กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานส่ วนแพ่ ง (ป.วิ.พ. มาตรา 84 -130) พงษ์ รัตน์ เครือกลิน่ 2/2557 พยานหลักฐาน(evidence) ศาลมีหน้ าที่วนิ ิจฉัยปัญหาข้ อเท็จจริงและข้ อกฎหมาย ข้ อกฎหมาย วินิจฉัยโดยไม่ ต้องใช้ พยานหลักฐาน ข้ อเท็จจริง วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสานวน มาตรา.

Download Report

Transcript กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานส่ วนแพ่ ง (ป.วิ.พ. มาตรา 84 -130) พงษ์ รัตน์ เครือกลิน่ 2/2557 พยานหลักฐาน(evidence) ศาลมีหน้ าที่วนิ ิจฉัยปัญหาข้ อเท็จจริงและข้ อกฎหมาย ข้ อกฎหมาย วินิจฉัยโดยไม่ ต้องใช้ พยานหลักฐาน ข้ อเท็จจริง วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสานวน มาตรา.

กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานส่ วนแพ่ ง
(ป.วิ.พ. มาตรา 84 -130)
พงษ์ รัตน์ เครือกลิน่ 2/2557
พยานหลักฐาน(evidence)
ศาลมีหน้ าที่วนิ ิจฉัยปัญหาข้ อเท็จจริงและข้ อกฎหมาย
ข้ อกฎหมาย วินิจฉัยโดยไม่ ต้องใช้ พยานหลักฐาน
ข้ อเท็จจริง วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสานวน
มาตรา 84 การวินิจฉัยปัญหาข้ อเท็จจริ งในคดีใดจะต้ อง
กระทาโดยอาศัยพยานหลักฐานในสานวนคดีนั้น
พยานหลักฐานในสานวน
หมายถึง พยานหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้ องกับข้ อเท็จจริ งทีค่ ู่ความ
จะต้ องนาสื บ ถูกนาเข้ าสู่ สานวนคดีถูกต้ องตามหลักเกณฑ์
และวิธีการทีก่ ฎหมายกาหนด
กรณีรวมการพิจารณาคดีหลายสานวนเข้ าด้ วยกันการ
รับฟังพยานหลักฐานต้ องฟังรวมกัน
ฎีกา 133-134/2491 (ประชุมใหญ่ ) เมื่อศาลสั่ งให้ การรวม
พิจารณาพิพากษาคดี 2 สานวนเข้ าด้ วยกันแล้ ว การรั บฟัง
พยานหลักฐานต้ องพิจารณาพิพากษารวมกัน
หากไม่ ได้ รวมพิจารณา ต้ องฟังพยานหลักฐานแยกจากกัน
ฎีกา 1679/2526 พยานโจทก์ ท้งั สองสานวนเป็ นชุดเดียวกัน
แต่ ศาลมิได้ สั่งให้ รวมพิจารณาเป็ นคดีเดียวกัน และโจทก์
ไม่ ได้ อ้างสานวนคดีก่อนเป็ นพยานในคดีนี้ จะนาพยาน
หลักฐานที่นาสื บในคดีก่อนมาใช้ เป็ นพยานหลักฐานยัน
จาเลยในคดีนีไ้ ม่ ได้
ฎีกา 1369/2520 แม้ อ้างสานวนคดีอนื่ เป็ นพยาน และระบุ
ในบัญชีระบุพยานแล้ ว แต่ ยงั ไม่ ได้ ขอให้ ศาลเรียกหรือขอ
ยืมสานวนเพือ่ ประกอบการพิจารณา ถือว่ ายังไม่ ได้ นาสื บ
สานวนเข้ ามาในคดี เป็ นพยานนอกสานวน รับฟังไม่ ได้
ข้ อยกเว้ น
1.ข้ อเท็จจริงซึ่งรู้ กนั อยู่ทวั่ ไป
ฎีกา 4944/2549 ศาลชั้นต้ นฟังข้ อเท็จจริงว่ า จาเลยใช้
โทรศัพท์ ซึ่งมีสายไฟสองสายต่ อพ่วงเข้ ากับโทรศัพท์ ในตู้
โทรศัพท์ สาธารณะแล้ วโทรศัพท์ ออกไป และนาความหมาย
คาว่ า “โทรศัพท์ ” ตามสารานุกรมไทยมาวินิจฉัย เป็ นการ
สื บค้ นจากหนังสื ออ้ างอิงทีว่ ญ
ิ ญูชนทัว่ ไปสามารถทราบได้
โดยอาศัยข้ อเท็จจริงซึ่งเป็ นรู้ กนั อยู่โดยทัว่ ไป ศาลวินิจฉัย
ได้ เอง มิใช่ เป็ นการรับฟังและวินิจฉัยข้ อเท็จจริ งนอกสานวน
2. ข้ อเท็จจริงซึ่งไม่ อาจโต้ แย้ งได้
ได้ แก่ ข้ อเท็จจริงตามที่กฎหมายสั นนิษฐานไว้ โดยเด็ดขาด
หรือเป็ นกรณีกฎหมายปิ ดปาก เช่ น คาพิพากษาทีผ่ ูกพัน
คู่ความตาม ป.วิ.พ.มาตรา 145
ฎีกา 6455/2551 คดีก่อนจาเลยฟ้ องโจทก์ ขอใช้ ทางอ้ างว่า
เป็ นทางจาเป็ น คดีถงึ ทีส่ ุ ดโดยศาลฟังว่ าเป็ นทางจาเป็ น
คาพิพากษามีผลผูกพันโจทก์ และจาเลย คดีนีโ้ จทก์ ฟ้องจาเลย
เรียกค่ าทดแทนการใช้ ทางจาเป็ น จาเลยให้ การและฟ้ องแย้ งว่ า
เป็ นทางภาระจายอม โจทก์ ไม่ มีสิทธิเรียกค่ าทดแทน ขอให้
พิพากษาว่ าเป็ นทางภาระจายอม คดีต้องฟังว่ าเป็ นทางจาเป็ น
หรือ กรณีข้อเท็จจริงในคดีแพ่งเกีย่ วเนื่องกับคดีอาญา
การพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ต้ องถือข้ อเท็จจริงตามที่ปรากฏ
ในคาพิพากษาส่ วนอาญาตาม ป.วิ.อ. มาตรา 46 ฯลฯ
ฎีกา 6024/2554 คดีอาญาฟังข้ อเท็จจริงว่ า จาเลยขับรถโดย
ประมาทเป็ นเหตุให้ ผู้อนื่ ถึงแก่ ความตาย ในคดีแพ่ งที่ทายาท
ผู้ตายฟ้องเรียกค่ าเสี ยหายก็ต้องฟังว่ า จาเลยขับรถโดย
ประมาทด้ วย
ฎีกา 5391/2551 คดีอาญาฟังว่ า โจทก์ และจาเลยต่ างฝ่ ายต่ าง
ประมาท คดีแพ่งอาจนาสื บว่ าฝ่ ายใดประมาทมากกว่ ากัน
3. ข้ อเท็จจริงทีค่ ู่ความรับหรือถือว่ ารับกันแล้วในศาล
ก.คารับตามคาให้ การของจาเลย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 177
ซึ่งอาจเป็ นคารับโดยตรง หรือคารับทีเ่ กิดจากการไม่ ให้ การ
ปฏิเสธโดยแจ้ งชัด
ฎีกา 5684/2548 การทีจ่ าเลยขาดนัดยืน่ คาให้ การ ไม่ มีผล
เป็ นการยอมรับหรือถือว่ ารับข้ อเท็จจริงตามฟ้อง
ข. คาแถลงรับของคู่ความต่ อศาล คู่ความแถลงรับข้ อเท็จจริง
ต่ อศาลในระหว่ างการชี้สองสถานหรือระหว่ างการพิจารณา
ของศาล
ฎีกา 4320/2540 โจทก์ ฟ้องจาเลยที่ 2 ให้ รับผิดตามสั ญญา
คา้ ประกันและจานอง จาเลยที่ 2 ให้ การว่ าเป็ นเอกสารปลอม
แม้ โจทก์ มิได้ ยนื่ บัญชีระบุพยาน และจาเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3
แถลงไม่ ติดใจสื บพยาน แต่ จาเลยที่ 2 ยอมรั บว่ าได้ ทาหนังสือ
ถึงโจทก์ ขอชาระหนี้คดีนี้และคดีอื่น เมื่อหักหนี้แล้ วยังเหลือ
เงินที่ต้องชาระในคดีนี้ 2 ล้ านบาทเศษ ถือว่ าในชั้นพิจารณา
จาเลยที่ 2 ได้ ยอมรับว่ าเป็ นลูกหนีโ้ จทก์ ตามฟ้องและยอม
ชดใช้ หนีโ้ จทก์ เป็ นเงิน 2 ล้ านบาทเศษจริงตามป.วิ.พ มาตรา
84(1) ศาลพิพากษาให้ จาเลยที่ 2 รับผิดได้
คารับในคดีอนื่ ไม่ ถอื ว่ าเป็ นข้ อเท็จจริงทีค่ ู่ความรับหรือ
ถือว่ ารับกันแล้ ว
ฎีกา 5722/2546 โจทก์ ฟ้องจาเลยให้ รับผิดตามสั ญญากู้เงิน
แม้ จาเลยเบิกความในคดีอนื่ ว่ า ลายมือชื่อในสมุดบันทึกเป็ น
ของจาเลยและจาเลยเป็ นหนี้ 5,000 บาท เมื่อไม่ ใช่ เป็ นคารับ
ของจาเลยในคดีนี้ ถือไม่ ได้ ว่าจาเลยยอมรั บข้ อเท็จจริ ง คารับ
ดังกล่ าวเป็ นเพียงพยานหลักฐานทีโ่ จทก์ นาสื บยันจาเลยได้
(ดู ฎีกา 1886/2506 ฎีกา 1076/2516)
ข้ อเท็จจริงทีค่ ู่ความรับหรือถือว่ ารับกันแล้ ว อาจเกิดขึน้
ในชั้นศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา
ฎีกา 8290/2540 จาเลยยอมรับมาในคาแก้ อทุ ธรณ์ ว่า ได้ ทา
สั ญญาเช่ าซื้อกับโจทก์ จริง การพิจารณาของศาลอุทธรณ์
ไม่ จาต้ องใช้ สัญญาเช่ าซื้อเป็ นพยานหลักฐาน แม้ สัญญา
ไม่ ได้ ปิดอากรแสตมป์ คดีกฟ็ ังได้ ว่าจาเลยทาสั ญญาเช่ าซื้อ
กับโจทก์
ค. คาท้ า เป็ นกรณีทคี่ ู่ความยอมรับข้ อเท็จจริงในศาล โดย
มีเงือ่ นไขบังคับก่ อน
ฎีกา 5204/2543 การท้ ากันในศาล คือ การแถลงร่ วมกันของ
คู่ความตกลงให้ ศาลตัดสิ นชี้ขาดตามข้ อเท็จจริงอย่ างใดอย่ าง
หนึ่งหรือหลายอย่ าง ทีค่ ู่ความมีความเห็นตรงกันข้ ามใน
เหตุการณ์ ภายหน้ าอันไม่ แน่ นอน และจะแน่ นอนได้ ต่อเมื่อ
เหตุการณ์ น้ันผ่ านพ้ นไปแล้ ว ซึ่งถ้ าเหตุการณ์ น้ันตรงกับ
ความเห็นของฝ่ ายใด ศาลจะต้ องตัดสิ นให้ ฝ่ายนั้นเป็ นฝ่ าย
ชนะคดี
ท้ าได้ เฉพาะคดีแพ่ง คดีอาญาท้ าไม่ ได้
ฎีกา 1570/2511 ในคดีอาญาคู่ความตกลงท้ ากันขอให้ ศาล
วินิจฉัยประเด็นข้ อหนึ่งข้ อใด แล้ วให้ ศาลชี้ขาดคดีไปไม่ ได้
เนื่องจากไม่ มีบัญญัติไว้ ใน ป.วิ.อ และจะนาบทบัญญัติใน
ป.วิ.พ มาใช้ ไม่ ได้
ฎีกา 129/2522 คดีแพ่งเกีย่ วเนื่องกับคดีอาญา ท้ าได้ เฉพาะ
ส่ วนแพ่ง คดีอาญาท้ าไม่ ได้
 ต้ องท้ ากันกันเกีย่ วกับการดาเนินกระบวนพิจารณา
ฎีกา 1186/2533 คู่ความอาจท้ ากันว่ า ถ้ าบุคคลทีจ่ าเลยอ้ างว่ า
ได้ รับชาระหนีจ้ ากจาเลยแล้ ว สาบานตามที่จาเลยนาสาบาน
ได้ จาเลยยอมแพ้
ฎีกา 2353/2519 คู่ความท้ าว่ า หน้ าที่นาสืบตกแก่ ฝ่ายใด
ฝ่ ายนั้นยอมแพ้ ย่ อมทาได้
ฎีกา 226//2510 คู่ความท้ ากันว่ า ให้ ถอื ตามหลักฐานทีม่ ีอยู่
ที่เจ้ าหน้ าที่นิคมสร้ างตนเองว่ า ฝ่ ายใดมีสิทธิครอบครอง
อีกฝ่ ายยอมแพ้
ฎีกา 5575/2552 โจทก์ และจาเลยตกลงท้ า ให้ ศาลวินิจฉัย
ปัญหาข้ อกฎหมายเพียงข้ อเดียวว่ า คดีโจทก์ ขาดอายุความ
หรือไม่ หากคดีขาดอายุความให้ ยกฟ้อง หากไม่ ขาดอายุ
ความให้ จาเลยชาระหนี้ ถือเป็ นคาท้ า ผูกพันโจทก์ และจาเลย
ฎีกา 736/2507 คู่ความอาจท้ าให้ ถอื เอาผลคาพิพากษาใน
คดีอาญาว่ า โจทก์ ถูกกระสุ นปื นของจาเลยหรือไม่ ถ้ าใช่
จาเลยยอมแพ้ ถ้ าไม่ ใช่ โจทก์ ยอมแพ้ เมื่อคดีอาญาฟังว่ า
โจทก์ ถูกกระสุ นปื นจาเลย แม้ เป็ นการกระทาโดยป้องกัน
จาเลยต้ องแพ้ตามคาท้ า
ฎีกา 265/2535 คู่ความตกลงท้ ากันให้ ถอื เอาผลของคา
พิพากษาในคดีอาญาว่ า จาเลยปลอมพินัยกรรมหรือไม่
มาวินิจฉัยในคดีแพ่ ง ข้ อตกลงย่ อมมีความหมายว่ าคู่ความ
ประสงค์ ให้ ถอื เอาผลของคาพิพากษาทีถ่ งึ ทีส่ ุ ดแล้ ว เป็ น
ข้ อแพ้ชนะ การทีศ่ าลชั้นต้ นและศาลอุทธรณ์ ภาค 3 ฟัง
ข้ อเท็จจริงในคดีแพ่ง โดยถือตามผลคดีอาญาของศาลชั้นต้ น
ทีย่ งั ไม่ ถงึ ทีส่ ุ ด จึงเป็ นการไม่ ชอบ ต้ องรอฟังผลคาพิพากษา
คดีอาญาทีถ่ งึ ทีส่ ุ ดแล้ ว
ฎีกา 1560/2556 คดีนีโ้ จทก์ ฟ้องให้ จาเลยรื้อถอนสิ่ งปลูกสร้ าง
ทีร่ ุกลา้ เข้ ามาในทีด่ นิ ของโจทก์ และเรียกค่ าเสี ยหาย คู่ความ
แถลงรับว่ าคดีนีเ้ ป็ นคดีเกีย่ วเนื่องกับคดี หมายเลขดาที่
2376/2549 ของศาลชั้นต้ น และตกลงท้ าให้ ถอื เอาผลคา
พิพากษาศาลชั้นต้ นในคดีดงั กล่าว หากพิพากษาให้ โจทก์
ชนะคดี จาเลยยอมออกไปจากที่ดนิ หากพิพากษาให้ จาเลย
ในคดีดงั กล่ าวชนะคดี โจทก์ จะไม่ ย่ งุ เกีย่ วกับทีด่ นิ พิพาทอีก
ไม่ ใช่ เป็ นการเอาเหตุการณ์ ภายนอกมาเป็ นข้ อท้ า ถือเป็ น
คาท้ าทีช่ อบ มีผลผูกพันตามคาท้ า
 ท้ าเอาคาสาบานของบุคคลภายนอก แม้ บุคคลภายนอก
ไม่ ได้ ตกลงท้ าด้ วย คาท้ าก็มีผลผูกพัน
ฎีกา 1333/2530 คู่ความตกลงท้ าว่ า หากจาเลยและ ส. ยอม
สาบาน โจทก์ ยอมแพ้คดี หากไม่ ยอมสาบานจาเลยเป็ นฝ่ าย
แพ้คดี ข้ อตกลงมีผลบังคับได้ การสาบานของ ส. บุคคล
ภายนอกเป็ นเพียงเงือ่ นไขทีค่ ู่กรณีกาหนดขึน้ การที่ ส.ไม่ ได้
รู้ เห็นยินยอมในการตกลง ไม่ ทาให้ ข้อตกลงในคาท้ ากลาย
เป็ นไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย เมื่อจาเลยและ ส. ไม่ ยอมสาบาน
จาเลยจึงเป็ นฝ่ ายแพ้คดี
 คาท้ ากระทาโดยตัวความหรือทนายความโดยชอบแล้ ว
แม้ ต่อมาถอนทนายหรือคู่ความตาย คาท้ ายังมีผลผูกพัน
ฎีกา 2470/2538 ทนายความของจาเลยทั้งสี่ ตกลงท้ าสาบาน
กับโจทก์ ซึ่งมีอานาจทาได้ ตามใบแต่ งทนายความ แม้ ต่อมา
จาเลยทั้งสี่ จะได้ ถอนทนายความก่ อนวันนัดสาบานตามคาท้ า
คาท้ าก็มีผลผูกพัน เมื่อโจทก์ สาบานได้ ตามคาท้ า จาเลยทั้งสี่
เป็ นฝ่ ายแพ้คดี
ฎีกา 982/2506 คาท้ ามีผลผูกพันคู่ความทีต่ กลงกัน แม้ ต่อมา
ค่ คู วามฝ่ ายหนึ่งเสียชีวติ ก็ไม่ ทาให้ คาท้ าสิ้นผล
 ในคดีทมี่ ีโจทก์ หรือจาเลยหลายคน โจทก์ จาเลยบางคน
ตกลงท้ า คาท้ ามีผลผูกพันเฉพาะคู่ความทีต่ กลงท้ า แต่ ไม่ มี
ผลไปถึงคู่ความทีไ่ ม่ ได้ ตกลงท้ าด้ วย
ฎีกา 1713-1714/2523 ก่ อนสื บพยาน โจทก์ และจาเลยที่ 1
ตกลงท้ าพิสูจน์ ลายมือชื่อของจาเลยที่ 2 ในเอกสารตามที่
ตกลงกัน ปรากฏว่ าจาเลยที่ 1 เป็ นฝ่ ายแพ้ตามคาท้ า
ข้ อตกลงในคาท้ ามีผลผกู พันเฉพาะในระหว่ างโจทก์ กบั
จาเลยที่ 1 เท่ านั้น หามีผลถึงจาเลยที่ 2 ซึ่งมิได้ ตกลงในคาท้ า
ด้ วย เพราะกระบวนพิจารณาทีจ่ าเลยที่ 1 ทาไปนั้น เป็ นที่
เสื่ อมสิ ทธิแก่ จาเลยที่ 2 ซึ่งเป็ นคู่ความร่ วม
เมื่อตกลงท้ ากันแล้ ว คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะขอยกเลิก
การท้ าโดยอีกฝ่ ายไม่ ยนิ ยอมไม่ ได้
ฎีกา 3920/2531 ตกลงท้ ากันแล้ ว จะอ้ างภายหลังว่ า
เสียเปรี ยบในคาท้ าและขอยกเลิกคาท้ าไม่ ได้
ฎีกา 75/2540 คู่ความตกลงท้ าให้ สืบ ท.พยานคนกลางต่ อ
หน้ าศาล ถ้ าจะให้ คู่ความมีสิทธิถอนคาท้ า เพียงเพราะเกรงว่ า
พยานคนกลางจะเบิกความเข้ าข้ างอีกฝ่ ายหนึ่งเท่ านั้น โดย
ไม่ มีเหตุผลอืน่ ตามกฎหมายทีจ่ ะอ้ างได้ ย่ อมเป็ นการไม่
ชอบ เพราะคาท้ าที่ตกลงกันต่ อหน้ าศาลจะไม่ เกิดประโยชน์
จาเลยไม่ มีสิทธิถอนคาท้ า
เมื่อคาท้ าชอบและดาเนินการตามคาท้ าแล้ ว ศาลต้ องตัดสิ น
ตามผลของคาท้ า
ฎีกา 957/2522 โจทก์ จาเลยตกลงท้ ากันขอให้ สืบ ส.เป็ นพยาน
หาก ส. เบิกความเจือสมฝ่ ายใดให้ ฝ่ายนั้นชนะ เป็ นคาท้ า
ที่ใช้ บังคับได้ เมื่อ ส. เบิกความเจือสมฝ่ ายโจทก์ โจทก์ เป็ น
ฝ่ ายชนะคดีตามคาท้ า จาเลยที1่ จะมายืน่ คาร้ องในภายหลังว่ า
ส. เบิกความโดยไม่ สุจริต ขอให้ ศาลไต่ สวนและสั่ งเพิกถอน
คาท้ า ภายหลังจากที่ ส. เบิกความไปแล้ วไม่ ได้
ฎีกา 952/2537 คู่ความตกลงท้ าให้ เจ้ าพนักงานทีด่ นิ รังวัด
แนวเขตทีด่ นิ พิพาท หากบ้ านเลขที่ 39/1 อยู่ในเขตทีด่ นิ
ดังกล่ าว จาเลยยอมแพ้ หากอยู่นอกเขตโจทก์ ยอมแพ้ ผล
การรังวัดปรากฏว่ าบ้ านอยู่ในเขตทีด่ นิ พิพาท โจทก์ จาเลย
ตรวจดูแผนทีพ่ พิ าทแล้ วลงลายมือชื่อไว้ ถือว่ าจาเลยยอม
รับว่ าแผนทีน่ ้ันถูกต้ อง ศาลต้ องพิพากษาตามข้ อเท็จจริ ง
ที่ปรากฏนั้น จาเลยจะอ้ างว่ าเนือ้ ทีด่ นิ ที่เจ้ าพนักงานที่ดนิ
รังวัดนั้น เกินไปจากที่เป็ นจริงไม่ ได้ เพราะที่ดนิ พิพาทมี
เนือ้ ที่เท่ าใด ไม่ เป็ นประเด็นในคาท้ า จาเลยจึงต้ องแพ้คดี
ฎีกา 2232/2530 โจทก์ จาเลยตกลงท้ ากันให้ เจ้ าพนักงานที่ดนิ
รั งวัดสอบเขตที่ดนิ โดยถือเอาการรังวัดนีเ้ ป็ นยุติ ย่ อมแสดง
ว่ าโจทก์ จาเลยมอบความไว้ วางใจเป็ นสิ ทธิขาดให้ เจ้ า
พนักงานที่ดนิ สาหรับการรังวัดสอบเขต แม้ เจ้ าพนักงาน
ที่ดนิ จะค้ นหาหลักฐานการรังวัดไม่ พบ ก็ต้องตรวจสอบหา
เขตที่ดนิ ไปตามหลักวิชา จะใช้ วธิ ีการนาชี้หาได้ ไม่ เพราะ
มิใช่ การรังวัดสอบเขตตามทีค่ ู่ความตกลงกัน
ฎีกา 8471/2544 กรณีตกลงท้ าให้ โรงพยาบาล 3 แห่ งตรวจว่ า
โจทก์ เป็ นบุตรผู้ตายซึ่งเป็ นเจ้ ามรดกหรือไม่ โดยใช้ วธิ ีตรวจ
ตามหลักการแพทย์ แพทย์ อาจตรวจมากกว่ า 1 ครั้งและ
ตรวจบุคคลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้ องได้ ด้วย ไม่ เป็ นการปฏิบัติ
นอกเหนือคาท้ า
ฎีกา 12183/2547 คู่ความตกลงท้ าให้ ผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์
ลายมือชื่อในเอกสารว่ าเป็ นของจาเลยหรือไม่ ผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจพิสูจน์ แล้ วลงความเห็นว่ าน่ าเชื่อว่ าเป็ นลายมือชื่อของ
จาเลย ดังนี้ ถือว่ าเป็ นไปตามคาท้ าแล้ ว
ฎีกา 90/2534 ตกลงท้ ากันว่ า ถ้ าโจทก์ ท้งั สามและ ผ. ยอม
สาบานต่ อหน้ าวัดทั้งเจ็ดที่กาหนด จาเลยยอมแพ้ คดี ศาล
ชั้นต้ นจดรายงานฯนัดสาบานไว้ 2 วัน แต่ มิได้ กาหนดว่ า
จะต้ องสาบานให้ เสร็ จตามเวลานัดทั้งสองวัน อันจะถือเป็ น
ข้ อแพ้ชนะกัน เมื่อโจทก์ ท้งั สามและ ผ.ได้ สาบานต่ อหน้ าวัด
จนครบทุกวัดตามทีก่ าหนดไว้ แล้ ว แม้ ไม่ ได้ สาบานให้ เสร็จ
ภายใน 2 วันตามที่นัดไว้ ก็ถือว่ าโจทก์ ได้ ปฏิบัติตามคาท้ า
ครบถ้ วนแล้ ว จาเลยต้ องเป็ นฝ่ ายแพ้คดีตามคาท้ า
ฎีกา 2291/2553 ท้ ากันว่ า หาก ก.เบิกความว่ า ก. เป็ นหุ้นส่ วน
ผู้จดั การของห้ างหุ้นส่ วนจากัด ส. ได้ รับเงินจากจาเลยทั้ง
สอง 1 ล้ านบาท โดยโจทก์ กบั จาเลยทั้งสองออกเงินคนละ
ครึ่งและจาเลยทั้งสองสารองจ่ ายแทนโจทก์ โจทก์ ยอมแพ้
หากเบิกความไม่ ตรงตามคาท้ า จาเลยทั้งสองยอมแพ้ เมื่อ ก.
เบิกความว่ าได้ รับเงิน 1 ล้ านบาทจากจาเลยทั้งสอง แต่ ไม่ มี
ข้ อตกลงออกเงินคนละครึ่งและจาเลยทั้งสองไม่ ได้ สารอง
จ่ ายแทนโจทก์ ถือว่ าคาเบิกความของ ก. ได้ นัยข้ อเท็จจริ ง
ตามคาท้ าแล้ ว จาเลยทั้งสองต้ องเป็ นฝ่ ายแพ้คดี
ฎีกา 57/2556 ตกลงท้ ากันว่ า “หากโจทก์ นาใบอนุญาตให้
โจทก์ ก่อสร้ าง ดัดแปลงต่ อเติมอาคารทีเ่ ช่ าตามแบบแปลน
ล. 9 มาแสดง จาเลยทั้งสามยอมแพ้และคืนเงินประกันให้
โจทก์ ” เมื่อโจทก์ สามารถนาใบอนุญาตก่ อสร้ าง ดัดแปลง
ต่ อเติมอาคารทีเ่ ช่ ามาแสดง แม้ ใบอนุญาตออกในนามจาเลย
ที่ 1 ซึ่งเป็ นเจ้ าของอาคาร และมีรายละเอียดแตกต่ างไปจาก
แบบแปลน ล. 9 ไปบ้ าง ก็ไม่ ใช่ สาระสาคัญของคาท้ า ถือว่ า
โจทก์ ได้ ปฏิบัติตามคาท้ าแล้ ว จาเลยทั้งสามต้ องฝ่ ายแพ้คดี
เมื่อดาเนินการตามคาท้ าแล้ ว ศาลต้ องตัดสิ นตามผล
ของคาท้ า จะไกล่ เกลีย่ หรือสื บพยานต่ อไปไม่ ได้
ฎีกา 998/2531 คู่ความตกลงกันว่ า หากผู้จดั การมรดกเสี ยง
ข้ างมากตั้งแต่ 3 คนขึน้ ไปยอมจ่ ายเงินจากกองมรดกให้
โจทก์ จาเลยทั้งสองยอมจ่ ายเงินให้ หรืออีกนัยหนึ่งจาเลย
ยอมแพ้นั่นเอง กรณีจงึ เป็ นคาท้ า เมื่อได้ เสี ยงข้ างมากจาก
ผู้จดั การมรดกแล้ ว ศาลชั้นต้ นต้ องพิพากษาให้ เป็ นไปตาม
ข้ อตกลงในคาท้ า การทีศ่ าลชั้นต้ นยังไกล่ เกลีย่ และสื บพยาน
โจทก์ ต่อไป จึงเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณา ไม่ ชอบด้ วย
ป.วิ.พ. มาตรา 138
หากไม่ เป็ นไปตามเงือ่ นไขของคาท้ า ศาลต้ องดาเนิน
กระบวนพิจารณาคดีต่อไป
ฎีกา 4858/2537 คู่ความท้ ากันว่ า หากคดีอาญาคดีถงึ ทีส่ ุ ด
โดยศาลพิพากษาว่ าจาเลยมีความผิดตามฟ้ อง จาเลยยอมแพ้
หากไม่ มีความผิดโจทก์ ยอมแพ้ ศาลพิพากษายกฟ้องเพราะ
คดีขาดอายุความ กรณีไม่ เป็ นไปตามคาท้ า แม้ คู่ความแถลง
ไม่ ติดใจสื บพยาน ศาลต้ องดาเนินกระบวนพิจารณาต่ อไป
ฎีกา 3412/2538 กรณีไม่ เป็ นไปตามคาท้ า คู่ความแถลงขอให้
ศาลตัดสิ นตามรู ปคดี การวินิจฉัยคดีถอื ตามภาระการพิสูจน์
หากยังดาเนินการให้ ถูกต้ องครบถ้ วนตามคาท้ า จะถือว่ า
ไม่ เป็ นไปตามคาท้ าไม่ ได้
ฎีกา 1580/2537 คู่ความท้ ากันขอให้ ถอื เอาผลการรังวัดที่ดนิ
ของเจ้ าพนักงานที่ดนิ เป็ นข้ อแพ้ชนะ แต่ ไม่ อาจรั งวัดได้
เพราะจาเลยที่ 1 ไม่ ยอมให้ เข้ าไปในที่ดนิ เพือ่ รั งวัด เมื่อ
คาท้ ามิได้ กาหนดให้ จาเลยที่ 1 แพ้คดีในกรณีนี้ ศาลจึง
ไม่ อาจชี้ขาดตามคาท้ าได้ แต่ ศาลชอบทีจ่ ะสั่งให้ ช่างรั งวัด
ทาการรั งวัดใหม่ และห้ ามจาเลยขัดขวางได้
ฎีกา 5285/2537 คู่ความท้ าให้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ ตัวเลข
2 ในสั ญญากู้ได้ เขียนขึน้ ในคราวเดียวกัน หรือเขียนเติมขึน้
ในภายหลังประการหนึ่ง และเขียนด้ วยหมึกจากปากกา
คนละด้ ามกันหรือไม่ อกี ประการหนึ่ง การทีศ่ าลชั้นต้ นขอ
ให้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ เฉพาะในประการแรกเท่ านั้น
ยังไม่ เป็ นไปตามคาท้ า ที่จะถือว่ าโจทก์ ต้องแพ้ คดี กรณีเป็ น
เรื่องการดาเนินกระบวนพิจารณาผิดระเบียบ ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 27
ฎีกา 1745/2513 คู่ความตกลงท้ ากันให้ ทดี่ นิ อาเภอและ
ปลัดอาเภอคนใดคนหนึ่งแล้ วแต่ นายอาเภอจะกาหนดตัว
ไปดูทพี่ พิ าทร่ วมกับคู่ความ เพือ่ ให้ ทราบว่ าทีพ่ พิ าทอยู่ใน
หมู่ทเี่ ท่ าใด ปรากฏว่ าเสมียนพนักงานทีด่ นิ อาเภอกับ
ปลัดอาเภอไปดูทดี่ นิ จึงไม่ ตรงกับคาท้ า ถือว่ ายังไม่ ได้
ปฏิบัติให้ ถูกต้ องตามคาท้ า ศาลจะพิพากษาให้ คู่ความฝ่ าย
หนึ่งฝ่ ายใดชนะคดียงั ไม่ ได้ ต้ องดาเนินการให้ ตรงตาม
คาท้ าเสี ยก่ อน
เมื่อศาลวินิจฉัยตามคาท้ าแล้ ว ประเด็นข้ ออ้ างหรือ
ข้ อเท็จจริงอืน่ ย่ อมหมดไป คู่ความจะอุทธรณ์ ฎกี าในเรื่อง
ที่นอกเหนือจากคาท้ าอีกไม่ ได้
ฎีกา 3531/2549 คู่ความตกลงท้ ากัน ศาลวินิจฉัยตามคาท้ า
และจาเลยเป็ นฝ่ ายแพ้คดีตามคาท้ าแล้ ว จาเลยจะอทุ ธรณ์
ในเรื่ องที่นอกเหนือจากคาท้ าอีกไม่ ได้ ถือว่ าเป็ นข้ อทีม่ ิได้
ยกขึน้ ว่ ากันมาแล้ วในศาลล่ าง ศาลสู งไม่ รับวินิจฉัยให้
ภาระการพิสูจน์ (burden of proof)
หมายถึง หน้ าทีต่ ามกฎหมายทีค่ ู่ความต้ องนาพยาน
หลักฐานเข้ านาสื บหรือพิสูจน์ ข้อเท็จจริงเพือ่ สนับสนุน
คาคู่ความของตน คู่ความฝ่ ายทีม่ ีภาระการพิสูจน์
ข้ อเท็จจริงใด หากไม่ นาสื บพยานหรือนาสื บไม่ ได้ คู่ความ
ฝ่ ายนั้นจะต้ องเป็ นฝ่ ายแพ้คดี
แตกต่ างจากลาดับการนาพยานเข้ าสื บ(order of proof)
คู่ความอาจตกลงให้ ฝ่ายใดนาสื บก่ อนก็ได้ แต่ การตัดสิ นคดี
จะต้ องเป็ นไปตามภาระการพิสูจน์ เสมอ
ภาระการพิสูจน์ เป็ นไปตามกฎหมาย หากกาหนดไม่ ถูกต้ อง
แม้ คู่ความไม่ ได้ โต้ แย้ งคัดค้ าน ศาลก็ต้องพิจารณาไปตามภาระ
การพิสูจน์ ทถี่ ูกต้ อง
ฎีกา 3059-3060/2516 ศาลกาหนดภาระการพิสูจน์ ผดิ แม้ จาเลย
จะมิได้ คดั ค้ าน เมื่อไม่ มีการสื บพยาน ศาลก็จะพิพากษาให้
โจทก์ ชนะคดีไปทีเดียวไม่ ได้ เพราะการทีศ่ าลจะพิพากษาให้
ฝ่ ายใดชนะคดีโดยถือภาระการพิสูจน์ เป็ นหลักนั้น ต้ องถือตาม
ภาระการพิสูจน์ ทถี่ ูกต้ องตามกฎหมาย (ฎีกา 376/2525 วินิจฉัย
ทานองเดียวกัน)
คู่ความฝ่ ายใดกล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริงใดสนับสนุน คาคู่ความ
ของตน ฝ่ ายนั้นมีภาระการพิสูจน์ ข้อเท็จจริงนั้น
มาตรา 84/1 ค่ คู วามฝ่ ายใดกล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริ งเพือ่ สนับสนุน
คาค่ คู วามของตน ให้ ค่ คู วามฝ่ ายนั้นมีภาระการพิสูจน์
ข้ อเท็จจริ งนั้น...
หลักสุ ภาษิตกฎหมาย “ ผ้ ใู ดกล่ าวอ้ าง ผ้ นู ั้นต้ องพิสูจน์
ผ้ ปู ฏิเสธหาได้ มีหน้ าทีต่ ้ องพิสูจน์ ไม่ ”
ฎีกา 70/2518 โจทก์ ฟ้องว่ าจาเลยผิดสั ญญาหมั้น จาเลยให้ การ
ปฏิเสธ โจทก์ มีหน้ าที่ต้องนาสืบ เมื่อไม่ สืบพยาน ศาลต้ องฟัง
ข้ อเท็จจริงโดยพิจารณาตามหน้ าที่นาสื บ
ฎีกา 5236/2543 โจทก์ ฟ้องว่ าจาเลยขายที่ดนิ พิพาทให้ โจทก์
จาเลยให้ การว่ าไม่ เคยแบ่ งขายทีด่ นิ และรับเงินค่ าที่ดนิ จาก
โจทก์ ทั้งไม่ เคยมอบการครอบครองทีด่ นิ ให้ แก่ โจทก์ โจทก์
กล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริง จาเลยให้ การปฏิเสธ ภาระการพิสูจน์
ตกโจทก์ ตามป.วิ.พ. มาตรา 84
จาเลยให้ การปฏิเสธและอ้ างเหตุแห่ งการปฏิเสธ การอ้ างเหตุ
แห่ งการปฏิเสธ ไม่ ถือว่ ารับและกล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริงขึน้ ใหม่
โจทก์ ยงั มีหน้ าที่นาสื บ
ฎีกา 219/2507 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยชาระเงินกู้ จาเลยให้ การว่ า
ไม่ ได้ ก้ เู งินโจทก์ และไม่ เคยทาสั ญญากู้ และฟ้องแย้ งว่ าจาเลย
จานองที่ดนิ เพือ่ เป็ นประกันการสั่ งซื้อรถยนต์ ที่โจทก์ จะสั่ งมา
ให้ จาเลย ดังนี้ เป็ นหน้ าที่ของโจทก์ ที่จะต้ องนาสืบก่ อนให้
ปรากฏข้ อเท็จจริงตามฟ้อง ส่ วนข้ อต่ อสู้ และฟ้องแย้ งว่ าจาเลย
จานองที่ดนิ เป็ นการประกันการสั่ งซื้อรถยนต์ เป็ นเพียงเหตุผล
ประกอบการปฏิเสธเท่ านั้น
ฎีกา 5400/2537 โจทก์ ฟ้องเรียกทีด่ นิ คืนจากจาเลยทั้งสองอ้ างว่ า
โจทก์ มอบที่ดนิ ให้ จาเลยทากินต่ างดอกเบีย้ จาเลยทั้งสองให้ การ
ต่ อสู้ ว่า โจทก์ ขายทีพ่ พิ าทให้ จาเลยทั้งสองแล้ ว ถือว่ าจาเลย
ทั้งสองให้ การปฏิเสธ โดยมิได้ ต้งั ประเด็นขึน้ มาใหม่ เพราะ
ข้ อเท็จจริงที่ว่าโจทก์ ขายทีด่ นิ ให้ จาเลยทั้งสองแล้ วนั้น เป็ น
เพียงเหตุผลของการปฏิเสธ โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบข้ อเท็จจริง
เพือ่ สนับสนุนข้ ออ้ างตามคาฟ้องทีว่ ่ า โจทก์ มอบทีพ่ พิ าทให้
จาเลยทั้งสองทากินต่ างดอกเบีย้ ไม่ ใช่ หน้ าที่ของจาเลยทั้งสอง
ทีจ่ ะต้ องนาสื บพิสูจน์ ว่าลายมือชื่อผู้ขายในสั ญญาขายพิพาท
เป็ นของโจทก์
หากจาเลยให้ การรับหรือถือว่ ารับในประเด็นที่โจทก์ อ้าง
แต่ ยกข้ อต่ อสู้ ขนึ้ ใหม่ จาเลยมีหน้ าทีน่ าสื บ
ฎีกา 1719/2543 โจทก์ ฟ้องว่ าจาเลยซื้อสิ นค้ าจากโจทก์ แล้ ว
ไม่ ชาระราคา จาเลยให้ การรับซื้อสิ นค้ าจริง แต่ ไม่ ชาระราคา
เพราะสิ นค้ าไม่ มีคุณภาพ จาเลยนาไปใช้ แล้ วเกิดความเสี ยหาย
เป็ นการกล่ าวอ้ างเรื่ องข้ อเท็จจริ งเรื่ องสินค้ าไม่ มีคณ
ุ ภาพขึน้
ปฏิเสธความรั บผิดชาระราคาสินค้ า จาเลยจึงมีหน้ าที่นาสืบ
หากพยานหลักฐานของจาเลยไม่ อาจรับฟังได้ สมกับข้ อต่ อสู้
ตามคาให้ การ จาเลยจึงต้ องแพ้คดี ศาลไม่ จาต้ องอาศัย
พยานหลักฐานโจทก์ มาวินิจฉัยว่ าสิ นค้ าโจทก์ บกพร่ องอีก
ฎีกา 6325/2552 จาเลยที่ 1 ให้ การรับว่ าสั่ งซื้อปูนซีเมนต์ จาก
โจทก์ แต่ บริษทั ภ. และธนาคาร ก. ร่ วมกันชาระเงินแก่ โจทก์
แล้ ว ส่ วนจาเลยที่ 3 และที่ 5 ให้ การรับว่ า ทาสั ญญาคา้ ประกัน
จริง แต่ อ้างว่ าจาเลยที่ 3 และที่ 5 บอกเลิกการคา้ ประกันซึ่ง
โจทก์ ยอมรับและให้ บุคคลอืน่ เข้ าคา้ ประกันแทนแล้ ว ถือเป็ น
คาให้ การทีย่ อมรับ แต่ กล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริงใหม่ จาเลยที่ 1
จาเลยที่ 3 และที่ 5 มีภาระการพิสูจน์ ตามคาให้ การ
ฎีกา 441/2506 โจทก์ เช่ าโรงมหรสพจากเจ้ าของ แล้ วมาทา
สั ญญากับจาเลย ให้ อานาจจาเลยดาเนินการฉายภาพยนต์ หรือ
จัดรายการบันเทิงในโรงมหรสพนี้ โดยจาเลยต้ องให้ เงินเป็ น
รายเดือนและต้ องรับภาระค่ าโทรศัพท์ ด้วย เมื่อจาเลยให้ การ
ว่ าจาเลยทาสั ญญากับโจทก์ จริงตามฟ้อง แต่ ต่อสู้ ว่าได้ ชาระ
ค่ าภาระติดพันต่ างแก่ โจทก์ ตามสั ญญาครบถ้ วนแล้ ว ก็เป็ น
หน้ าที่ของจาเลยต้ องนาสืบ
ฎีกา 636-640/2502 โจทก์ ฟ้องขับไล่ อ้ างจาเลยไม่ ชาระค่ าเช่ า
จาเลยให้ การว่ านาค่ าเช่ าไปชาระแล้ ว แต่ โจทก์ ไม่ รับ จาเลยมี
หน้ าที่นาสืบให้ สมตามข้ อต่ อสู้
ฎีกา 3446/2525 จาเลยที่ 3 ให้ การรับว่ า เป็ นผู้รับประกันภัย
แต่ ไม่ ต้องรับผิดเพราะจาเลยที่ 1 ผู้ขบั ขีไ่ ม่ ได้ รับอนุญาตให้
ขับรถยนต์ ตามกฎหมาย ซึ่งเป็ นข้ อยกเว้ นความรับผิดตาม
กรมธรรม์ ประกันภัย จาเลยที่ 3 กล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริงขึน้ ใหม่
จึงมีภาระการพิสูจน์
ฎีกา 913/2527 โจทก์ ฟ้องเรียกทรัพย์ ที่ฝากคืนจากจาเลย
จาเลยให้ การว่ า รับฝากทรัพย์ ไว้ จริง แต่ คนื ให้ โจทก์ ไปแล้ ว
จาเลยมีหน้ าที่นาสืบให้ ได้ ความว่ า ได้ คนื ทรัพย์ ที่รับฝาก
ให้ โจทก์ ไปแล้ ว
ฎีกา 2353/2519 โจทก์ ฟ้องขับไล่ จาเลยออกจากบ้ านและที่ดนิ
อ้ างว่ าจาเลยอาศัย จาเลยให้ การยอมรับว่ าอยู่ในบ้ านและทีด่ นิ
ของโจทก์ แต่ อ้างว่ ามีสิทธิอยู่ได้ เพราะโจทก์ จาเลยเป็ น
หุ้นส่ วนในการผลิตไม้ ปาเก้ ออกจาหน่ าย เพือ่ แบ่ งผลกาไร
และห้ างฯยังไม่ เลิก จาเลยยกข้ อเท็จจริ งขึน้ ใหม่ เพือ่ สนับสนุน
ข้ ออ้ างของจาเลยทีว่ ่ ามีสิทธิอยู่ในบ้ านและทีด่ นิ ของโจทก์
หน้ าที่นาสืบข้ อเท็จจริ งนี้จงึ ตกจาเลย
ฎีกา 6443/2544 จาเลยให้ การยอมรับว่ าซื้อสิ นค้ าจากโจทก์
แต่ ไม่ ต้องชาระราคา เพราะโจทก์ ผดิ สั ญญาแต่ งตั้งให้ จาเลย
เป็ นผู้แทนจาหน่ ายสิ นค้ าแต่ ผู้เดียวในประเทศไทย แต่ โจทก์
กลับจาหน่ ายสิ นค้ าให้ แก่ นิตบิ ุคคลในประเทศไทยหลายรายใน
ราคาต่ากว่ าที่ขายให้ จาเลย โจทก์ บ่ายเบี่ยงไม่ เปลี่ยนสิ นค้ าใหม่
โดยไม่ คดิ มูลค่ า จึงเป็ นกรณีทจี่ าเลยยกข้ อต่ อสู้ ขนึ้ ใหม่ เพือ่ ปัด
ความรับผิดที่จะไม่ ชาระราคาสิ นค้ าแก่ โจทก์ ภาระการพิสูจน์
ตกจาเลย
กรณีฟ้องให้ รับผิดตามสั ญญา
ก. หากจาเลยปฏิเสธว่ าไม่ ได้ ทาสั ญญา หรือไม่ ได้ ผิดสั ญญา
ตามที่โจทก์ อ้าง โจทก์ มีหน้ าที่นาสื บ
ข.หากจาเลยรับว่ าทาสั ญญา แต่ ต่อสู้ ว่าหนีไ้ ม่ สมบูรณ์ เช่ น
ต่ อสู้ ว่าทาสั ญญาเพราะถูกหลอกลวง ถูกข่ มขู่ ทาโดยสาคัญผิด
นิติกรรมตกเป็ นโมฆียะ หรือหนีร้ ะงับแล้ ว เช่ น ด้ วยการแปลง
หนีใ้ หม่ จาเลยมีหน้ าที่นาสื บ
ฎีกา 895/2517 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยชาระเงินตามสั ญญากู้
จาเลยให้ การว่ า จาเลยตกลงขายสวนให้ โจทก์ แต่ โจทก์ กลับ
หลอกลวงให้ ทาสั ญญากู้ และจาเลยไม่ ได้ รับเงิน ดังนี้
จาเลยมีหน้ าที่นาสืบ
ฎีกา 965/2556 โจทก์ ฟ้องว่ าจาเลยผิดสั ญญาเช่ าซื้อ จาเลยที่ 1
ให้ การรับว่ าทาสั ญญาจริง และชาระหนีห้ มดแล้ ว ภาระการ
พิสูจน์ ตกจาเลยที่ 1 ที่ต้องนาสื บให้ เห็นว่ าได้ ชาระหนีห้ มดแล้ ว
อย่ างไร
ฎีกา 331/2528 จาเลยที่ 1 ให้ การรับว่ า ได้ ทาบันทึกข้ อตกลง
ให้ โจทก์ ไว้ จริง แต่ ต่อสู้ ว่าถูกข่ มขู่ จาเลยที่ 2 ให้ การรับว่ าได้
ทาหนังสื อคา้ ประกันไว้ จริง แต่ ต่อสู้ ว่ากระทาโดยสาคัญผิด
ฉะนั้น ประเด็นที่ว่าจาเลยที่ 1 ถูกข่ มข่ หู รื อไม่ และจาเลยที่ 2
สาคัญผิดหรื อไม่ ภาระการพิสูจน์ ข้อเท็จจริงดังกล่ าวจึงตก
เป็ นหน้ าที่ของจาเลยทั้งสองเป็ นฝ่ ายนาสืบก่ อน ไม่ ใช่ ฝ่าย
โจทก์
ฎีกา 149/2544 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยชาระเงินตามสั ญญากู้เงิน
และคืน น.ส.3 ก เมื่อจาเลยยอมรับว่ าโจทก์ ทาสั ญญากู้ยมื เงิน
ตามฟ้องจริง แต่ อ้างว่ าได้ เปลีย่ นสั ญญากู้เงินกันใหม่ อกี 2 ครั้ง
จึงเป็ นการกล่ าวอ้ างว่ า คู่กรณีได้ ทาสั ญญาเปลีย่ นสิ่ งซึ่งเป็ น
สาระสาคัญแห่ งหนี้ คือ จานวนเงินทีก่ ้ ยู มื หากเป็ นจริงตามที่
จาเลยกล่ าวอ้ าง หนีต้ ามสั ญญากู้ยมื ตามฟ้องย่ อมระงับสิ้นไป
ด้ วยการแปลงหนี้ใหม่ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 349 โจทก์ ย่อมขอ
ให้ ชาระหนีต้ ามสั ญญาดังกล่ าวอีกไม่ ได้ เหตุนี้ จาเลยจึงมี
ภาระการพิสูจน์ ว่า มีการแปลงหนีใ้ หม่ จริงหรือไม่
ฎีกา 507/2497 โจทก์ ฟ้องเรียกเงินตามสั ญญากู้ จาเลยให้ การ
ต่ อสู้ ว่าเป็ นนิติกรรมอาพราง ทาขึน้ เพือ่ ลวงภริยาโจทก์ ความ
จริงไม่ ได้ รับเงินเลย เมื่อจาเลยรับว่ าได้ ทาสั ญญาซึ่งกล่ าวชัดว่ า
ได้ รับเงินแล้ ว เป็ นหน้ าที่จาเลยนาสืบตามข้ อต่ อสู้
กรณีฟ้องให้ รับผิดตามสั ญญากู้ หากจาเลยให้ การต่ อสู้ ว่า
เป็ นสั ญญากู้ปลอม โจทก์ มีภาระการพิสูจน์
ฎีกา 1806/2541 โจทก์ อ้างว่ าจาเลยกู้เงิน 110,000 บาท จาเลย
ให้ การว่ ากู้เพียง 40,000 บาท สั ญญากู้เป็ นเอกสารปลอม
โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบให้ เห็นว่ าสั ญญากู้เป็ นเอกสารแท้ จริง
เมื่อฟังว่ าสั ญญากู้เป็ นเอกสารปลอม ต้ องพิพากษายกฟ้อง
ฎีกา 1539/2548 โจทก์ ฟ้องให้ ชาระหนีเ้ งินกู้ จาเลยที่ 1 ให้ การว่ า
กู้จริง 4,500 บาทและลงชื่อในสั ญญากู้โดยไม่ ได้ กรอกข้ อความ
โจทก์ กรอกจานวนเงิน 200,000 บาทภายหลัง โดยจาเลยที่ 1
ไม่ ยนิ ยอม โจทก์ มีภาระการพิสูจน์ หากฟังว่ าเป็ นเอกสารปลอม
ถือว่ าไม่ มีหลักฐานการกู้ยมื เงินเป็ นหนังสื อ ไม่ มีอานาจฟ้อง
ฎีกา 3958/2535 จาเลยที่ 1 ให้ การว่ าลงชื่อในสั ญญากู้ขณะยัง
ไม่ ได้ กรอกข้ อความ จาเลยที่ 2 และที่ 3 ให้ การทานองเดียวกัน
ว่ า ลงชื่อในสั ญญาคา้ ประกันขณะยังไม่ ได้ กรอกข้ อความ
เท่ ากับปฏิเสธว่ า สั ญญากู้และคา้ ประกันเป็ นเอกสารปลอม
ภาระการพิสูจน์ ตกโจทก์
ฎีกา 1527/2518 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยรับผิดตามสั ญญากู้เงิน
จาเลยรับว่ าได้ ลงชื่อในเอกสารสั ญญากู้ แต่ มิได้ ต่อสู้ ว่า
เอกสารปลอม จาเลยอ้ างว่ าโจทก์ หลอกลวงว่ าจะจ่ ายเงิน
ให้ เมื่อจาเลยต้ องการ จาเลยจะต้ องนาสืบ
ฎีกา 6400/2547 โจทก์ ฟ้องจาเลยรับผิดในฐานะเป็ นผู้คา้
ประกันเงินกู้ จาเลยให้ การว่ า ผู้ก้ ชู าระหนีค้ รบถ้ วนแล้ ว เมื่อ
โจทก์ รับว่ าได้ รับชาระหนีจ้ ากผู้ก้ จู ริง แต่ เป็ นการชาระหนี้
รายอืน่ ทีผ่ ู้ก้ มู ีต่อโจทก์ ไม่ ได้ ชาระหนีร้ ายพิพาท จึงเป็ นกรณี
ที่โจทก์ กล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริงขึน้ ใหม่ โจทก์ มีภาระการพิสูจน์
กรณีฟ้องเรียกเงินตามเช็ค จาเลยรับว่ าลงลายมือชื่ อในเช็ค
แต่ อ้างเหตุปฏิเสธความรับผิด จาเลยมีภาระการพิสูจน์
ฎีกา 4793/2541 โจทก์ ฟ้องให้ จาเลยรับผิดใช้ เงินตามเช็ค
จาเลยให้ การว่ า ออกเช็คชาระหนีจ้ ริง แต่ โจทก์ ไม่ ชาระหนี้
ตอบแทน จาเลยไม่ ต้องรับผิดต่ อโจทก์ จาเลยมีหน้ าที่นาสืบ
ฎีกา 2189/2542 จาเลยให้ การรับว่ า ลงลายมือชื่อในเช็คพิพาท
แต่ ทาในฐานะหุ้นส่ วนผู้จดั การ จึงไม่ ต้องรับผิดเป็ นการ
ส่ วนตัว เป็ นการยกข้ อเท็จจริงขึน้ ปฏิเสธความรับผิด จาเลยมี
ภาระการพิสูจน์
กรณีฟ้องขอแบ่ งมรดก หากจาเลยยอมรับว่ าทรัพย์ เป็ นของ
เจ้ ามรดกจริง แต่ ผ้ ูตายทาพินัยกรรมยกทรัพย์ ให้ ผ้ ูอนื่ ไปแล้ ว
หรือได้ มีการแบ่ งทรัพย์ มรดกกันแล้ ว เป็ นกรณีที่จาเลยกล่ าว
อ้ างข้ อเท็จจริงขึน้ มาใหม่ หน้ าที่นาสื บตกจาเลย
ฎีกา 596/2534 จาเลยทั้งสองให้ การยอมรับว่ า บ.เป็ นทายาท
ผู้มีสิทธิ รับมรดกของ จ.และได้ ถึงแก่ กรรมไปแล้ วจริง แต่ อ้าง
ว่ า บ.ได้ ทาพินัยกรรมยกทรัพย์ สินส่ วนของตนให้ บุคคลอืน่
ไปแล้ ว จึงไม่ ตกได้ แก่ โจทก์ ท้งั สองซึ่งเป็ นทายาทโดยธรรม
จึงเป็ นกรณีที่จาเลยทั้งสองกล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริงขึน้ มาใหม่
หน้ าที่นาสืบตกจาเลยทั้งสอง
หากจาเลยปฏิเสธว่ า ทรัพย์ ที่โจทก์ ฟ้องขอแบ่ งไม่ ใช่ ทรัพย์
มรดก โจทก์ ต้องมีหน้ าที่นาสื บ
ฎีกา 1234/2529 โจทก์ ฟ้องขอแบ่ งทรัพย์ มรดกตามพินัยกรรม
2 รายการ แต่ ทรัพย์ 2 รายการนีไ้ ม่ ปรากฏในบัญชีท้ายคาร้ อง
ขอจัดการมรดกของจาเลย และจาเลยโต้ แย้ งว่ าไม่ ใช่ กรรมสิ ทธิ์
ของผู้ทาพินัยกรรม ดังนี้ ปัญหาว่ าทรัพย์ ดงั กล่ าวเป็ นทรัพย์
มรดกหรือไม่ เมื่อโจทก์ อ้างว่ าเป็ นมรดก โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบ
ฎีกา 376/2525 โจทก์ ฟ้องขอแบ่ งที่นา ส.ค. 1 จากจาเลยอ้ างว่ า
เป็ นมรดกของปู่ โจทก์ ซึ่งตกได้ แก่ โจทก์ จาเลยร่ วมกันและได้
ครอบครองร่ วมกันมา จาเลยให้ การว่ าปู่ ของโจทก์ ยกทีน่ า
พิพาทให้ แก่ บิดาของจาเลยก่ อนตาย จาเลยครอบครองที่
พิพาทโดยเจตนาเป็ นเจ้ าของตลอดมาเป็ นเวลาประมาณ 30 ปี
แล้ ว โจทก์ และบิดาโจทก์ ไม่ เคยเข้ าเกีย่ วข้ อง ดังนี้ เท่ ากับ
จาเลยปฏิเสธว่ าที่พพิ าทไม่ ใช่ มรดกและโจทก์ ไม่ ได้ ครอบครอง
โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบตามข้ อกล่าวอ้ าง
 กรณีทจี่ าเลยต่ อสู้ ว่า โจทก์ ไม่ มีอานาจฟ้อง โจทก์ มีหน้ าที่
นาสื บ เพราะโจทก์ ต้องแสดงให้ เห็นว่ า โจทก์ มีอานาจฟ้อง
จาเลยได้
ฎีกา 915/2525 จาเลยให้ การต่ อสู้ ว่า โจทก์ ไม่ มีอานาจฟ้อง
เพราะโจทก์ เคยฟ้องคดีนีแ้ ละทาสั ญญาประนีประนอมยอม
ความกันแล้ ว โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบ เมื่อโจทก์ ไม่ สืบ ข้ อเท็จจริง
รับฟังไม่ ได้ ตามที่โจทก์ แถลง ดังนั้น การที่ศาลแรงงานวินิจฉัย
ว่ าจาเลยให้ คามั่นกับโจทก์ ว่าจะจ่ ายค่ าชดเชยให้ ฟ้ องโจทก์
จึงไม่ เป็ นฟ้องซ้า จึงเป็ นการไม่ ชอบ
 กรณีทจี่ าเลยต่ อสู้ ว่าฟ้องโจทก์ ขาดอายุความ โจทก์ มีภาระ
การพิสูจน์
ฎีกา 1955/2531 โจทก์ ฟ้องจาเลยเรียกค่ าเสี ยหายอันเกิดแต่
มูลละเมิด จาเลยให้ การต่ อสู้ ว่าคดีโจทก์ ขาดอายุความ ภาระ
การพิสูจน์ ตกแก่ โจทก์ ที่จะต้ องนาสื บให้ ได้ ความว่ าคดีของ
โจทก์ ไม่ ขาดอายุความ หากโจทก์ สืบไม่ ได้ หรือไม่ สืบ ก็ต้อง
ถือว่ าคดีโจทก์ ขาดอายุความแล้ ว (ฎีกา 1069/2509, 774/2506,
1955/2531, 3042/2548 วินิจฉัยทานองเดียวกัน)
 หากจาเลยเป็ นฝ่ ายอ้ างเอาประโยชน์ จากอายุความเสี ยเอง
จาเลยต้ องมีหน้ าที่นาสื บ
ฎีกา 543/2512 โจทก์ ฟ้องว่ าโจทก์ และจาเลยเป็ นผู้รับ
พินัยกรรม โจทก์ ครอบครองทรัพย์ มรดกเพียงผู้เดียว จาเลย
ไม่ ได้ ฟ้องร้ องเพือ่ เรียกทรัพย์ มรดกจนพ้นกาหนด 1 ปี นับแต่
วันทีร่ ้ ู ถงึ สิ ทธิของตนในพินัยกรรมแล้ ว ขอให้ ห้ามจาเลยมิให้
คัดค้ านการทีโ่ จทก์ จะขอรับมรดก จาเลยให้ การว่ ามรดกรายนี้
มีการตั้งผ้ จู ดั การมรดก จาเลยจึงมีสิทธิเรี ยกทรั พย์ ได้ โดยไม่
ขาดอายคุ วาม ดังนี้ เมื่อจาเลยอ้ างเอาประโยชน์ จากอายุความ
เพราะเหตุนี้ ภาระการพิสูจน์ จงึ ตกแก่ จาเลย
 กรณีฟ้องเรียกคดีเพือ่ เอาคืนการครอบครองที่ดนิ มือเปล่ า
ซึ่งจะต้ องฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่ ถูกแย่ งการครอบครอง ตาม
มาตรา 1375 ไม่ ใช่ เรื่องอายุความ ฝ่ ายใดกล่ าวอ้ างว่ า อีกฝ่ าย
เสี ยสิ ทธิ ฝ่ ายกล่ าวอ้ างมีภาระการพิสูจน์
ฎีกา 1991/2524 โจทก์ ฟ้องขับไล่ จาเลยและบริวารออกจาก
ที่ดนิ มือเปล่ าและเรียกค่ าเสี ยหาย การทีจ่ าเลยให้ การต่ อสู้ ว่า
จาเลยได้ มาซึ่งที่ดนิ โดยการแย่ งการครอบครองนั้น จาเลยมี
หน้ าที่นาสืบว่ า จาเลยได้ ครอบครองทีพ่ พิ าทก่ อนโจทก์ ฟ้อง
เกินกว่ า 1 ปี แล้ ว(ดูฎกี า 7619/2543)
กรณีเรื่องค่ าเสี ยหาย ถ้ าจาเลยให้ การปฏิเสธ โจทก์ มีภาระการ
พิสูจน์ ถ้ าไม่ ปฏิเสธ ถือว่ าโจทก์ ได้ รับความเสี ยหาย อย่ างไรก็ดี
ถึงแม้ ว่าจาเลยจะมิได้ ให้ การโต้ แย้ งเรื่องค่ าเสี ยหาย ศาลอาจ
กาหนดประเด็นข้ อพิพาทและวินิจฉัยเรื่องค่ าเสี ยหายได้
ฎีกา 1888/2547 ป.พ.พ. มาตรา 438 วรรคหนึ่ง ให้ อานาจศาล
เกีย่ วกับค่ าสิ นไหมทดแทนว่ าจะพึงใช้ โดยสถานใด เพียงใดนั้น
ให้ ศาลวินิจฉัยตามควรแก่ พฤติการณ์ และความร้ ายแรงแห่ ง
ละเมิด ดังนั้น แม้ จาเลยไม่ ได้ ให้ การต่ อสู้ ในเรื่องค่ าเสี ยหาย
ศาลอาจกาหนดประเด็นข้ อพิพาทและวินิจฉัยเรื่องค่ าเสี ยหายได้
ประเด็นว่ า “ค่ าเสี ยหายมีจานวนมากน้ อยเพียงใด” โจทก์ มี
ภาระการพิสูจน์ อย่ างไรก็ดี แม้ โจทก์ นาสื บไม่ ได้ หรือไม่ สืบ
เลย ศาลก็มีอานาจกาหนดค่ าเสี ยหายให้ ตามสมควร
ฎีกา 250/2489 ในกรณีมีการผิดสั ญญาและเรียกค่ าเสี ยหาย
เป็ นหน้ าที่ของฝ่ ายที่เรียกร้ องจะต้ องนาสื บถึงจานวน
ค่ าเสี ยหาย แต่ ถ้าหากนาสื บค่ าเสี ยหายไม่ ได้ หรือไม่ นาสื บเลย
ศาลก็มีอานาจที่จะกาหนดค่ าเสียหายให้ ตามสมควร โดย
วินิจฉัยตามความคิดของวิญญูชนและพฤติการณ์ ปกติท้งั หลาย
(ดูฎกี า 1514/2546)
กรณีเรื่องค่ าเสี ยหายพิเศษ โจทก์ มีหน้ าที่นาสื บให้ เห็นว่ า จาเลย
ได้ คาดเห็นหรือควรจะคาดเห็นว่ า โจทก์ จะได้ รับความเสี ยหาย
พิเศษนั้น หากไม่ นาสื บหรือสื บไม่ ได้ จาเลยไม่ ต้องรับผิด
ฎีกา 2423/2551 โจทก์ เรียกค่ าเสี ยหายจากการทีจ่ าเลยไม่ ยอม
ให้ โจทก์ ถอนเงินฝาก ทาให้ โจทก์ เดือดร้ อนเป็ นเงิน 350,000
บาท และไม่ สามารถนาเงินจากบัญชีไปร่ วมลงทุน ทาให้ ขาด
กาไรวันละ 1,000 บาท ถือได้ ว่าเป็ นค่ าเสี ยหายที่เกิดจาก
พฤติการณ์ พเิ ศษ โจทก์ มิได้ นาสืบว่ าจาเลยได้ คาดเห็นหรือ
ควรจะคาดเห็นว่ าโจทก์ จะได้ รับความเสี ยหายดังกล่ าว จาเลย
จึงไม่ ต้องรับผิดชดใช้ ค่าเสี ยหายในส่ วนนีแ้ ก่ โจทก์
 กรณีมีข้อสั นนิษฐานไว้ ในกฎหมายเป็ นคุณแก่ คู่ความ
ฝ่ ายใด คู่ความฝ่ ายนั้นต้ องพิสูจน์ แต่ เพียงว่ า ตนได้ ปฏิบัตติ าม
เงือนไขแห่ งการที่ตนจะได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานนั้น
ครบถ้ วนแล้ ว(มาตรา 84/1) ภาระการพิสูจน์ ตกแก่ คู่ความอีก
ฝ่ ายที่เสี ยประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐาน
ก. ข้ อเท็จจริงพืน้ ฐาน(basic fact)
ข. ข้ อเท็จจริงที่สันนิษฐาน (presumed fact)
 กรณีกรรมสิ ทธิ์และสิ ทธิครอบครอง ถ้ าทรัพย์ พพิ าท
เป็ นทีด่ นิ มีทะเบียนกรรมสิ ทธิ์ ผู้มีชื่อในทะเบียนย่ อมได้ รับ
ประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานของกฎหมายตาม ป.พ.พ.มาตรา
1373 หน้ าทีน่ าสื บย่ อมตกแก่ คู่ความอีกฝ่ าย
ป.พ.พ. มาตรา 1373 “ถ้าทรั พย์ สินอันเป็ นอสังหาริ มทรั พย์ ที่
ได้ จดทะเบียนไว้ ในทะเบียนทีด่ นิ ท่ านให้ สันนิษฐานไว้ ก่อน
ว่ า บุคคลผ้ มู ีชื่อในทะเบียนเป็ นผ้ มู สี ิทธิครอบครอง”
ฎีกา 714/2521 โจทก์ ฟ้องว่ า จาเลยถือกรรมสิ ทธิ์ที่ดนิ แทน
โจทก์ ท้งั แปลง จาเลยให้ การว่ าจาเลยถือกรรมสิ ทธิ์ที่ดนิ
ดังกล่ าวแทนโจทก์ เพียงครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็ นของ
จาเลย เมื่อจาเลยมีชื่อเป็ นผ้ ถู อื กรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดนิ
ดังกล่ าว ย่ อมต้ องด้ วยข้ อสั นนิษฐานไว้ ก่อนว่ า จาเลยเป็ น
ผู้มีสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์
มาตรา 1373 โจทก์ จงึ ต้ องมีหน้ าที่นาสืบก่อน
 ข้ อสั นนิษฐานตาม ป.พ.พ.มาตรา 1373 หมายรวมถึงที่ดนิ
ที่มีเอกสารสิ ทธิเป็ นหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ น.ส. 3
หรือ น.ส. 3 ก ด้ วย
ฎีกา 4343/2539 การทีโ่ จทก์ มีชื่อในหนังสือรั บรองการทา
ประโยชน์ (น.ส.3)นั้น ป.พ.พ.มาตรา 1373 ให้ สันนิษฐานไว้
ก่ อนว่ าบุคคลทีม่ ีชื่อในทะเบียนเป็ นผู้มสี ิ ทธิครอบครอง จาเลย
อ้ างว่ าซื้อทีด่ นิ มาจาก ถ. เจ้ าของทีด่ นิ เดิมและครอบครองทา
ประโยชน์ ในทีด่ นิ พิพาทตลอดมา จาเลยจึงมีภาระการพิสูจน์
ฎีกา 7619/2543 โจทก์ ฟ้องขับไล่ จาเลยออกจากที่ดนิ พิพาท
และเรียกค่ าเสี ยหาย โดยมีหนังสือรั บรองการทาประโยชน์
ระบุชื่อโจทก์ เป็ นผู้มีสิทธิครอบครอง อ้ างว่ าซื้อจาก ป. มารดา
จาเลย จาเลยให้ การว่ า มารดาจาเลยขายทีด่ นิ พิพาทให้ โจทก์
จริง แต่ โจทก์ ไม่ ได้ เข้ าครอบครอง จาเลยครอบครองทา
ประโยชน์ เรื่อยมาจนได้ สิทธิครอบครอง ภาระการพิสูจน์ ตก
แก่ จาเลย ที่จะต้ องแสดงพยานหลักฐาน ให้ ปรากฏข้ อเท็จจริง
ว่ า การครอบครองที่ดนิ พิพาทของจาเลยตามฟ้ อง เพือ่ แย่ งเอา
สิ ทธิครอบครองของโจทก์ มาเป็ นของตน มิใช่ กระทาในฐานะ
แทนผู้ใด หากพิสูจน์ ไม่ ได้ ย่อมเป็ นฝ่ ายแพ้คดี
แต่ ถ้าอีกฝ่ ายต่ อสู้ ว่า การออกโฉนดทีด่ นิ ไม่ ถูกต้ องหรือไม่
ชอบด้ วยกฎหมาย ผู้มีชื่อในโฉนดมีหน้ าทีน่ าสื บ
ฎีกา 1202/2523 โจทก์ ฟ้องขับไล่ จาเลยออกจากทีด่ นิ พิพาท
ซึ่งมีโฉนดของโจทก์ จาเลยให้ การว่ า เป็ นทีด่ นิ อยู่ในสิ ทธิ
ครอบครองของจาเลย โฉนดที่ดนิ โจทก์ ออกทับทีด่ นิ จาเลย
10 ไร่ โดยไม่ ชอบ เมื่อมีปัญหาต้ องวินิจฉัยว่ า โฉนดตามฟ้อง
ถูกต้ องสมบูรณ์ ตามกฎหมายหรือไม่ ซึ่งโจทก์ เป็ นฝ่ ายกล่ าว
อ้ าง โจทก์ จงึ มีภาระการพิสูจน์
แต่ ถ้าจาเลยให้ การต่ อสู้ แต่ เพียงว่ า การออกโฉนดทีด่ นิ โดย
ไม่ สุจริต จาเลยมีหน้ าทีน่ าสื บ
ฎีกา 1616/2522 โจทก์ ฟ้องขับไล่ จาเลยซึ่งเป็ นผู้เช่ าออกจาก
ที่ดนิ พิพาท ซึ่งมีโฉนดที่ดนิ มีชื่อโจทก์ ถือกรรมสิ ทธิ์ จาเลยให้
การอ้ างว่ าโจทก์ ออกโฉนดโดยไม่ สุจริต จาเลยมีหน้ าที่นาสืบ
เมื่อจาเลยสื บไม่ สม ศาลพิพากษาให้ ขบั ไล่ จาเลยได้
 มาตรา 1373 ใช้ เฉพาะพิพาทกันว่ า ใครมีสิทธิดกี ว่ ากันในทีด่ นิ
มีโฉนดหรือ น.ส.3 ถ้ าเป็ นประเด็นอืน่ ที่ไม่ เกีย่ วกับสิ ทธิ
ครอบครองทีพ่ พิ าท ก็จะไม่ ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐาน
ฎีกา 1992/2511 โจทก์ ฟ้องว่ าจาเลยบุกรุกทีพ่ พิ าทซึ่งอยู่ในเขต
โฉนดของโจทก์ จาเลยให้ การว่ าที่ดนิ ตามโฉนดของโจทก์ มี
อาณาเขตติดกับทีด่ นิ ตามโฉนดของจาเลย จาเลยไม่ ได้ บุกรุก
ทีด่ นิ ของโจทก์ และว่ าทีพ่ พิ าทเป็ นทีด่ นิ อยู่ในเขตโฉนดซึ่งเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ของจาเลยแล้ ว ประเด็นจึงมีว่า “ที่พพิ าทอย่ ใู นเขต
ที่ดนิ ของโจทก์ หรื อจาเลย”เท่ านั้น โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบก่ อน
( ดู ฎีกา 2227/2533 วินิจฉัยทานองเดียวกัน)
หากทั้งโจทก์ และจาเลยต่ างมีชื่ออยู่ในโฉนดทีด่ นิ ฝ่ ายใด
อ้ างว่ า ทีด่ นิ เป็ นของตนผู้เดียว ฝ่ ายนั้นมีหน้ าที่นาสื บ
ฎีกา 181/2536 โจทก์ ฟ้องขอแบ่ งที่ดนิ คนละครึ่งกับจาเลย
เมื่อทีด่ นิ พิพาทเป็ นที่ดนิ มีโฉนด ซึ่งเป็ นเอกสารมหาชน แสดง
ความเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธ์ ของโจทก์ จาเลยผู้มีชื่อในโฉนด
ให้ สันนิษฐานไว้ ก่อนว่ าถูกต้ อง จาเลยให้ การต่ อสู้ ว่า ทีด่ นิ
พิพาทเป็ นของจาเลยทั้งหมด โดยโจทก์ มีชื่อถือกรรมสิ ทธิ์
แทนจาเลย จาเลยมีภาระการพิสูจน์ ให้ ปรากฏความจริงตาม
คาให้ การตาม ป.วิ.พ. มาตรา 127
ผู้ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานตามมาตรา 1373 รวมถึง
ทายาทของผู้มีชื่อในโฉนดทีด่ นิ หรือหนังสื อรับรองการทา
ประโยชน์
ฎีกา 109/2487 คู่ความรับกันว่ าบิดาโจทก์ มีชื่อในโฉนดที่ราย
พิพาท และจาเลยเป็ นฝ่ ายครอบครองมากว่ า 10 ปี ฝ่ ายโจทก์
อ้ างว่ าบิดาโจทก์ มอบให้ จาเลยทากินต่ างดอกเบีย้ ฝ่ ายจาเลยว่ า
บิดาโจทก์ ขายขาดให้ จาเลย โดยทาหนังสื อกันเองและจาเลย
ครอบครองปรปักษ์ มากว่ า 10 ปี ดังนี้ จาเลยต้ องนาสืบ
 ฝ่ ายหนึ่งมีชื่อในโฉนดที่ดนิ อีกฝ่ ายครอบครองปรปักษ์
แต่ ยงั ไม่ มีการเปลีย่ นแปลงทางทะเบียน ผู้มีชื่อในโฉนดยัง
ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานของกฎหมาย
ฎีกา 1985/2533 โจทก์ เป็ นบุตรของ อ. ซึ่งมีชื่อเป็ นเจ้ าของใน
โฉนดที่ดนิ พิพาท ส่ วนจาเลยยืน่ คาร้ องขอแสดงกรรมสิ ทธิ์
ในทีด่ นิ พิพาท ศาลได้ มีคาสั่ งแสดงว่ า ทีด่ นิ พิพาทเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ของจาเลย เมื่อโจทก์ มีชื่อในโฉนดที่ดนิ พิพาท
ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐาน จาเลยจึงมีภาระการพิสูจน์
ว่ าจาเลยเป็ นฝ่ ายครอบครองทีด่ นิ พิพาทด้ วยเจตนา เป็ น
เจ้ าของติดต่ อกันเป็ นเวลา 10 ปี
 ถ้ าทรัพย์ ไม่ มีทะเบียนกรรมสิ ทธิ์ เช่ น ทีด่ ินมือเปล่ า
สั งหาริมทรัพย์ ทั่วไป ฝ่ ายใดยึดถือทรัพย์ ไว้ ย่ อมได้ รับ
ประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐาน ฝ่ ายที่โต้ แย้ งมีหน้ าที่นาสื บ
ป.พ.พ. มาตรา 1369 “บุคคลใดยึดถือทรั พย์ สินไว้ ท่ านให้
สันนิษฐานไว้ ก่อนว่ าบุคคลนั้นยึดถือเพือ่ ตน”
มาตรา 1372 “สิทธิซึ่งผ้ คู รอบครองใช้ ในทรั พย์ สินที่
ครอบครองนั้น ท่ านให้ สันนิษฐานไว้ ก่อนว่ าเป็ นสิทธิซึ่ง
ผ้ คู รอบครองมีตามกฎหมาย”
ฎีกา 3059-3060/2516 โจทก์ ฟ้องขอแบ่ งที่ดนิ อ้ างว่ า เป็ น
มรดกของมารดาตกได้ แก่ โจทก์ จาเลยร่ วมกัน จาเลยให้ การ
ว่ ามารดายกทีด่ นิ พิพาทให้ จาเลยเพียงผู้เดียว จาเลยครอบ
ครองเพือ่ ตนมากว่ า 10 ปี แล้ ว ที่พพิ าทมิใช่ มรดกอันจะตก
แก่ โจทก์ กบั จาเลย เท่ ากับจาเลยปฏิเสธว่ าทีพ่ พิ าทมิใช่ มรดก
ของมารดา เมื่อทีพ่ พิ าทเป็ นที่ดนิ มือเปล่ า จาเลยเป็ นฝ่ าย
ครอบครองอย่ ู ย่ อมได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานของ
ป.พ.พ มาตรา 1369 และ 1372 ว่ ามีสิทธิครอบครอง โจทก์
จึงมีหน้ าที่นาสืบ ก่ อนว่ าที่พพิ าทเป็ นมรดก(และดู ฎีกา
703/2508)
ฎีกา 2550/2543 โจทก์ ฟ้องว่ า มีสิทธิครอบครองทีด่ นิ พิพาท
ร่ วมกับจาเลยโดยรับมรดกจากผู้มชี ื่อ ขอให้ ศาลพิพากษาว่ า
มีสิทธิครอบครองร่ วมกับจาเลย จาเลยจะให้ การว่ า ผู้มีชื่อ
เคยมีสิทธิในทีด่ นิ พิพาท ต่ อมาสละสิ ทธิครอบครอง จาเลย
ได้ ครอบครองทาประโยชน์ ในทีด่ นิ พิพาทมากว่ า 20 ปี แล้ ว
เมื่อขณะฟ้ องจาเลยเป็ นฝ่ ายครอบครองที่ดนิ พิพาทแต่ เพียง
ผู้เดียว ย่ อมได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานตามป.พ.พ.
มาตรา 1369 โจทก์ กล่ าวอ้ างว่ ามีสิทธิครอบครองทีด่ ินพิพาท
ร่ วมกับจาเลย โจทก์ ย่อมมีภาระการพิสูจน์
ถ้ าฝ่ ายหนึ่งมีชื่อในโฉนดทีด่ นิ ซึ่งได้ ประโยชน์ จากมาตรา
1373 อีกฝ่ ายครอบครองได้ ประโยชน์ จากมาตรา 1367 ต้ อง
บังคับตามมาตรา 1373
ฎีกา 3558/2553 ที่ดนิ พิพาทในคดีนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของทีด่ นิ
ทีโ่ จทก์ มีชื่อเป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ในโฉนดทีด่ นิ โจทก์ ย่อม
ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานของป.พ.พ.มาตรา 1373
ว่ าเป็ นของโจทก์ เมื่อจาเลยทั้งสองอ้ างว่ าตนเองได้ กรรมสิ ทธิ์
ที่ดนิ พิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์ จึงเป็ นหน้ าที่ของ
จาเลยทั้งสองที่จะต้ องนาสืบหักล้ างข้ อสั นนิษฐานของ
กฎหมาย
กรณีโจทก์ เป็ นฝ่ ายครอบครองทีด่ นิ แต่ มีข้อพิพาทกับรัฐ
ว่ าที่พพิ าทเป็ นสาธารณะสมบัติของแผ่ นดินหรือไม่ โจทก์
จะไม่ ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานของมาตรา 1369
และมาตรา 1372 เพราะโจทก์ ไม่ อาจยกการครอบครองยันรัฐ
ฎีกา 592/2513 โจทก์ ฟ้องว่ ารับมรดกที่พพิ าทและครอบครอง
ติดต่ อกันมา 60 ปี ต่ อมาจาเลยซึ่งเป็ นนายอาเภอออกคาสั่ งให้
โจทก์ ออกจากทีด่ นิ อ้ างว่ าเป็ นหนองนา้ สาธารณะ ขอให้ ศาล
พิพากษาว่ าที่ดนิ เป็ นกรรมสิ ทธ์ ของโจทก์ จาเลยต่ อสู้ ว่าที่
พิพาทเป็ นหนองนา้ สาธารณะ โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบว่ าที่
พิพาทเป็ นของโจทก์
ฎีกา 7/2539 โจทก์ ฟ้องว่ ามีสิทธิครอบครองทีพ่ พิ าท ขอให้
ศาลสั่ งแสดงว่ าที่พพิ าทโจทก์ มีสิทธิครอบครอง จาเลยให้ การ
ว่ าที่พพิ าทเป็ นที่ดนิ สาธารณะทีป่ ระชาชนใช้ ประโยชน์
ร่ วมกัน แม้ โจทก์ ครอบครองทีพ่ พิ าทอยู่กไ็ ม่ ได้ รับประโยชน์
จากข้ อสั นนิษฐาน เพราะโจทก์ จะยกเอาการครอบครองขึน้
ยันรัฐได้ ก็ต่อเมื่อโจทก์ ได้ สิทธิครอบครองในที่พพิ าทมา
โดยชอบตามวิธีการที่กฎหมายกาหนดและกฎหมายบัญญัติ
รับรองคุ้มครองสิ ทธิครอบครองนั้นไว้ ด้วย โจทก์ จงึ มีหน้ าที่
นาสืบว่ าที่พพิ าทเป็ นของโจทก์
กรณีสังหาริมทรัพย์ ถือหลักครอบครองเช่ นกัน
ฎีกา 304/2486 โจทก์ ฟ้องเรียกเครื่องเรือนคืนจากจาเลย
จาเลยให้ การว่ าทรัพย์ พพิ าทเดิมเป็ นของโจทก์ จริง แต่ โจทก์
ขายให้ แก่ จาเลย จาเลยชาระราคาแก่ โจทก์ แล้ ว คู่ความรับ
กันว่ าทรัพย์ อยู่ทจี่ าเลย ดังนี้ โจทก์ มีหน้ าทีต่ ้ องพิสูจน์ ตาม
ฟ้อง เมื่อโจทก์ จาเลยแถลงไม่ สืบพยาน โจทก์ ต้องแพ้ คดี
กรณีข้อสั นนิษฐานในเรื่องละเมิด มีกฎหมายหลาย
มาตราทีบ่ ัญญัตสิ ั นนิษฐานเป็ นคุณแก่ ผ้ ูเสี ยหาย มีผลเท่ ากับ
กาหนดให้ คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งมีหน้ าทีน่ าสื บ เช่ น ป.พ.พ.
มาตรา 433 และมาตรา 437
ป.พ.พ. มาตรา 437 “บุคคลใดครอบครองหรื อควบคมุ ดแู ล
ยานพาหนะอันเดินด้ วยกาลังเครื่ องจักรกล ต้ องรั บผิดชอบ
เพือ่ ความเสียหายอันเกิดแต่ ยานพาหนะนั้น
เว้ นแต่ พสิ ู จน์ ว่า เกิดเพราะเหตุสุดวิสัยหรื อความผิดของ
ผ้ ตู ้ องเสียหายนั้นเอง”
กรณีกรณีต้องเป็ นเรื่องที่ ฝ่ ายหนึ่งเป็ นยานพาหนะเดิน
ด้ วยกาลังเครื่องจักรกล อีกฝ่ ายหนึ่งไม่ ใช่
ฎีกา 559/2500 จาเลยรับว่ าขับรถยนต์ ชนรถสามล้ อที่โจทก์
ขับ จาเลยมีหน้ าที่นาสืบ ว่ าไม่ ต้องรับผิดตามมาตรา 437
แต่ กรณีที่ยานพาหนะเดินด้ วยกาลังเครื่องจักรกลด้ วยกัน
แล่ นโดนกันเสี ยหาย ผู้ครอบครองหรือควบคุมยานพาหนะ
ไม่ ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานตามมาตรา 437 กรณี
เช่ นนีห้ น้ าทีน่ าสื บตกอยู่หลักทัว่ ไป คือ ฝ่ ายใดกล่ าวอ้ างว่ า
อีกฝ่ ายหนึ่งทาละเมิดก็ต้องนาสื บ
ฎีกา 396/2544 โจทก์ ซึ่งเป็ นผู้เสี ยหายจะได้ รับประโยชน์ จาก
ข้ อสั นนิษฐานตาม ป.พ.พ.มาตรา 437 ก็ต่อเมื่อโจทก์ ไม่ ใช่
เป็ นผู้ครอบครองหรือควบคุมยานพาหนะอันเดินด้ วยกาลัง
เครื่องจักรกล เมื่อเหตุเกิดขึน้ จากรถยนต์ ของโจทก์ และ
จาเลยซึ่งกาลังเล่ นชนกัน เป็ นยานพาหนะอันเดินด้ วยกาลัง
เครื่องจักรกลทั้งสองฝ่ าย จึงไม่ ใช่ กรณีตามมาตรา 437
โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบว่ าจาเลยเป็ นฝ่ ายประมาทเพราะโจทก์
เป็ นผู้กล่ าวอ้ างข้ อเท็จจริง(ฎีกา 828/2490(ญ), 23792380/2532 วินิจฉัยในทานองเดียวกัน)
กรณีที่ยานพาหนะเดินด้ วยกาลังเครื่องจักรกลชนกันเอง
ผู้โดยสารทีไ่ ด้ รับความเสี ยหายและอยู่ในยานพาหนะ
ไม่ ได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานตาม มาตรา 437
ฎีกา 2379-2380/2532 ผู้โดยสารมาในรถยนต์ ของจาเลยที่ 3
ซึ่งเดินด้ วยกาลังเครื่องจักรกล เช่ นเดียวกับรถยนต์ ของ
จาเลยที่ 1 และที่ 2 ทีก่ ่ อให้ เกิดความเสี ยหาย ความเสี ยหาย
ไม่ ได้ เกิดจากยานพาหนะอันเดินด้ วยกาลังเครื่องจักรกลของ
จาเลยที่ 3 ฝ่ ายเดียว จึงนาบทบัญญัตมิ าตรา 437มาใช้ บังคับ
(ดูฎกี า 345/2482)
ข้ อสั นนิษฐานตาม มาตรา 437 ใช้ รวมถึงทรัพย์ อนั ตราย
โดยสภาพ
ฎีกา 241/2516 น้ามันเบนซินเป็ นทรัพย์ เกิดอันตรายได้ โดย
สภาพ เมื่อความเสี ยหายเกิดจาก นา้ มันเบนซินขณะอย่ ใู น
ความครอบครองของลกู จ้ างจาเลย กรณีจงึ ปรับได้ ตาม ป.พ.พ.
มาตรา 437 วรรคสอง ซึ่งจาเลยจะต้ องรั บผิด เว้ นแต่ จะพิสูจน์
ได้ ว่าเกิดแต่ เหตุสุดวิสัยหรือเพราะความผิดของโจทก์
ฎีกา 762/2517 คืนเกิดเหตุจาเลยใช้ เครื่ องจักรเดินด้ วยกาลัง
เครื่ องไฟฟ้ าแล้ วไฟฟ้าลัดวงจร เป็ นเหตุให้ ไฟไหม้โรงงาน
ลุกลามไปไหม้ บ้านโจทก์ จาเลยเป็ นผ้ มู ีไว้ ในครอบครอง
จะต้ องรับผิดชอบเพือ่ ความเสี ยหายอันเกิดขึน้ แก่ ทรัพย์ อนั
เป็ นของเกิดอันตรายได้ โดยสภาพ เว้ นแต่ พสิ ู จน์ ได้ ว่าเกิดแต่
เหตุสุดวิสัย หรือเกิดขึน้ เพราะความผิดของผู้ต้องเสี ยหายเอง
ตาม มาตรา 437 เมื่อจาเลยมิได้ นาสืบว่ าการที่ไฟฟ้าลัดวงจร
เกิดแต่ เหตุสุดวิสัย หรือเกิดเพราะความผิดของโจทก์ ผ้ ูต้อง
เสี ยหาย จาเลยจึงต้ องชดใช้ ค่าเสี ยหายให้ โจทก์
ฎีกา 4037 /2545 แท่ นไฮดรอลิกสาหรั บเทน้าตาลดิบออก
จากรถยนต์ บรรทุกซึ่งจอดอยู่บนแท่ นไฮดรอลิกนั้นลงฉาง
เก็บ เป็ นทรัพย์ อนั เป็ นของเกิดอันตรายได้ โดยอาการกลไก
ของทรัพย์ น้ัน ซึ่งจาเลยที่ 1 ผู้มีไว้ ในครอบครอง จะต้ อง
รับผิดชอบ เพือ่ การเสี ยหายอันเกิดแต่ ทรัพย์ น้ัน เว้ นแต่
จะพิสูจน์ ได้ ว่า การเสี ยหายนั้นเกิดแต่ เหตุสุดวิสัยหรือเกิด
เพราะความผิดของผู้เสี ยหายนั้นเองตาม ป.พ.พ. มาตรา 437
(ภาระการพิสูจน์ ตกจาเลย)
กรณีตั๋วเงิน หากจาเลยรับว่ าลงชื่อในตัว๋ เงิน แต่ อ้างเหตุว่า
ไม่ ต้องรับผิด หน้ าที่นาสื บตกจาเลย
ป.พ.พ. มาตรา 900 “บุคคลผ้ ลู งลายมือชื่อของตนในตั๋วเงิน
ย่ อมต้ องรั บผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น”
ฎีกา 395/2544 เมื่อจาเลยรับว่ าลงลายมือชื่อสั่ งจ่ ายเช็คพิพาท
จึงต้ องรับผิดชาระเงินตามเช็คพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา
900, 914 ประกอบมาตรา 989 เมื่อจาเลยอ้ างเหตุไม่ ต้องรับ
ผิด ภาระการพิสูจน์ จงึ ตกแก่ จาเลย โจทก์ จะยืน่ บัญชีระบุ
พยานหรือไม่ ก็ไม่ ทาให้ ผลคดีเปลีย่ นแปลงไป
 กรณีมาตรา 6 สั นนิษฐานว่ า บุคคลกระทาโดยสุ จริต
ฝ่ ายทีอ่ ้ างว่ ากระทาโดยไม่ สุจริต มีหน้ าทีน่ าสื บ
ป.พ.พ. มาตรา 6 ให้ สันนิษฐานว่ าบุคคลกระทาโดยสุจริ ต
ฎีกา 1521/2546 โจทก์ ฟ้องจาเลยทั้งสองขอให้ เพิกถอน
นิติกรรมซื้อขาย ลบชื่อจาเลยทั้งสองในสารบบทะเบียน
และใส่ ชื่อโจทก์ โดยบรรยายฟ้องทานองว่ า จาเลยที่ 2
รับซื้อฝากทีด่ นิ โดยไม่ สุจริต โจทก์ มีภาระการพิสูจน์ ให้
รับฟังได้ เช่ นนั้น เพราะจาเลยที่ 2 ได้ รับประโยชน์ จาก
ข้ อสั นนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา 6 ว่ ากระทาโดยสุ จริต
ฎีกา 165/2544 โจทก์ ท้งั สองฟ้องว่ า โอนทีด่ นิ ให้ จาเลยที่ 1
และที่ 2 เพือ่ ไม่ ให้ ถูกบังคับจานอง จาเลยที่ 1 และที่ 2 นา
ไปจานองผู้อนื่ และต่ อมาขายให้ แก่ จาเลยที่ 3 ถึงที่ 5 ขอให้
เพิกถอนสั ญญาซื้อขายและโอนทีด่ นิ คืน กรณีเป็ นเรื่องการ
แสดงเจตนาลวงโดยสมรู้ กบั คู่กรณีอกี ฝ่ ายหนึ่งตกเป็ นโมฆะ
แต่ จะยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ บุคคลภายนอกผ้ ทู าการโดยสุจริ ต
และต้ องเสี ยหายจากการแสดงเจตนานั้นไม่ ได้ ตาม ป.พ.พ.
มาตรา 155 ภาระการพิสูจน์ จงึ ตกแก่ โจทก์ ทงั้ สองทีจ่ ะต้ อง
นาสื บถึงความไม่ สุจริตของจาเลยที่ 3 ถึง ที่ 5 ซึ่งเป็ นผู้รับ
โอนทรัพย์ จากจาเลยที่ 1และที่ 2
 กรณีข้อสั นนิษฐานตาม ป.วิ.พ.มาตรา 127 เอกสารมหาชน
ซึ่งพนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ ทาขึน้ หรือรับรอง หรื อสาเนาอัน
รับรองถูกต้ อง ให้ สันนิษฐานไว้ ก่อนว่ า เป็ นของแท้ จริ งและ
ถูกต้ อง เป็ นหน้ าทีข่ องคู่ความทีถ่ ูกอ้ างเอกสารนั้นมายัน
ต้ องนาสื บความไม่ บริสุทธิ์หรือความไม่ ถูกต้ องแห่ งเอกสาร
ฎีกา 7772/2540 โฉนดที่ดนิ พิพาทมีชื่อ ท. เป็ นถือกรรมสิ ทธิ์
แต่ เพียงผู้เดียว ท. ย่ อมได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานของ
กฎหมายว่ าเป็ นเจ้ าของเพียงผู้เดียว เมื่อโจทก์ คดั ค้ านว่ าที่ดนิ
พิพาทเป็ นสิ นสมรสระหว่ างจาเลยกับ ท. ผู้ร้องมีบุริมสิ ทธิ
เพียงกึง่ หนึ่ง โจทก์ มีหน้ าที่นาสืบให้ เห็นตามข้ อกล่าวอ้ าง
กรณีมีข้อสั นนิษฐานที่ควรจะเป็ นซึ่งปรากฏจากสภาพปกติ
ธรรมดาของเหตุการณ์ เป็ นคุณแก่ คู่ความฝ่ ายใด คู่ความฝ่ าย
นั้นต้ องพิสูจน์ แต่ เพียงว่ า ตนได้ ปฏิบัตติ ามเงือ่ นไขแห่ งการ
ที่ตนจะได้ รับประโยชน์ จากข้ อสั นนิษฐานนั้นครบถ้ วนแล้ ว
ได้ รับอิทธิพลจากคอมมอนลอว์ เรื่อง“res ipsa loquitur”
หรือ“ข้ อสันนิษฐานตามความเป็ นจริ ง”เหตุการณ์ หรื อวัตถุ
บอกเรื่ องของมันเอง) The thing speaks for itself
ฎีกา 849/2490 เกิดไฟไหม้ บ้านเช่ า ในขณะทีผ่ ู้เช่ าเป็ น
ผู้ครอบครองในฐานะเป็ นผู้เช่ านั้น แม้ ผู้ให้ เช่ าจะสื บไม่ ได้
ความชัดว่ า ไฟเกิดขึน้ ด้ วยเหตุใด หรือใครทาให้ เกิดขึน้ ก็ดี
เมื่อได้ ความว่ าไฟเกิดขึน้ จากบ้ านที่เช่ า ไม่ ใช่ เกิดขึน้ ที่อนื่ แล้ ว
ลุกลามมาไหม้ บ้านเช่ าแล้ ว ผ้ เู ช่ าก็ย่อมมีหน้ าทีส่ ืบแสดงข้ อ
แก้ ตัวเพือ่ ให้ พ้นความรับผิด ถ้ าสื บไม่ ได้ กไ็ ม่ พ้นความรับผิด
ฎีกา 1206/2500 แพซุงของจาเลยขาดลอยตามนา้ ทีไ่ หลเชี่ยว
ไปกระทบเสาเรือนโจทก์ เสี ยหาย แม้ โจทก์ จะไม่ มีพยานสื บ
ว่ า เป็ นเพราะเหตุใดแพจึงขาด จาเลยก็ต้องรับผิด เพราะ
เป็ นหน้ าทีจ่ าเลยจะต้ องระวังรักษาไม่ ให้ แพซุงขาดลอยไป
ตามกระแสนา้ ที่ไหลเชี่ยว