กิจกรรมฝึกการบริหารความขัดแย้ง โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ กรรมการพิทก ั ษ์ระบบคุณธรรม(ก.พ.ค.) ในการสัมมนาผูบ ้ ริหารก.ศ.น. วันพุธที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐น. โรงแรมปรินเซส หลานหลวง กทม.

Download Report

Transcript กิจกรรมฝึกการบริหารความขัดแย้ง โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ กรรมการพิทก ั ษ์ระบบคุณธรรม(ก.พ.ค.) ในการสัมมนาผูบ ้ ริหารก.ศ.น. วันพุธที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐น. โรงแรมปรินเซส หลานหลวง กทม.

กิจกรรมฝึกการบริหารความขัดแย้ง
โดย
ดร.จรวยพร ธรณินทร์
กรรมการพิทก
ั ษ์ระบบคุณธรรม(ก.พ.ค.)
ในการสัมมนาผูบ
้ ริหารก.ศ.น.
วันพุธที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๓
เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐น.
โรงแรมปรินเซส หลานหลวง กทม.
ก.ทุกคนร่ วมกันพิจารณา
กรณีท1ี่ ความขัดแย้ งภายในองค์ กร
สภามหาวิทยาลัยศิลปากรลงมติถอดถอน นายวิวฒ
ั น์
ชัย อัตถากร จากตาแหน่ งอธิการบดี ด้ วยมติ20 : 1
(http://gotoknow.org/blog/sombatn-ednuqakm/99656)
-ความขัดแย้ งระหว่ างคู่กรณี
คือ อธิการบดี กับ คณบดี 13คณะ
้ านาจ
ิ ปากรมีมติถอดถอนอธิการบดีโดยการใชอ
สภาม.ศล
สภาฯตามมาตรา 16 (7) (พิจารณาดาเนินการเพือ
่ โปรด
เกล้าฯแต่งตงและพิ
ั้
จารณาถอดถอนอธิการบดี) ในการ
ประชุมสภามศก.เมือ
่ 24 พค.2550
 เหตุผลในการถอดถอน
 1.ข้ อร้ องเรียนของคณบดี13
คณะ จาก 14คณะ คือ อธิการบดี
ไร้ ประสิ ทธิภาพ ทางานล่ าช้ า และไม่ เอือ้ ต่ อการทางานของมศก.
 2.ผลสารวจความคิดเห็นที่มีต่อการปฏิบัติงานของอธิการบดี คือ
2.1การดาเนินงานตามนโยบายมีความชัดเจน
ชัดเจน 33.52% ไม่ ชัดเจน 66.48%
2.2 มหาวิทยาลัยศิลปากรมีการเปลีย่ นแปลง
ดีขนึ้ 24.74%ไม่ เปลีย่ นแปลง 42.14%ถดถอย27.19%อืน่ ๆ 5.93%
2.3 ความพึงพอใจต่ อการบริหารงาน
พอใจ 36.81% ไม่ พอใจ 46.06% อืน่ ๆ 17.13%
เหตุผลของสภามหาวิทยาล ัยคือ
ข้อ1.ความข ัดแย้งเนือ
่ งจากสาระของงาน
 วิธีการทีส
่ ภามหาวิทยาลัยใช้ เพือ่ ยุตคิ วามขัดแย้ ง
คือ
 ขั้นตอนที1
่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้ อเท็จจริงโดย
นายชุมพล ศิลปะอาชา เป็ นประธาน
ผล : สภาฯ มีมติมอบให้ นายกสภาฯ และกรรมการไป
ขอให้ อธิการบดีเสี ยสละลาออกจากตาแหน่ ง แต่ อธิการบดี
ไม่ ลาออก
ข้ อ1ความขัดแย้ งเนื่องจากสาระของงาน
ขั้นตอนที่ 2 ตั้งคณะกรรมการสารวจความคิดเห็นของประชาคม
มศก. โดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็ นประธาน
ผล ประชาคมส่ วนใหญ่ เห็นว่ าการบริหารตามนโยบายไม่ ชัดเจน
(66.48%) มหาวิทยาลัยไม่ เปลีย่ นแปลงและถดถอย
(42.14% และ 27.19%) และไม่ พอใจในการบริหารและอืน่ ๆ
(46.06% และ 17.13%)
 ขั้นตอนที่ 3 ประชุ มหารื อโดยอภิปรายกันอย่ างกว้ างขวาง และ
พิจารณาว่ าการตัดสิ นใจอย่ างไรจึงจะดีที่สุด และเป็ นคุณแก่
มหาวิทยาลัยมากที่สุด

ผล สภามหาวิทยาลัยลงมติถอดถอน
สาเหตุของความขัดแย้ งของมหาวิทยาลัย
1.ข้ อมูลหรื อข้ อเท็จจริ ง กรณีนีเ้ กิดจากการร้ องเรี ยน
เรื่องประสิ ทธิภาพการบริหาร และผลการสารวจความคิดเห็น
ตลอดจนการอภิปราย
2.เป้าหมายขององค์ กรที่ประชาคมเห็นร่ วมกัน คือ นโยบายและ
ทิศทางการบริหารองค์ กรที่ชัดเจน
3.ค่ านิยมที่คนในองค์ กรยอมรับ และเห็นว่ าเป็ นพฤติกรรม
การบริหารที่ดเี ป็ นสิ่ งทีค่ าดหวังจะได้ จากผู้บริหาร
4.โครงสร้ าง การบริหารองค์ กรที่มีสายการบังคับบัญชาแต่ ละ
ระดับ คือสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี คณบดี ฯลฯ
5.การเปลีย่ นแปลง ถ้ าไม่ เป็ นไปตามความคาดหวังของคนใน
องค์ กร ก็เกิดความขัดแย้ งและต้ องแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง
วิธีการทีใ่ ช้ ในการแก้ ปัญหา คือ เจรจาต่ อรอง
 วิธีการทีใ่ ช้ ในการแก้ ปัญหา คือวิธีเจรจาต่ อรอง
ซึ่งตามหลักการ
มี 2 วิธี คือ
1.การเจรจาต่ อรองแบบแจกแจง (Distributive
Negotiation) เป็ นการเจรจาต่ อรองทีเ่ น้ นข้ อกล่ าวหา
2.การเจรจาต่ อรองแบบยึดหลักการ (Intrigrative Negotiation)
เป็ นการเจรจาต่ อรองทีม่ ่ ุงให้ ทุกฝ่ ายเป็ นผู้ชนะ (Win-Win)
 สภามหาวิทยาลัยใช้ วธ
ิ ีการแรกในการเจรจาต่ อรอง และสุ ดท้ ายใช้
วิธีการตัดสิ นความขัดแย้ งโดยการใช้ อานาจ (แบบฉลาม)
เนื่องจากกรณีที่เกิดขึน้ ไม่ มีโอกาสที่จะเลือกวิธีการที่สองได้ เลย
เปิ ดประเด็นกรณีมหาวิทยาลัยศิลปากร ท่ านคิดอย่ างไร
๑. ใครควรเป็ นผู้แก้ ปัญหาความขัดแย้ ง ระหว่ าง สภา
มหาวิทยาลัย หรือ อธิการบดี
๒.ท่ านมีวธิ ีอนื่ ในการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งนี้
อย่ างไร
๓.หากท่ านเป็ นอธิการบดีท่านจะทาอย่ างไร
ร่ วมกันพิจารณากรณีตัวอย่ างที่๒ การแก้ไขปัญหาความ
ขัดแย้ ง กรณีท่อก๊ าซ จ.กาญจนบุรี ปี 2550
 ราษฎรหลายกลุ่ม ไม่ พอใจรั ฐจัดสร้ างท่ อก๊ าซ จึงตกลงกันว่ าจะ
เจรจาหาข้ อยุติ ทุกกลุ่มตกลงตามหลักการดังนี้
 1. บรรลุข้อตกลงให้ มากทีส
่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะเป็ นไปได้ และข้ อตกลงเป็ น
ฉันทามติร่วมกันของคู่เจรจา
 2. นาข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องกับประเด็นต่ าง ๆ มาใช้ ร่วมกันในลักษณะ
สร้ างสรรค์
 3. ปฏิบัตต
ิ ่ อกันและกันด้ วยความเคารพ
 4. หาความกระจ่ างเมื่อไม่ เข้ าใจในสิ่ งทีค
่ ู่เจรจาพูด
การวางแนวทางการเจรจาเพือ่ แก้ ไขปัญหาความขัดแย้ง
กรณีท่อก๊ าซ จ.กาญจนบุรี
 5. อภิปรายเกีย่ วกับประเด็นของความต้ องการหรือความสนใจที่
ทาให้ เกิดปัญหาและ ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้ อง
 6. รั บทราบและมีส่วนร่ วมในการประชุ ม และกิจกรรมที่
เกีย่ วข้ องกับกระบวนการเจรจา
 7. หลีกเลีย่ งการกระทาใด ๆ ในกระบวนการเจรจาที่จะบั่นทอน
โอกาสทีก่ ระบวนการ เจรจาจะประสบความสาเร็จ โดยใน
ขั้นต้ นนี้ จะกาหนดไว้ เฉพาะในสถานทีป่ ระชุมก่ อน
การวางแนวทางการเจรจาเพือ่ แก้ ไขปัญหาความขัดแย้ง
กรณีท่อก๊ าซ จ.กาญจนบุรี
 8. ประชาสั มพันธ์ สิ่งทีไ่ ด้ จากข้ อตกลง ทีบ
่ รรลุแล้ วในการ
เจรจาให้ ผ้ ูสนับสนุนทุกฝ่ ายให้ ทราบและให้ สาธารณชน
ทัว่ ไปได้ ทราบอย่ างทัว่ ถึง
 9. ให้ คนกลางผู้ดาเนินการเจรจาไกล่ เกลีย่ และคู่เจรจา
ทราบข้ อมูลทุกอย่ างทีเ่ กีย่ วกับกับประเด็นปัญหา
 10. เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูเกีย่ วข้ องนาเสนอประเด็นทีส
่ รุปไปแล้ ว
ได้ เฉพาะกรณีทมี่ ขี ้ อมูลใหม่ และคู่เจรจาเห็นชอบ
วิธีการประชุมกรณีท่อก๊ าซฯทีท่ ุกฝ่ ายตกลงใช้
1. ให้ สถาบันสั นติศึกษา เป็ นผู้ประสานและกากับการประชุม
2. ให้ ผู้ร่วมโต๊ ะเจรจา ผลัดกันพูดโดยยกมือขอพูด เมื่อผู้หนึ่งพูดคนอืน่ ต้ อง
ฟัง
3. มีการขอเวลานอก ไปปรึกษาหรือในกลุ่มได้ โดยมีการกาหนดเวลาว่ าจะ
พักนานเท่ าใด
4. เวลาทีใ่ ช้ ประชุม เช้ า 10.00-12.00น. บ่ าย 13.30-17.00 น. แล้ วให้ เขียน
สรุปข่ าวลงนามและมีการแถลงข่ าวร่ วมกัน
5. มีการตกลงว่ าจะยกประเด็นใดมาเจรจา มีการกาหนดบรรทัดฐานในการ
สนับสนุนข้ อยุตแิ ละจัดแบ่ งเป็ นการประชุมกลุ่มย่ อยได้
วิธีการประชุมกรณีท่อก๊าซฯทีท่ ุกฝ่ ายตกลงใช้
 6. ไม่ มีการจากัดเวลาให้ พูด
แต่ ขอให้ ผู้พูดนาเสนออย่ างกระชับ
ตรงประเด็น ถ้ าไม่ ตรงประเด็นให้ ประธานทีป่ ระชุมเตือนและยุติ
การพูดได้
 7. เนื่องจากสื่ อมวลชนเข้ าฟังไม่ ได้ โดยตลอด ขอให้ สื่อพิจารณา
ดาเนินการมิให้ เกิดการบั่นทอนการเจรจาและกรณีที่มีปัญหาผ่ าน
ทางสื่ อมวลชน ให้ นาเข้ ามาสู่ โต๊ ะเจรจา และมีการแถลงข่ าวซ้า
8. ผู้เข้ าร่ วมโต๊ ะเจรจา
- ควรอยู่ในทีป่ ระชุ มตลอดเวลาทีเ่ ข้ าร่ วมประชุ ม
- ถ้ าไม่ สามารถเข้ าร่ วมประชุ มได้ ต้ องแจ้ งล่วงหน้ า
หากจาเป็ นให้ ทปี่ ระชุ มลงมติว่าควรเลือ่ นการประชุ มหรือไม่

เปิ ดประเด็นความคิดของท่ านต่ อ
กรณีท่อก๊ าซ หรือการแย่ งผลประโยชน์ สาธารณะ
 ๑. ประเด็นความขัดแย้ งลักษณะใดทีค
่ วรทาประชาพิจารณ์ วง
กว้ าง
 ๒. ในการเลือกบุคคลทีเ่ ป็ นตัวแทนกลุ่มเข้ าเจรจาต่ อรอง ควร
เป็ นแบบใด
 ๓. นักวิชาการควรมีบทบาทอย่ างไร หรือไม่ ในกรณีท่อก๊ าซ
เช่ นนี้
 ๔.มีประเด็นของกศน.เรื่องใดทีน
่ ่ าจะจัดทา ประชาพิจารณ์
ข. กิจกรรมกลุ่ม
การจัดการความขัดแย้ ง
กรณีที่ 3 - 9
กรณีท3ี่ การขัดแย้ งระหว่ างบุคคล2คน
ณ ห้ องสมุดอาเภอแห่ งหนึ่ง นักศึกษากาชัย กาลั งทางาน
อยู่บนโต๊ ะในห้ องสมุด มีเอกสารวางอยู่มาก นักศึกษากาชัย นั่ง
ทำงำนอยู่อย่ ำงสงบมำประมำณสองชั่วโมง นักศึกษำขวัญเรื อน เดินเข้ ำ
มำในห้ องสมุ ดเพื่ออ่ ำนหนังสื อ นั่งอ่ ำนสั กครู่ รู้ สึกอัดอัดจึงลุกไปเปิ ด
หน้ ำต่ ำงเพื่อให้ ลมพัดเข้ ำมำ ทันใดนั้น ลมก็พัดเอำเอกสำรของนักศึกษำ
กำชั ยปลิวกระจัดกระจำย นั กศึ กษำกำชั ยไม่ พอใจอย่ ำงยิ่งและต่ อว่ ำ
นักศึกษำขวัญเรือน โต้ เถียงกันจนเกิดเสี ยงดังรบกวนคนอืน่ ต่ ำงคนต่ ำง
ไม่ ยอมรับกันเรื่องกำรเปิ ดและปิ ดหน้ ำต่ ำง
ท่ ำนเป็ นบรรณำรักษ์ ห้องสมุด ท่ ำนจะแก้ ไขควำมขัดแย้ งอย่ ำงไร
กรณีท่ 4ี ความขัดแย้ งระหว่ างองค์ กร
ณ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ชุ ม ชนแห่ ง หนึ่ ง มี โ รงงานผลิ ต
อาหารกระป๋อง และองค์ กรมูลนิธิเด็กดูแลศูนย์ เด็กอยู่ วัน
หนึ่งทัง้ สององค์ กร คือโรงงานและมูลนิธิฯ ได้ ไปที่ศูนย์ การ
เรี ย นรู้ ฯที่ เ ปิ ดรั บ อบรมฟรี ร่ ุ นเดี ย ว๔๐คน เรื่ องการใช้
คอมพิวเตอร์ ในการบริ หารงานและการให้ บริ การ ทัง้ สอง
องค์ กรต้ องการส่ งคนของตนทัง้ หมดเข้ าอบรมเต็มจานวน
๔๐คน ต่ า งฝ่ ายต่ า งไม่ ย อม อ้ า งเหตุ ผ ลต่ า งๆว่ า จ าเป็ น
ต้ องอบรมทัง้ หมดให้ ได้
ถ้ าท่ านเป็ นผู้อานวยการศูนย์ ฯท่ านจะแก้ ปัญหานีอ้ ย่ างไร
กรณีท5
ี่ เลือกใครดี
ั
 ถา
้ แห่งหนึง่ มีพระ 7 รูปอาศยอยู
ค
่ อ
ื
-ประธานสงฆ์ -พระน้องชาย -พระเพือ
่ น
สนิท -พระคูอ
่ ริ -พระชรา -พระอาพาธ
ใกล้มรณะ -พระไม่เอาไหน
 ว ันหนึง
่ โจรกลุม
่ หนึง่ ต้องการยึดถา้ เป็น
ฐานทีม
่ น
่ ั และจะฆ่าพระทุกรูปปิ ดปาก
เมือ
่ ถูกขอร้องโจรให้ประธานสงฆ์เลือก
มารูปหนึง่ เพือ
่ จะฆ่า
 ประธานสงฆ์จะเลือกพระรูปใด
กรณีท6
ี่ ว ัวไล่ขวิด
ั มนา
 ระหว่างพักสม
อาจารย์สมชายไปเดินใน
สวน มีววั ฝูงหนึง่ เล็มหญ ้าอยู่ สองตัวอยูร่ ม
ิ
แม่น้ า ทันใดนัน
้ วัวตัวหนึง่ วิง่ เข ้าใส่
อาจารย์สมชายจะทาอย่างไรดี?
 - 1.อยูก
่ บ
ั ที่ วัวหลบเอง –2. วิง่ เข ้าหาวัว ทา
ให ้มันกลัว – 3.วิง่ หนีววั มันคงไล่ไม่ทัน –4.
่ ไปหลบหลังต ้นไม ้
วิง่ ไปอีกทาง เชน
 ระหว่างวัวกับอาจารย์สมชาย ท่านเห็นใจ
ใคร?
กรณีท7
ี่ ความข ัดแย้งระหว่างสามีภรรยา
่ ยแบ่งเบา
 ภรรยาทางานและต ้องการให ้สามีชว
ภาระงานบ ้านและชว่ ยดูแลลูก โดยถือว่าความ
เสมอภาคทางเพศสภาพเป็ นคุณค่าหลักของ
เธอ
 สามีคด
ิ ว่าเขามีหน ้าทีห
่ ลักในหาเลีย
้ งครอบครัว
สว่ นภรรยา สว่ นภรรยาต ้องดูแลบ ้านและลูก
เป็ นหลัก การทางานบ ้านและเลีย
้ งลูกไม่
สอดคล ้องกับภาพพจน์ของตนในเรือ
่ งชาย
ชาตรี
กรณีท ี่ 7 ความข ัดแย้งระหว่างสามีภรรยา
่ ยเหลือของผูใ้ ห้คาปรึกษา
 ด้วยความชว
สามีภรรยาคูน
่ เี้ ริม
่ ฟังก ันและเข้าใจ
ึ ของอีกฝ่าย เมือ
ความรูส
้ ก
่ เริม
่ เข้าใจก ัน
แล้ว ความข ัดข้องใจทีม
่ ต
ี อ
่ จุดยืนของอีก
ี
ฝ่ายก็ลดลง จุดยืนด ังกล่าวทาให้เสย
ึ น้อยลง จึงเริม
ความรูส
้ ก
่ คิดหาทางออก
ร่วมก ันได้
่ ยทางานบ้าน
 พวกเขาตกลงจ้างคนมาชว
และดูแลลูก แม้ไม่ตรงตามทีต
่ อ
้ งการ
ทงหมด
ั้
แต่ก็ยอมร ับก ันได้
กรณีท7
ี่ ความข ัดแย้งระหว่างสามีภรรยา
 หกเดือนหล ังการแต่งงาน
ภรรยา
เขียนเช็คเกินจานวนเงินในบ ัญช ี
สามีจงึ ไม่ยอมให้ภรรยาเขียนเช็ค
อีกเลยเป็นเวลา 39 ปี แล้ว”
 ท่านคิดว่าปัญหาความข ัดแย้งใน
ครอบคร ัว โดยเฉพาะสามีก ับ
ภรรยาม ักเกิดจากสาเหตุใด และ
จะแก้ไขหรือป้องก ันได้อย่างไร
เฉลยแก้ไขความข ัดแย้งใน
ครอบคร ัว (http://www.pattanakit.net)
ั
ิ สว
่ นต ัว 2) ขาด
1. สาเหตุ 1)นิสยและความเคยช
น
ความตระหน ักในบทบาทและหน้าที่ 3)ไม่ม ี
้ วามรุนแรงต ัดสน
ิ
เวลาให้ก ันและก ัน 4)ใชค
ปัญหาในครอบคร ัว 5)การนอกใจก ันของสามี
หรือภรรยา
2. แนวทางแก้ไข คือ ยึดหล ัก “3 ไม่”และ “ 4 มี “
“3ไม่” ได้แก่ 1)ไม่จก
ุ จิกจูจ
้ ี้ 2)ไม่เป็นเจ้าของ
ห ัวใจ 3)ไม่ตาหนิตเิ ตียน
” 4มี” ได้แก่ 1) ยกย่องให้เกียรติ 2)เอาอกเอาใจ
ยามป่วยไข้ควรดูแล 3)วาจาสุภาพอ่อนโยน 4)
มีความรูเ้ รือ
่ งเพศ
เฉลยแก้ไขความข ัดแย้งในครอบคร ัว
 3.
ปั ญญัต ิ 7 ประการ เมือ
่ สามีนอกใจ
1) หาความรู ้เรือ
่ งเพศ
ิ ใจหย่าง่ายๆ
2) ไม่ตด
ั สน
3) ไม่แก ้แค ้นแบบเกลือจิม
้ เกลือ
4) ไม่แก ้แค ้นแบบไม่ให ้สามีนอนด ้วย
5) ไม่แก ้แค ้นโดยคาดคัน
้ ให ้สามียอมรับ 6)
ื สวนโดยจ ้างทนายสบ
ื
ไม่สบ
7) ไม่โพนทนา
กรณีท8
ี่ เด็กแย่งก ันรดนา้ ต้นไม้
 เด็กอายุ
ห ้าขวบสองคนเป็ นเพือ
่ นกัน
แต่ตอนนีก
้ าลังแย่งกันรดน้ าแปลง
ต ้นไม ้ แต่ละฝ่ ายอยากเป็ นคนรดก่อน
ั กะ
 วิธแ
ี ก ้ปั ญหาเชงิ แข่งขันคือการชก
เย่อ คนชนะแย่งทีฉ
่ ีดน้ าได ้ คนแพ ้อาจ
ร ้องไห ้หรือเข ้าทุบตีผู ้ชนะ
 วิธแ
ี ก ้ปั ญหาเชงิ ร่วมมือคือ
เฉลย กรณีท8
ี่ เด็กแย่งก ันรดนา้ ต้นไม้
 เด็กคนหนึง
่ เสนอว่าเรามาเป่ าหยินฉุบกัน
คนชนะได ้รดน้ าต ้นไม ้ก่อน
 อีกคนถามว่าแล ้วคนแพ ้ล่ะ
 คุยกันพักหนึง
่ ก็ตกลงกันได ้ว่า จะให ้คน
แพ ้เลือกแปลงทีต
่ นจะอยากจะรด คนชนะ
ต ้องไปรดอีกแปลงหนึง่
 ทัง
้ สองฝ่ ายพอใจ (ชนะทัง้ คู)่
กรณีท ี่ 9 มรดกพระเครือ
่ งโบราณ
 แม่ยกพระเครือ
่ งโบราณองค์หนึง่
รุน
่ สมเด็จวัดระฆังแท ้ให ้ลูกสองคน
เป็ นมรดก และสงั่ ไม่ให ้ขาย ลูก
ขัดแย ้งกันเพราะต่างอยากได ้พระ
เครือ
่ ง
 ท่านจะแก้ปญ
ั หามรดกสายเลือด
ี แล้ว
อย่างไร แม่ได้ตายไปเสย
เฉลยกรณีท9
ี่ มรดกพระเครือ
่ ง
้ ระเครือ
ทางออกหนึง่ คือแบ่งก ันใชพ
่ งปี ละ
หกเดือน
 ทางออกทางทีส
่ องคือการประมูลแข่งก ัน
แบบเปิ ด หรือประมูลแบบปิ ดคือเสนอราคา
สุดท้ายครงเดี
ั้ ยว คนทีป
่ ระมูลได้จะได้พระ
เครือ
่ งไป และจ่ายเงินให้อก
ี คนเท่าก ับ
ครึง่ หนึง่ ของราคาประมูล

เฉลยกรณีท9
ี่ มรดกพระเครือ
่ ง
 ทางออกที่สามคือ“แบ่ งและเลือก” ลูกแต่ ละคนวางเงิน
กองกลางเท่ ากัน เช่ นคนละ50,000บาทรวม100,000บาท
 ลูกคนหนึ่ งเป็ นคนแบ่ง ถ้าเขาเห็นว่าพระเครื่องมีมูลค่า
๘๐,๐๐๐ บาท บวกเงินกองกลาง ๑๐๐,๐๐๐ บาท เขาจะ
แบ่งสมบัติเป็ นสองกอง กองหนึ่งคือพระเครื่องกับเงิน
๑๐,๐๐๐ บาท อีกกองคือเงิน ๙๐,๐๐๐ บาท ลูกอีกคนเป็ น
คนเลือก ถ้าเขาเห็นว่าพระเครื่องมีมูลค่ากว่า ๘๐,๐๐๐
บาทก็เลือกพระเครื่องและพอใจ ลูกอีกคนก็พอใจไม่วา่
อีกคนเลือกอะไรเพราะมูลค่าสุ ทธิที่ได้รับคือ ๔๐,๐๐๐
บาทหรื อครึ่ งหนึ่งของมูลค่าพระเครื่องที่เขาตั้งไว้เสมอ
ค. กิจกรรมรายบุคคล
การจัดการความขัดแย้ ง
กรณีที่ 10 - 19
กรณีท1
ี่ 0 การแต่งตงคณะกรรมการ
ั้
้ ชาติ
หลายเขือ
 คณะวิชาแห่ งหนึ่ง มีนักศึกษาเขือ้ ชาติสเปนมากทีส
่ ุ ด รอง
ลงไปเป็ นเม็กซิโก และอิตาเลียนตามลาดับ
 แต่ อาจารย์ ส่วนใหญ่ เป็ นเม็กซิโก ซึ่งต้ องการให้ ตัวแทน
อาจารย์ ในคณะกรรมการประจาคณะมาจากการเลือกตั้ง
โดยอาจารย์ ของแต่ ละภาควิชา ผลออกมาย่ อมได้ แก่ อาจารย์
เม็กซิโกเกือบทั้งหมด
 อาจารย์ เชื้อชาติสเปน เรียกร้ องให้ เพิม
่ จานวนอาจารย์ สเปน
เพราะมีนักศึกษาสเปนมากกว่ า แต่ ฝ่ายแรกไม่ ยอมเพราะ
ถือว่ าการมีโควต้ าจะขัดหลักประชาธิปไตย
กรณีท1
ี่ 0 การแต่งตงคณะกรรมการ
ั้
หลายชาติพ ันธุ ์
 ผู ้ไกล่เกลีย
่ ให ้คณาจารย์รว่ มมือกัน
ระดมสมองเพือ
่ หาทางออก
ิ กว่า
 ในขัน
้ แรกทีป
่ ระชุมเสนอยีส
่ บ
ความคิดเพือ
่ แก ้ปั ญหา
 ในทีส
่ ด
ุ ตกลงกันว่ามีทางออกหนึง่
ซงึ่ ยอมรับได ้มากทีส
่ ด
ุ นั่นคือ
เฉลยกรณีท1
ี่ 0 การแต่งตงั้
คณะกรรมการหลายชาติพ ันธุ ์
 คณบดีแต่งตงคณะกรรมการ
ั้
่ เสริมความ
อีกชุดหนึง่ เพือ
่ สง
หลากหลายทางว ัฒนธรรม
้ ะเลือกก ันเอง
กรรมการชุดนีจ
สองคนไปเป็นกรรมการประจา
คณะ โดยคนหนึง่ ต้องมีชาติ
พ ันธุส
์ เปน
กรณีท1
ี่ 1 ความข ัดแย้งในทีท
่ างาน
 อาจารย์ สองคน ต่ างเป็ นคนมุ่งงาน คนหนึ่งมีบุคลิก
ดุดนั เวลามุ่งความสาเร็จจะไม่ ดูว่าสิ่ งทีท่ าจะไป
กระทบใคร จะหลีกเลีย่ งกฎกติกาอะไรบ้ าง อีกคนหนึ่ง
มีบุคลิกอ่ อนโยน จึงเป็ นคนเจ้ าระเบียบจนจุกจิก
ต้ องการให้ งานสมบูรณ์ แบบ
 คนที่หนึ่งกระทบคนทีส
่ องเสมอ พอหัวหน้ าเรียกมา
พูดคุยก็ยอมขอโทษ บ่ อยครั้งเข้ าคนทีส่ องบอกกว่ าไม่
รับฟังคาขอโทษอีกแล้ ว
 ในฐานะหัวหน้ า ในฐานะกัลยาณมิตร หรือในฐานะ
เพือ่ นร่ วมงาน ท่ านจะทาอย่ างไรดี
่ งว่างระหว่างว ัย
กรณีท ี่ 12 ชอ
ว ัยกลางคนก ับผูอ
้ าวุโส

หล ังออกจากห้องประชุม อลิสาฟันธงท ันทีวา
่
คุณน ัทที ทีป
่ รึกษาครีเอทีฟรุน
่ น้าคอยจ้องจิก
ก ัด คอยถากถางไอเดียของเธอกลางที่
้ ผูไ้ ม่ยอมร ับว่ายุค
ประชุมนน
ั้ คือตาแก่ห ัวดือ
ิ้ ลงแล้ว
ของต ัวหมดสน
่ งว่างระหว่างว ัย
เฉลยกรณีท ี่ 12 ชอ
ว ัยกลางคนก ับผูอ
้ าวุโส

หลังออกจากห ้องประชุมตอนเทีย
่ ง อลิสาก็
เข ้าใจแล ้วว่าคุณนัททีกาลังพยายามเตือนเธอว่า
แผนโฆษณาของเธอนัน
้ ลืมคานึงถึงจริยธรรม
ื่ ถล่มเละมาแล ้ว
ทางสงั คม คุณนัททีเคยถูกสอ
เพราะสาเหตุนี้
่ งว่างระหว่างว ัย ว ัย
กรณีท1
ี่ 3 ชอ
กลางคน ก ับคนรุน
่ ใหม่

ในห้องทางานถ ัดไป ฉ ัตรพรฝ่ายบริหาร
ลูกค้ากาล ังนึกอยากทึง้ ผมต ัวเองด้วยความ
โมโห เมือ
่ เธอเรียกแอน พน ักงานฝึ กห ัดมา
สอนงาน แต่กล ับโดนทาหน้าว่างเปล่าใส ่
เหมือนก ับจะบอกว่า “หนูรห
ู ้ มดแล้ว”
่ งว่างระหว่างว ัย
เฉลยกรณีท1
ี่ 3 ชอ
ว ัยกลางคน ก ับคนรุน
่ ใหม่

ในห ้องทางานถัดไป ฉั ตรพรขอความคิดเห็นจาก
ิ ใจกับลูกค ้ารายนี้
แอนว่าถ ้าเป็ นแอน จะตัดสน
อย่างไร แอนตาเป็ นประกายขณะแสดงความคิด
ของเธอด ้วยความกระตือรือร ้น
่ งว่างระหว่างว ัย
กรณีท1
ี่ 4 ชอ
ว ัยหนุม
่ ห ัวหน้างาน ก ับลูกน้องหนุม
่

ยินดี ผูอ
้ านวยการฝ่ายวางแผนถึงก ับอึง้
ิ ปนนท์ ฝ่ายกราฟฟิ ค
เมือ
่ เธอขอร้องให้สป
้ ว่ น แต่
่ ยออก แบบโปสเตอร์ทต
ให้ชว
ี่ อ
้ งใชด
เขาปฏิเสธว่าว ันนีเ้ ขาคงทาให้ไม่ได้ เพราะ
น ัดก ับเพือ
่ นไว้แล้ว
่ งว่างระหว่างว ัย
เฉลยกรณีท1
ี่ 4 ชอ
ว ัยหนุม
่ ห ัวหน้างาน ก ับลูกน้องหนุม
่
ิ ปนนท์วา่ ถ ้าแบบไม่เสร็จวันนี้ เธอ
ยินดีบอกสป
จะไม่ได ้งานภายในวันศุกร์
ิ ปนนท์จงึ โทรศพ
ั ท์เชค
็ โรงพิมพ์ใหม่และได ้
 สป
คาตอบว่าทาได ้หากสง่ แบบก่อนพรุง่ นีเ้ ทีย
่ ง
ิ ปนนท์รับปากจะรีบทางานให ้เสร็จก่อนสบ
ิ
 สป
เอ็ดโมงวันพรุง่ นี้ เพือ
่ ให ้ยินดีตรวจสอบก่อนสง่
โรงพิมพ์

่ งว่างของว ัย
เฉลย ชอ




หนึง่ ในสาเหตุของความเครียดในทีท
่ างาน คือการทีค
่ น
หลายรุน
่ หลายว ัยหลายความคิดต้องมาทางานร่วมก ัน
ั ันธ์ก ับเลขไมล์ของ
ความแตกต่างระหว่างเลขว ัยทีส
่ มพ
ประสบการณ์ ม ักนามาซงึ่ ความไม่เข้าใจจนก่อต ัว
กลายเป็นความข ัดแย้งในทีส
่ ด
ุ
ความจริงทีอ
่ ลิสา ฉ ัตรพร และ ยินดี อาจลืมว่า แม้จะ
ทางานด้วยยากเพียงใด แต่คนทางานในว ัยทีแ
่ ตกต่าง
นนก็
ั้ มค
ี ณ
ุ สมบ ัติบางอย่างทีค
่ นรุน
่ เธอไม่ม ี
บางทีความแตกต่างอาจคือกุญแจแห่งความสาเร็จ
เพียงยอมเปิ ดใจทาความรูจ
้ ักคนแต่ละรุน
่ ให้ลก
ึ ซง้ึ
กลุม
่ ลายคราม เกิดก่อนปี 2488

ไม่ ว่าจะดารงตาแหน่ งกรรมการทีป่ รึกษาใหญ่ หรือเป็ นพนักงาน
วัยใกล้ เกษียณ แต่ กลุ่มนีจ้ ะมี ผู้คนนับหน้ าถือตามากมาย อัน
เนื่องมาจากประสบการณ์ การทางานของพวกเขายาวนานมาก
ทีส่ ุ ด คนกลุ่มนีเ้ กิดก่ อนสงครามโลกครั้งทีส่ องจะยุติ จึงเติบโตมา
ท่ ามกลางสภาพบ้ านเมืองทีม่ ี ทรัพยากรจากัด ทาให้ ร้ ู จกั คุณค่ าของ
เงิน มักมีคุณลักษณะทีม่ ั่นคง เชื่อใจได้ สู้ งานหนัก ใช้ จ่าย อย่ างรู้
คิด และมีความภักดีต่อองค์ กรสู ง
การทางานก ับกลุม
่ ลายคราม



ให ้เกียรติและความเคารพอย่างสูงต่อพวกเขา เมือ
่
คุณให ้เกียรติผู ้ใหญ่ ผู ้ใหญ่ก็จะให ้เกียรติคณ
ุ
ถ ้าบังเอิญคุณมีตาแหน่งสูงกว่าพวกเขา จงแสดง
ื่ ชมในความเป็ นเสาหลักขององค์กร และรับ
ความชน
ฟั งเมือ
่ พวกเขาถ่ายทอดประสบการณ์ในอดีต ประวัต ิ
้
การต่อสูและการร่
วมใจกันจนผ่านพ ้นความ
ยากลาบาก เพราะนั่นคือสงิ่ ทีค
่ นรุน
่ หลังไม่มแ
ี ละไม่
รู ้จัก
อย่ามองว่าการทีก
่ ลุม
่ ลายครามคือหมาล่าเนือ
้ ทีไ่ ม่ม ี
ทีไ่ ป แต่ทพ
ี่ วกเขาทางานจนเกษี ยณเพราะพวกเขา
ื่ ในคุณค่าของความมั่นคงและซอ
ื่ สต
ั ย์เป็ นทีส
เชอ
่ ด
ุ
้ ม
กลุม
่ เบบีบ
ู เกิดปี 2499-2507



หลังสงครามยุติ ประเทศเข้ าสู่ ความสงบ การรณรงค์ คุมกาเนิด
ยังไม่ แพร่ หลาย จึงเกิดพลเมืองรุ่นใหม่ ขนึ้ มากมาย
เบบีบ้ ูมเติบโตขึน้ ท่ ามกลางความเปลีย่ นแปลงและการแข่ งขันกับ
คนวัยเดียวกันเพือ่ ให้ ได้ งาน ยิง่ เมื่อประเทศกาลังพัฒนาไปสู่
ความเป็ นอุตสาหกรรม เบบีบ้ ูมก็ยงิ่ จาเป็ นต้ องทางานหนักมาก
ขึน้ อาจทางานเต็มเหยียดวันละแปดชั่วโมงวันละหกสั ปดาห์
ลูกจ้ างเบบีบ้ ูมมักเคยชินกับการพิสูจน์ ตวั เองเพือ่ ให้ นายจ้ าง
ยอมรับในศักยภาพ การก้ าวไปสู่ ตาแหน่ งใหญ่ น้ันต้ องใช้ เวลา
และแรงผลักดันอย่ างสู ง
้ ม
การทางานก ับกลุม
่ เบบีบ
ู



แสดงความนับถือ รับฟังและเรียนรู้ จากประสบการณ์ ของเบบีบ้ ูม
แล้ วพยายามปรับใช้ ให้ เป็ นประโยชน์
ไม่ ว่าคุณจะเก่ งกาจหรือประสบความสาเร็จเพียงใด คุณก็ยงั ต้ อง
เรียนรู้ อยู่เสมอ อย่ าแสดงออกว่ าการทางานหนักคือการถูกเอา
เปรียบ เพราะเบบีบ้ ูมให้ คุณค่ าต่ อการทางานอย่ างทุ่มเท ในองค์ กร
ใหญ่ ที่มีประวัติศาสตร์ ยาวนานและบริหาร
เบบีบ้ ูมควรพยายามเรียนรู้ วฒ
ั นธรรมองค์ กรก่ อนว่ ามีการ
เจริญเติบโตมาอย่ างไรก่ อนทีจ่ ะเสนอให้ ริเริ่มการเปลีย่ นแปลงใดๆ
กลุม
่ เจเนอเรชน่ั X เกิดปี 2508 ถึง2523



เจเนอเรชั่น X ลืมตาดูโลกเมื่อมนุษยชาติส่งยานอวกาศออกไปนอกโลกได้
สาเร็จ ของเล่นฮิต ของเด็กรุ่นนีจ้ ึงไม่ ใช่ ม้าโยกหรือตุ๊กตาหมีอกี ต่ อไป แต่ คอื
วิดีโอ เกมกดและวอล์คแมน
เติบโตมาในยุครอยต่ อของอนาล็อกกับดิจิตอล ท่ ามกลางเทคโนโลยีทสี่ ร้ าง
ความตื่นตาตื่นใจ ทว่ าสั งคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงในทางวัตถุกลับทาให้ สถาบัน
ครอบครัวสั่ นคลอน
ความภักดีในองค์กร ของคนรุ่นนีจ้ ึงคลายลงมาก นามาสู่ การลาออกและ
เปลีย่ นงานบ่ อย ไม่ แปลกทีค่ นรุ่นเบบีบ้ ูม ผู้ไม่ เคยเกีย่ งทีจ่ ะทาโอทีจนดึกดื่น
จะอึง้ ทีช่ าวเจนเนเรชั่น X จะปฏิเสธและอาจลาออกไปหางานใหม่ หน้ าตา
เฉย ทั้งนีเ้ พราะชาวเจนเนเรชั่น X เชื่อว่ างานไม่ ใช่ ทุกสิ่ งทุกอย่ างของชีวติ
เจเนอเรชั่น X




ต้ องพูดให้ กระชับ ชัดเจน ไม่ อ้อมค้ อม คนเจเนเรชั่น X ชอบความ
ตรงไปตรงมา
คุณสามารถใช้ อเี มล์ กบั กลุ่มนีไ้ ด้ ถ้าคิดว่ าอีเมล์ จะช่ วยให้ ได้ ใจความและ
ตรงเป้าหมายมากขึน้
แต่ ถ้าเป็ นเรื่องใหญ่ จริงๆ ควรพูดกันต่ อหน้ า คนกลุ่มนีไ้ ม่ ชอบถูกบง
การ ผู้ใหญ่ แค่ ให้ นโยบายกว้ างๆ แล้ วเปิ ดโอกาสให้ เขาแก้ ปัญหาด้ วย
ตัวเองจะดีทสี่ ุ ด
เบบีบ้ ูมควรลดความหวังว่ าเจนเนเรชั่น X จะทางานหนักไม่ มีวนั หยุด
และก้ าวไปอย่ างช้ าๆเหมือนตนคนกลุ่มนีต้ ้ องการชีวติ ทีส่ มดุลและไม่
ชอบการติดอยู่กบั ที่
กลุม
่ มิลเลนเนียม เกิดปี 2524 เป็นต้นมา




กลุ่มคนทางานหน้ าใหม่ ไฟแรงทีย่ งั อ่ อนประสบการณ์ บางคนอาจยัง
เรียนไม่ จบเสี ยด้ วยซ้าหรือมีแผนชีวติ ที่จะเรียนต่ อ
กลุ่มทีโ่ ตมาพร้ อมกับคอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์ มือถือ รวมทั้งระบบ
การศึกษาทีเ่ ริ่มให้ ความสาคัญกับการคิดมากกว่ าการท่ องจา
พวกเขามีพ่อแม่ ทมี่ ีความรู้สูง จึงสนับสนุนให้ ได้ เสริมทักษะในด้ านต่ างๆ ตั้งแต่
ยังเด็ก มิลเลนเนียมจึงชอบแสดงออก มีความเป็ นตัวของตัวเองสู งและสนุกกับ
การทางานเป็ นทีม ไม่ ชอบอยู่ในกรอบและไม่ ชอบเงื่อนไข
ขณะที่เจนเนอเรชั่น X เปลีย่ นงานครั้งทีส่ ิ บสองไปเป็ นผู้บริหารระดับสู งกิน
เงินเดือนเรือนแสน มิลเลนเนียมอาจลาออกไปเริ่มธุรกิจเล็กๆของตัวเอง
ทางานก ับกลุม
่ มิลเลนเนียม




ท ้าทายพวกเขาด ้วยภารกิจใหม่ๆ มิลเลนเนียมชอบ
ความเป็ นคนสาคัญ
การได ้เพิม
่ ความรับผิดชอบเหมือนการให ้คาชม จะ
ถูกใจมิลเลนเนียมมาก
ถ ้าเปิ ดโอกาสให ้พวกเขาได ้แสดงความคิดเห็น
เหมือนเป็ นหนึง่ ในทีม ผู ้ใหญ่ทย
ี่ อมรับ พวกเขาจะ
ได ้รับการยอมรับจากพวกเขาด ้วยโดยอัตโนมัต ิ
พวกเขาชอบให ้คุณแสดงปฏิกริ ย
ิ าต่อสงิ่ ทีเ่ ขาทาทุก
ขณะจิต“ความคิดเห็น”ของเพือ
่ นร่วมงานสาคัญกับ
พวกเขามากแค่เข ้าใจทุกอย่างก็ลงตัว
กรณีท ี่ 15 ความข ัดแย้งในกลุม
่ ครู
 ในการทางานของต ัวท่านเอง
ท่าน
ึ ษาเผชญ
ิ
คิดว่าผูบ
้ ริหารการศก
ปัญหาใดในเรือ
่ งความข ัดแย้ง เป็น
่ นบุคคล ภายในองค์กร หรือ
เรือ
่ งสว
ระหว่างองค์กร
กรณีท ี่ 16 วิธส
ี อนให้แก้ความ
ข ัดแย้งทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ
ึ ษาให้
 วิธพ
ี ัฒนาผูบ
้ ริหารการศก
มีท ักษะการจ ัดการความข ัดแย้ง
ทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ
กรณีท1
ี่ 7
ทุกคนอยากได้สองขน
ั้
 มีความต้องการเลือ
่ นตาแหน่งก ัน
มาก แต่ทน
ี่ ง่ ั จาก ัด ท่านมีขอ
้ เสนอ
อย่างไร ทีท
่ ก
ุ ฝ่ายยอมร ับได้
กรณีท ี่ 18 ลูกน ้องหัวหมอ
แถมชอบเขียนบัตรสนเท่ห ์
 ลูกทีมของท่านเกีย
่ งงาน แต่อยาก
ได้สองขน
ั้ แถมห ัวหมอชอบ
ร้องเรียน เขียนบ ัตรสนเท่หเ์ ล่นงาน
คนอืน
่ ท่านจะจ ัดการอย่างไร
กรณีท ี่ 19. ท่านจะจ ัดการความข ัดแย้งแบบใด
ระหว่างแบบแข่งข ัน (นกฮูก)ร่วมมือ(ตุก
๊ ตาหมี)
ประนีประนอม (สุน ัขจิง้ จอก) หลีกหนี (เต่า) หรือ
ยอมตาม (ฉลาม) ในสถานการณ์ตอ
่ ไปนี้
ั
สถานการณ์ ที่ 1 : ลูกน้องนิสยไม่
ด ี 2 คน ทะเลาะ
ก ัน เรือ
่ งจีบสาว
สถานการณ์ ที่ 2 : ลูกน้อง 2 คน ต่างก็ทางานหน ัก
และสมควรได้ 2 ขนท
ั้ งคู
ั้ ่ แต่คนทีไ่ ม่ได้ไปต่อว่า
เพือ
่ นที่ ได้ 2 ขน
ั้ โดยคิดว่าเพือ
่ นไปประจบนาย
สถานการณ์ ที่ 3 : มีเจ้านายอารมณ์รา้ ย ปากร้าย
้ จ
แถมขีอ
ิ ฉา
1. “แกล้ งยอมๆ ไปก่ อน” ทั้งที่ความคิดเห็นไม่ ลง
รอยกัน ยอมให้ คนที่มีอานาจมากกว่ าชนะไป แต่ แอบผูก
ใจเจ็บ
2.การเปิ ดฉาก”ทาสงครามโลก”กระทบผู้คน
มากมาย ขัดแย้ งรุนแรงหรือหลายด้ าน ทาให้ เสี ยขวัญ
และกาลังใจของผู้ปฏิบัตงิ านจานวนมาก
การจ ัดการความข ัดแย้งทีไ่ ม่ควรทา
3. “การสร้ างกาแพงหินขวางกั้น” เป็ น
กาแพงอคติ และความเชื่อทางลบที่เจ้ าตัวก่ออิฐ
ทีละก้อนขึน้ ในใจ
ผลคือ เกิดความไม่ ไว้ เนือ้ เชื่อใจ ความสงสั ย
ไม่ ให้ ความร่ วมมือ และกลายเป็ นเกลียดชัง
เข ้าใจพฤติกรรมการทางาน
1. พฤติกรรมในการทางานของคนไทย
1) ทาคนเดียวเก่ง ทาเป็นทีมแย่ 2) ชอบนา
ญาติมต
ิ รเข้ามาร่วมงาน และวางต ัวไม่เป็น
กลาง 3) ไม่ชอบแสดงความคิดเห็นในที่
ประชุม และ 4) มีความคิดริเริม
่ สร้างสรรค์
แต่ขาดความต่อเนือ
่ ง
 2. คุณล ักษณะผูน
้ าทีบ
่ ริหารความข ัดแย้ง
ั ัศน์ 2) มี
อย่างสร้างสรรค์ :
1) มีวส
ิ ยท
ความคิดสร้างสรรค์ 3) มีพล ัง 4) มีความ
กล้า และ 5) มีหล ักปร ัชญาของผูน
้ า
