก์ ฟ้อง
- อุทธรณ์ ของจาเลยฟั งขึน้
พิพากษา
- แก้ ให้ ยกฟ้องจาเลยที่ 1, 3 และ 5
ส่ วนอื่น ให้ เป็ นไปตามคาพิพากษาศาลชัน้ ต้ น
- จากข่ าวดังกล่ าว แสดงให้ เห็นว่ าการลอกงานวิชาการ
ในมหาวิทยาลัย
- มีกันแพร่ หลาย นับตัง้ แต่ ในงานวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์
เลยไปตลอดถึงงานวิจัย ของอาจารย์ ในมหาวิทยาลัย
- อย่ างไรก็ตาม หากผู้วิจัยได้ ลอกและ มีการอ้ างอิง
แหล่ งที่มาไว้ ก็ไม่ ใช่ เรื่องเสียหายแต่ ประการใด
- ปั ญหานีไ้ ม่ ใช่ เพียงแต่ เป็ น ปั ญหาด้ านจริยธรรม
ในการวิจัยเท่ านัน้ แต่ หมายถึงปั ญหาการลอกเลียน
ทรัพย์ สินทางปั ญญาด้ วย
คดีจริยธรรม คดีท่ ี 14
หลัก fair use นีม้ ีความหมายกว้ าง-แคบแค่ ไหน
- Texaco เป็ นบริษัทวิจัย และพัฒนาอุตสาหกรรม
พลังงานขนาดใหญ่ ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งในบริษัทก็มี
นักวิจัยราวๆ 10,000 คนอยู่ท่ วั ประเทศ เพื่อการ
ค้ นคว้ าวิจัย
Texaco
- บอกรับวารสารวิชาการ วารสารวิทยาศาสตร์ เอา
ไว้ หลายเล่ ม
- เพื่อนามาให้ นักวิจัยในบริษัทตนได้ ใช้ ศึกษาค้ นคว้ า
โดยสมัครบอกรับวารสาร มาหนึ่งฉบับนามาเก็บไว้
ในห้ องสมุด
- จากนัน้ ก็ถ่ายสาเนาบทความ เก็บไว้ ในแฟ้ม
- เพื่อนามา ใช้ อ้างอิงในภายหลัง นักวิจัยคนไหน
อยากใช้ ชนิ ้ ไหน ก็มาถ่ ายเอกสารเอาไป
- หนึ่งในวารสารที่ Texaco บอกรับ คือวารสารจาก
American Geophysical Union
- ต่ อมา AGU และผู้จัดพิมพ์ รายอื่นอีก 80 กว่ าราย
ทราบวิธีการของ Texaco ก็ไม่ พอใจ
- ได้ ฟ้องร้ องคดีว่า Texaco ละเมิดลิขสิทธิ์
Taxaco
- ต่ อสู้ว่า ตนได้ รับความคุ้มครองตามหลัก “fair Use”
ตาม “Section 107” ในเมื่อเป็ นการนางาน
อันมีลิขสิทธิ์มาใช้ เพื่อการค้ นคว้ า และการวิจัย
- ไม่ ได้ copy หนังสือไว้ ทงั ้ เล่ ม ไม่ ได้ นาบทความ
ในหนังสือไปรวบรวมขาย หรือทาเพื่อการค้ า
และแสวงหากาไร
แต่ ศาลมองในประเด็นหลักๆว่ า
1 - แม้ Texaco ไม่ ได้ ประโยชน์ ทางการค้ า
หรือแสวงหากาไรโดยตรง
- บริษัท ประกอบกิจการด้ านการวิจัย พัฒนา
อุตสาหกรรมพลังงาน ก็ย่อมได้ รับประโยชน์
โดยอ้ อมจากการกระทาดังกล่ าว
- มี comment ว่ าศาลตีความอย่ างกว้ าง
เพราะคลุมไปถึงการใช้ ที่จะได้ รับประโยชน์
ทางอ้ อมด้ วย
2 - โดยเนือ้ หาของงาน อันมีลิขสิทธินัน
้
- ในวารสาร 1 เล่ ม ประกอบ ไปด้ วยบทความ
หลายบทความ ซึ่งแม้ จะตัดแยกบทความออกมาใช้
แต่ ละบทความ ก็เป็ นงานอันมีลิขสิทธิ์ในตัวของมันเอง
3 - หาก Texaco ต้ องการ ใช้ บทความมากขนาดนัน
้
ควรจะขออนุญาต ในการทาสาเนา
- หรือตกลง ที่จะจ่ ายค่ า Royalty ในแต่ ละบทความ
ให้ แก่ ทางเจ้ าของลิขสิทธิ์
คดีนี ้ Texaco แพ้ คดี
จากคดีนีแ้ สดงว่ า
- การ copy งานอันมีลิขสิทธิ์ เพื่อการศึกษา การวิจัย
ที่ได้ รับการคุ้มครองตามหลัก fair use ก็มีขอบเขต
ที่แคบมาก คือใช้ ในสถานศึกษาได้
- แต่ การค้ นคว้ า วิจัยอิสระ ยังคงไม่ ชัดเจนว่ าจะอ้ าง
fair use ได้ หรื อไม่
คดีจริยธรรมฯ คดีท่ ี 15
พนักงานอัยการ
โจทก์
บริษัท ก.
โจทก์ ร่วมที่ 1
นายแพทย์ ข.
โจทก์ ร่วมที่ 2
นายแพทย์ ค.
จาเลย
เรื่อง ความผิดต่ อพระราชบัญญัตลิ ิขสิทธิ์
โจทก์
- โจทก์ ร่วมที่ 1 เป็ นเจ้ าของลิขสิทธิ์ ในฐานะ
ผู้รับโอนลิขสิทธิ์จากผู้สร้ างสรรค์ บทความ
เกี่ยวกับการแพทย์ ซึ่งแปล และเรียบเรียง
เป็ นหนังสือโดย นายแพทย์ ง. และนายแพทย์ จ.
จากบทความของต่ างประเทศ
- วันเวลาใดไม่ ปรากฎชัด - วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๓
จาเลยได้ ละเมิดลิขสิทธิ์ ด้ วยการทาซา้ ดัดแปลง
งานสร้ างสรรค์ ประเภทวรรณกรรม ของโจทก์ ร่วม
โดยการคัดลอกข้ อความ ที่เป็ นสาระสาคัญ
ลงในหนังสือของจาเลย
- จาเลยได้ จัดพิมพ์ เป็ นรูปเล่ มใหม่ จานวน ๗ เล่ ม
เพื่อนาออกขาย เผยแพร่ ต่อสาธารณชนอันเป็ นการ
แสวงหากาไรในทางการค้ า
- จาเลยรู้อยู่แล้ วว่ า หนังสือดังกล่ าวเป็ นงานที่ละเมิด
ลิขสิทธิ์ของโจทก์ ร่วม และไม่ ได้ รับอนุญาตจากโจทก์ ร่วม
จาเลย
- ให้ การปฏิเสธ
- ปี พ.ศ.๒๕๐๗ จาเลยได้ ศึกษาการแพทย์ ด้าน
ธรรมชาติบาบัด
- เป็ นประธานสถาบันสุขภาพนานาชาติ และ
ประธานชมรมการแพทย์ ทางธรรมชาติบาบัด
- สามารถอ่ านภาษาอังกฤษได้ ดี จึงไม่ เคยอ่ าน
หนังสือภาษาไทย ที่แปลจากภาษาอังกฤษ
- เขียนบทความทางวิชาการ ๔ เรื่อง โดย
มิได้ คัดลอกหนังสือของโจทก์ ร่วม
พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๒๑
มาตรา ๔๒
งานอันมีลิขสิทธิ์ ตามกฎหมายของประเทศ
ที่เป็ นภาคี แห่ งอนุสัญญาว่ าด้ วยการคุ้มครองลิขสิทธิ์
ซึ่งประเทศไทยเป็ นภาคีอยู่ด้วย และกฎหมายของ
ประเทศนัน้ ได้ ให้ ความคุ้มครองเช่ นเดียวกัน
แก่ งานอันมีลิขสิทธิ์ ของภาคีอ่ นื ๆ แห่ งอนุสัญญาดังกล่ าว
หรืองานอันมีลิขสิทธิ์ ขององค์ การระหว่ างประเทศ
ซึ่งประเทศไทยร่ วมเป็ นสมาชิกอยู่ด้วย
ย่ อมได้ รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัตนิ ี ้
ทัง้ นี ้ ภายใต้ เงื่อนไขที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎีกา กาหนดเงื่อนไขเพื่อคุ้มครองลิขสิทธิ์
ระหว่ างประเทศ พ.ศ.๒๕๒๖ มาตรา ๕ วรรคสอง
- ในกรณีท่ เี ป็ นวรรณกรรม หรือนาฏกรรม
ถ้ าเจ้ าของลิขสิทธิ์ มิได้ จัดให้ มี หรืออนุญาต
ให้ ผ้ ูใดจัดทาคาแปล เป็ นภาษาไทย
- และ โฆษณาคาแปลนัน้ ในราชอาณาจักร ภายในสิบปี
นับแต่ วันสิน้ ปี ปฏิทนิ ของปี ที่ได้ มีการโฆษณาวรรณกรรม
หรือนาฏกรรมดังกล่ าวเป็ นครัง้ แรก
- ให้ ถือว่ าสิทธิ ที่จะห้ ามมิให้ ทาซา้ หรือดัดแปลง หรือ
โฆษณา ซึ่งคาแปลในราชอาณาจักรเป็ นอันสิน้ สุดลง
- นายแพทย์ จ.ได้ แปลหนังสือชื่อ “ ปลอดโรค “
โดยไม่ ปรากฏว่ า เจ้ าของลิขสิทธิ์ต่างประเทศ
ได้ อนุญาต ให้ ผ้ ูใดแปลเป็ นภาษาไทยจนเลย ๑๐ ปี
- นายแพทย์ จ.ผู้แปลหนังสือเรื่อง “ปลอดโรค “
จึงอ้ างลิขสิทธิ์ในงานแปล ดังกล่ าวได้ ตาม
พระราชกฤษฎีกา กาหนดเงื่อนไขฯ พ.ศ.๒๕๒๖
ประกอบพระราชบัญญัตลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๒๑
- การโอนลิขสิทธิ์ เรื่อง “ปลอดโรค” ให้ แก่
โจทก์ ร่วมที่ ๑ จึงชอบด้ วยกฎหมาย
โจทก์ ร่วมที่ ๑ จึงเป็ นเจ้ าของลิขสิทธิ์ ในหนังสือ
เรื่อง “ ปลอดโรค “
- โจทก์ ร่วมที่ ๒ ได้ ใช้ ความรู้ความสามารถจาก
ประสบการณ์ ทางการแพทย์ เขียนหนังสือ
เรื่อง “ ปลอดภัย “ โดยอ้ างอิงข้ อมูลจากต่ างประเทศ
โจทก์ ร่วมที่ ๒ จึงเป็ น เจ้ าของลิขสิทธิ์หนังสือ
ชื่อ “ ปลอดภัย “
ศาลทรั พย์ สินทางปญญาฯ
พิพากษา
- จาเลยกระทาผิด ตามพระราชบัญญัตลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๓๗
มาตรา ๒๗ (๑) ประกอบมาตรา ๖๙ วรรคสอง และ
มาตรา๓๑(๑) ประกอบมาตรา๗๐ วรรคสอง
ให้ ลงโทษปรับ ๖๐๐,๐๐๐ บาท ริบหนังสือของกลาง
- จ่ ายค่ าปรับ ฐานละเมิดลิขสิทธิ์ก่ งึ หนึ่งให้ แก่ โจทก์ ร่วม
ทัง้ สอง
โจทก์ ร่วมทัง้ สอง และจาเลย
อุทธรณ์ ต่อศาลฎีกา
พระราชบัญญัตลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๖๑
- งานอันมีลิขสิทธิ์ของผู้สร้ างสรรค์ ของประเทศที่เป็ น
ภาคีแห่ งอนุสัญญา ว่ าด้ วยการคุ้มครองลิขสิทธิ์ซ่ งึ
ประเทศไทยเป็ นภาคีอยู่ด้วย หรือ
- งานอันมีลิขสิทธิ์ขององค์ การระหว่ างประเทศ
ซึ่งประเทศไทย ร่ วมเป็ นสมาชิกอยู่ด้วย
- ย่ อมได้ รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัตนิ ี ้
พระราชกฤษฎีกา กาหนดเงื่อนไข เพื่อคุ้มครองลิขสิทธิ์
ระหว่ างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๖
- มาตรา ๕ งานอันมีลิขสิทธิ์ ระหว่ างประเทศย่ อม
ได้ รับการคุ้มครอง ตามกฎหมายว่ าด้ วยลิขสิทธิ์
ภายใต้ เงื่อนไขดังต่ อไปนี ้
(๑) ในกรณีท่ งี านนัน้ ยังไม่ ได้ โฆษณา
(๒) ในกรณีท่ ไี ด้ โฆษณางานแล้ ว
พระราชบัญญัติ จัดตัง้ ศาลทรัพย์ สินทางปั ญญา
และการค้ าระหว่ างประเทศ และวิธีพจิ ารณาคดี
ทรัพย์ สินทางปั ญญาและการค้ าระหว่ างประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๔๕ ให้ นาบทบัญญัตแิ ห่ งพระราชบัญญัตนิ ี ้
และประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
ว่ าด้ วยการพิจารณาพิพากษา และการชีข้ าดตัดสินคดี
ในชัน้ อุทธรณ์ และชัน้ ฎีกา มาใช้ บังคับแก่ การพิจารณา
พิพากษา และการชีข้ าดตัดสินคดีทรัพย์ สินทางปั ญญา
และการค้ าระหว่ างประเทศในศาลฎีกาโดยอนุโลม
ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
มาตรา ๑๙๕ ข้ อกฎหมายทัง้ ปวง อันคู่ความอุทธรณ์
ร้ องอ้ างอิง ให้ แสดงไว้ โดยชัดเจน ในฟ้องอุทธรณ์
แต่ ต้องเป็ น ข้ อที่ได้ ยกขึน้ มาว่ ากันมาแล้ ว แต่ ใน
ศาลชัน้ ต้ น
ข้ อกฎหมาย ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้ อย หรือ
ที่เกี่ยวกับ การไม่ ปฏิบัตติ ามบทบัญญัตแิ ห่ งประมวล
กฎหมายนี ้ อันว่ าด้ วยอุทธรณ์ เหล่ านีผ้ ้ ูอุทธรณ์ หรือ
ศาลยกขึน้ อ้ างได้
แม้ ว่า จะไม่ ได้ ยกขึน้ ในศาลชัน้ ต้ นก็ตาม
ศาลฎีกา
- การที่ นาย ง.และนายแพทย์ จ.ผู้แปลหนังสือจาก
หนังสือต่ างประเทศ โดยไม่ ได้ ขออนุญาตจาก
เจ้ าของลิขสิทธิ์งานวรรณกรรม ภาษาต่ างประเทศ
- เป็ นการดัดแปลง งานอันมีลิขสิทธิ์ของผู้อ่ นื
โดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย จึงไม่ ได้ รับความคุ้มครอง
ตามกฎหมาย
- โจทก์ ร่วมทัง้ สอง ผู้รับโอนจึงไม่ มีสิทธิ์ในงานแปลดังกล่ าว
ดีกว่ าผู้โอน
- โจทก์ ร่วมทัง้ สอง ไม่ ใช่ เจ้ าของลิขสิทธิ์ในงาน
วรรณกรรมหนังสือทัง้ ๔ เล่ ม
- โจทก์ ร่วมทัง้ สองจึงไม่ ใช่ ผ้ ูเสียหาย และ ไม่ มีอานาจฟ้อง
- อานาจฟ้อง เป็ นปั ญหาข้ อกฎหมาย ที่เกี่ยวกับ
ความสงบเรียบร้ อย ศาลมีอานาจ ยกขึน้ พิจารณาได้
- อุทธรณ์ ของจาเลยฟั งขึน้
พิพากษากลับให้ ยกฟ้อง
คดีจริยธรรมฯ คดืท่ ี 16
คดีระหว่ างบริษัทควอลิตีค้ ิง และบริษัทลานซ่ า
ในสหรั ฐ
- บริษัทควอลิตคี ้ งิ นาเข้ าผลิตภัณฑ์ แชมพูของ
บริษัทลานซ่ า ที่จาหน่ ายในตลาดต่ างประเทศ
กลับเข้ ามาขายในตลาดสหรัฐ
- ในราคาที่ถูกกว่ าระดับราคา ที่บริษัทลานซ่ าตัง้ ไว้
- ผลก็คือ บริษัทลานซ่ า ฟ้องร้ องบริษัทควอลิตคี ้ ิง
โดยอ้ างว่ าละเมิดลิขสิทธิ์ของตน
ตามกฎหมายมาตรา 602
- ควอลิตคี ้ งิ ก็อ้างว่ า ไม่ ได้ ละเมิดลิขสิทธิ์ เพราะได้ ซอื ้
สินค้ ามาแล้ ว ซึ่งคนที่ซอื ้ สินค้ าสามารถ นาไป
จาหน่ ายต่ ออย่ างไรก็ได้
ตามกฎหมาย มาตรา 109 ของประเทศสหรัฐ
( First Sale Doctrine )
บริษัทควอลิตคี ้ งิ เป็ นผู้ชนะคดี
มาตรา 109 ของกฎหมายลิขสิทธิ์สหรัฐฯ อธิบายว่ า
กฎของการขายครัง้ แรก สามารถนามาใช้ กับ ชิน้ งาน
ถูกกฎหมาย ที่ผลิตภายใต้ หวั ข้ อนี ้
- ฝ่ ายบริษัท จอห์ น ไวลีย์ฯ ตีความว่ ากฎของการขายครั ง้ แรก
นัน้ ส่ งผลต่ อ สินค้ าละเมิดลิขสิทธิ์ ที่ผลิตในสหรัฐฯ
เท่ านัน้
- แต่ จาเลย ตีความว่ า กฎของการขายครัง้ แรก ครอบคลุม
ถึงสินค้ าใดๆที่ถูกกฎหมาย หรืออีกนัยหนึ่ง คือ
สินค้ าที่ไม่ ละเมิดลิขสิทธิ์
- หากตีความ ตามบริษัทจอห์ น ไวลีย์ฯ จะส่ งผล
กระทบต่ อบริษัทบนอินเทอร์ เน็ต อย่ าง อีเบย์
ผู้ค้าหนังสือมือสอง พิพธิ ภัณฑ์ แม้ แต่ ห้องสมุด
ที่ต้องขออนุญาต
- เพื่อหมุนเวียนหนังสือ ซึ่งมีอยู่จานวนมาก
ที่ตีพมิ พ์ ในต่ างประเทศ
- จาเลยได้ นาหนังสือเรียนของ John Wiley & Sons
(แบบพิมพ์ จาหน่ ายในต่ างประเทศ)
- มาจาหน่ าย ในสหรัฐอเมริกาผ่ าน เว็บไซต์ อีเบย์
จานวน 8 ปก ปกละประมาณ 15 เล่ ม
ในราคาเล่ มละ 50 เหรียญสหรัฐ
- ซึ่งเป็ นราคาเทียบเคียงกับหนังสือมือสอง
- ขณะที่ หนังสือมือหนึ่งที่จาหน่ ายในสหรัฐ
ราคาอยู่ท่ ปี ระมาณ 100 เหรียญสหรัฐ
- หลังจากจาหน่ ายหนังสือเรียน ในรูปแบบนีม้ าได้ 2 ปี
ทางสานักพิมพ์ ก็ย่ นื ฟ้องจาเลยว่ า ละเมิดกฎหมาย
มาตรา 501 ของสหรัฐที่เกี่ยวกับเรื่องสิทธิ์การขาย
- กรณีการฟ้องร้ อง เรื่องลิขสิทธิ์ ปกติจะเกิด การยอมควา
- ซึ่งก็คือ คนที่ถูกฟ้องร้ อง ยอมแพ้ เสมอ ทัง้ ที่บางกรณี
อาจไม่ ได้ ผิด แต่ การสู้คดี มีค่าใช้ จ่ายสูง จึงเป็ นช่ องทาง
ให้ บริษัทใหญ่ ใช้ วิธีนี ้ เข้ ามากดดัน บริษัท รายเล็ก
- ซึ่งถ้ า จาเลยยอม ก็จะเสียค่ าปรับประมาณ
10,000 เหรี ยญสหรั ฐ (ประมาณ 290,000 บาท)
- แต่ พอไม่ ยอม ก็ต้องเสียเงินมากกว่ านัน้ เพื่อสู้คดี
จาเลยได้ พยายาม สู้คดีตงั ้ แต่ ในศาลชัน้ ต้ น
โดยใช้ ข้ อกฎหมายลิขสิทธิของอเมริกา 2 ข้ อหลัก
1 - เจ้ าของลิขสิทธิ์ มีสิทธิ์ขาดในการจัดจาหน่ าย
จ่ ายแจก ไม่ ว่าจะรูปแบบใดก็ตาม
- อาจจะเป็ นเช่ า หรือขาย หรืออะไรก็ตาม
นี่คือ เจ้ าของลิขสิทธิ์มีสิทธิ์ขาด
2 - ถ้ าเจ้ าของลิขสิทธิ์ ได้ ขายของชิน้ นัน้ ๆไปแล้ ว
คนที่ซอื ้ ไปแล้ ว จะนาไปขายต่ ออย่ างไรก็ได้
กฎหมายนี ้ เรียกว่ า
“First sale doctrine”
คือกฎของการขายครัง้ แรก
- ถ้ ามีการขายครัง้ แรกแล้ ว หลักการคือเจ้ าของลิขสิทธิ์
ได้ รับเงินจากการขายแล้ ว
- ดังนัน้ จะมาเอาสิทธิ์จากการขายครัง้ ที่สอง
ครัง้ ที่สามไม่ ได้ ข้ อกฎหมายระบุชัด
หมายความว่ า
- ถ้ าเจ้ าของลิขสิทธิ์ ขายของชิน้ นัน้ ไปแล้ ว
คนที่ซอื ้ มา จะไปขายต่ ออย่ างไรก็ได้
แต่ ศาลชัน้ ต้ นไม่ ยอมให้ ใช้ กฎหมายข้ อนี ้
- ในศาลชัน้ ต้ นตัดสินโดยลูกขุน ซึ่งเป็ นชาวบ้ านทั่วไป
ในคดีนีผ้ ้ ูพพ
ิ ากษาในศาลชัน้ ต้ น ห้ ามไม่ ให้ ใช้ กฎหมาย
ลิขสิทธิ์ข้อที่สอง
- เพราะเคยมีคดีท่ เี ขาอุทธรณ์ กัน ทางศาลอุทธรณ์
ไม่ ยอมให้ ใช้ ข้ อที่สอง
ศาลอุทธรณ์ ตัดสินว่ าข้ อที่สองใช้ ไม่ ได้
- กฎหมายข้ อที่สอง ระบุว่า
“สิ่งที่ผลิตถูกต้ อง ตามกฎหมายลิขสิทธิ์สหรัฐอเมริกา”
- ถ้ าอ่ านจาก ตัวกฎหมายตามคาเลย จะไม่ มีใครตีความ
ตามสานักพิมพ์ ที่จะให้ ทุกคนพยายามตีความอย่ างนัน้
“First sale doctrine”
เขาไปตีความว่ า สิ่งที่ผลิตถูกต้ อง ภายใต้ ลิขสิทธิ์
ของสหรัฐอเมริกา คือ สิ่งที่ผลิตภายในประเทศอเมริกา
ซึ่งขัดกับความเป็ นจริง
ศาลชัน้ ต้ น ตัดสินให้ จาเลยแพ้ คดี
ศาลอุทธรณ์ คดีไม่ ได้ ตดั สินโดยลูกขุน
ที่เป็ นชาวบ้ านแล้ ว
- ตัดสินโดยผู้พพิ ากษา 3 คน ซึ่งทราบกฎหมายลิขสิทธิ์
ทัง้ 2 ข้ อ
- ผลการตัดสิน ผู้พพ
ิ ากษา 2 คน ให้ ทางสานักพิมพ์
(โจทก์ ) ชนะ
- ผู้พพ
ิ ากษา 1 คน ให้ จาเลยชนะ และเขียนเหตุผล
มาเลยว่ า ทาไมจาเลยถึงสมควรชนะ
กฎหมายน่ าจะตัดสิน ให้ จาเลยชนะ
- เขาตีความคล้ ายกับจาเลย คือถ้ าเป็ นเจ้ าของ
ลิขสิทธิ์อเมริกา ไม่ ว่าผลิตที่ไหน ก็ถูกต้ องตามลิขสิทธิ์
- ถ้ าตัดสินให้ เราแพ้ นอกจาก จะไม่ ตรงตามกฎหมายแล้ ว
- จะเกิดเหตุการณ์ ขนึ ้ ว่ า การขายของมือสอง
เป็ นไปไม่ ได้ เลย
- เช่ น ถ้ าบริษัทแอปเบิล้ ที่ผลิตไอแพดที่ประเทศจีน
เป็ นของมีลิขสิทธิ์ แล้ วนาไอแพดกลับมาขายในอเมริกา
ไม่ ว่าจะขายไป กี่ครัง้ กี่ครัง้
- เขาห้ ามคนขาย เป็ นครัง้ ที่สองได้ เพราะไอแพดชิน้ นัน้
ผลิตนอกประเทศอเมริกาไม่ สามารถใช้
“First sale doctrine” ได้
- ห้ องสมุดก็ให้ ยืมหนังสือไม่ ได้ เพราะหนังสือไป
ผลิตนอกประเทศอเมริกา
ศาลสูงสหรั ฐ มีคาพิพากษา
1.จาเลย ไม่ มีความผิด ในการซือ้ หนังสือ
หรือตาราภาษาอังกฤษ ที่พมิ พ์ ในต่ างประเทศ
และนาไปขาย ทาง eBay แก่ นักศึกษาในสหรัฐ
ในราคาที่ถูกกว่ าตาราที่พมิ พ์ และขายในสหรัฐเอง
2.คาพิพากษาที่ว่านี ้ มีผ้ ูพพ
ิ ากษาศาลสูง 6 คนที่เห็นด้ วย
และ 3 คนที่คัดค้ าน
สหรัฐมีกฎหมาย ที่ระบุว่า
- เมื่อบริษัทธุรกิจ ขายผลิตภัณฑ์ ที่มีลิขสิทธิ์ไปแล้ ว
- ผู้ซอื ้ มีสิทธิ์ ที่จะนาผลิตภัณฑ์ นัน้ ๆ ไปขายได้ ในภายหลัง
ผู้พพ
ิ ากษา 3 คนที่คัดค้ านคาตัดสินดังกล่ าว
ให้ ความเห็นว่ า
- คาพิพากษาครัง้ นี ้ ขัดกับเจตนารมณ์ ของรัฐสภา
- ที่ต้องการปกป้องลิขสิทธิ์ ของผู้พมิ พ์ หนังสือ
ผู้พพ
ิ ากษาศาลสูงสหรัฐฯยังวินิจฉัยว่ า
- การที่จาเลย นาตาราเรียน 8 ปก ของสานักพิมพ์ ค่ กู รณี
- ที่ขายสิทธิการพิมพ์ และจาหน่ าย เฉพาะในทวีปเอเชีย
กลับเข้ ามาขายในสหรัฐฯ ผ่ านทางเว็บไซต์ “อีเบย์ ”
ในราคาต่ากว่ า ราคาขายในสหรัฐฯ นัน้
- ถือเป็ นเรื่องของ
“สิทธิเสรีภาพส่ วนบุคคล”
- ที่ย่อมสามารถ ทาการซือ้ ขาย สิ่งของ หรือทรัพย์ สินใดๆ
ผ่ านโลกออนไลน์ ได้
“หลักการขายครัง้ แรก”
“First sale doctrine”
- เป็ นหลักกฎหมายอเมริกา ที่ว่าด้ วยสิทธิของผู้บริโภค
ในการขายสินค้ าในเงื่อนไขที่ว่า สินค้ าลิขสิทธิ์นัน้
ถูกผลิตขึน้ มาโดยชอบด้ วยกฏหมาย
- กล่ าวคือเจ้ าของลิขสิทธิ์ จะมีสิทธิ์ในการขาย
เพียงครัง้ แรกเท่ านัน้
- เมื่อผู้ซอื ้ ทาการซือ้ ของที่มีลิขสิทธิ์มาแล้ ว
- เขาก็มีสิทธิขายต่ อ โดยไม่ ถือว่ าเป็ นการละเมิดลิขสิทธิ
การขายสินค้ าลิขสิทธิ์ดงั กล่ าว แต่ เพียงผู้เดียว
ของเจ้ าของลิขสิทธิ
- ทัง้ นีส้ ิทธินีน้ อกจาก จะครอบคลุม การนาไปขาย
ครัง้ ที่สองของผู้ซอื ้ แล้ ว
- ก็ยังครอบคลุม การถ่ ายโอนกรรมสิทธิ ไปจนถึง
การให้ เช่ าสินค้ าลิขสิทธิ์ ของผู้ซอื ้ แก่ ผ้ ูอ่ นื อีกด้ วย