หน่วยความจำ

Download Report

Transcript หน่วยความจำ

บทที่ 2
ฮาร ์ดแวร ์และนวัตกรรม
 ขนาดของคอมพิวเตอร ์
 ส่วนประกอบของฮาร ์ดแวร ์
้
 การเลือกซือคอมพิ
วเตอร ์และอุปกรณ์ตอ
่ พ่ว
 แนวโน้มของฮาร ์ดแวร ์ในอนาคต
 สรุป
ขนาดของคอมพิวเตอร ์
สามารถแบ่งคอมพิวเตอร ์แบ่งตามขนาด
่ ดถึงใหญ่ทสุ
ออกเป็ น 4 ประเภท จากเล็กทีสุ
ี่ ด
ได้แก่
 Micro Computer
 Mini Computer
 Mainframe Computer
 Super Computer
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่
Micro Computer (เครืองไมโครคอมพิ
วเตอร ์)
 ระบบกระเป๋ าหิว้ (Portable)
้ั ะ (Desktop)
 ระบบตงโต๊
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
 คอมพิวเตอร ์กระเป๋ าหิว้ (Portable)
่
ออกแบบมาเพือให้
มค
ี วามกะทัดร ัด อีกทัง้
ยัง สามารถปิ ดได้เ หมือ นก บ
ั กระเป๋ าเอกสาร
้ั ยกเครืองลั
่
้ าเป็ นระบบวาง
บางครงเรี
กษณะนี ว่
่
่
บนตัก (Laptop) นอกจากนี ้ยังมีเครืองที
่
เรียกว่า เครืองแบบสมุ
ดบันทึก (Notebook)
เพราะเล็กและเบาแต่มรี าคาแพงกว่าแบบวาง
บนตักมาก
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
 คอมพิวเตอร ์กระเป๋ าหิว้ (Portable)
PC
Mac
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
 คอมพิวเตอร ์กระเป๋ าหิว้ (Portable)
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
้ั ะ (Desktop)
 คอมพิวเตอร ์ระบบตงโต๊
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ป
์ ร ะ เ ภ ท นี ้ จ ะ ต ้ัง อ ยู ่ บ นโ ต๊ะ
ทางาน ไม่นิยมพกพาติดตัวไปใช้งาน เพราะมี
ขนาดใหญ่และน้ าหนักมาก
เมื่อเทีย บก บ
ั คอมพิว เตอร ์แบบกระเป๋ าหิว้
้ั ะ จะมีร าคาถู ก กว่ า และ
คอมพิว เตอร ์แบบต งโต๊
ประสิทธิภาพสู งกว่า
่
่
สามารถเพิมเติ
มหรือเปลียนอุ
ปกรณ์ได้ง่าย
กว่าคอมพิวเตอร ์แบบกระเป๋ าหิว้
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
้ั ะ (Desktop)
 คอมพิวเตอร ์ระบบตงโต๊
PC
Mac
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่
Mini Computer (เครืองมิ
นิคอมพิวเตอร ์)
• ส่ ว นใ ห ญ่ จ ะ ใ ช้ใ น ง า น วิ ศ ว ก ร ร ม แ ล ะ ง า น
วิทยาศาสตร ์
่
• เครืองมิ
นิคอมพิวเตอร ์ได้นาไปประยุกต ์ใช้ใน
ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง ธุ ร กิ จ ข น า ด เ ล็ ก ต่ า ง ๆ
ม า ก ม า ย เ พ ร า ะ มี ร า ค า ต่ า ก ว่ า เ ค รื่ อ ง
คอมพิวเตอร ์แบบ Mainframe
่
• เครืองมิ
นิ ค อมพิว เตอร ์มัก จะได้ร ับเลือ กให้ไ ป
ช่วยงานภายในองค ์การ
เพราะประหยัด
ม า ก ก ว่ า ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่
Mini Computer (เครืองมิ
นิคอมพิวเตอร ์)
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่
Mainframe Computer (เครือง
เมนเฟรมคอมพิ
ว
เตอร
์)
่
• เป็ นเครืองคอมพิ
วเตอร ์ขนาดใหญ่ทมี
ี่ อุปกรณ์
ต่อพ่วงอยู ่เป็ นจานวนมาก
่
• เครือง
Mainframe
จะมีสถานี งาน
่
(Workstations)
หรือเครืองปลายทางเป็
น
่ งว่า Terminal
่
่ ยกอีกชือหนึ
จานวนมากทีเรี
่
Units และก็จะมีผูใ้ ช้เครืองคอมพิ
วเตอร ์ใน
เวลาเดียวกันเป็ นจานวนมากด้วย
• เครื่องคอมพิ ว เตอร ป์ ระเภทนี ้ มัก จะใช้ใ น
กิจ การใหญ่ ๆ ที่ต้อ งการการประมวลผลใน
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่
Mainframe Computer (เครือง
เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์)
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่
Mainframe Computer (เครือง
เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์)
Terminal
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่ เปอร ์คอมพิวเตอร ์)
Super Computer (เครืองซู
่
่ ขนาดใหญ่มาก
• เป็ นเครืองคอมพิ
วเตอร ์ทีมี
• ใ น อ ง ค ก์ ร บ า ง แ ห่ ง จ า เ ป็ น ต้ อ งใ ช้ เ ค รื่ อ ง
่ ความเร็วสู งเป็ นพิเศษ หรือมี
คอมพิวเตอร ์ทีมี
่ ความเทียงตรงเป็
่
ความเร็วทีมี
นพิเศษ
่
่ ราคา
• ซุปเปอร ์คอมพิวเตอร ์มักจะเป็ นเครืองที
มี
แพงมาก
กรมอุตุ นิย มวิท ยาก็
่
ต้องมีความจาเป็ นในการใช้เครืองคอมพิ
วเตอร ์
่ าการพยากรณ์อากาศในพืนที
้ ่
ขนาดนี ้ เพือท
ต่ า งๆ ของประเทศไทยโดยใช้ต วั แปรหลายๆ
ขนาดของคอมพิวเตอร ์ (ต่อ)
่ เปอร ์คอมพิวเตอร ์)
Super Computer (เครืองซู
ส่วนประกอบของฮาร ์ดแวร ์
หน่ วยร ับข้อมู ล (Input Unit)
หน่ วยประมวลผลข้อมู ล (Central
Processor Unit)
หน่ วยแสดงผล (Output Unit)
หน่ วยความจา (Memory Unit)
ส่วนประกอบของฮาร ์ดแวร ์ (ต่อ)
หน่ วยร ับข้อมู ล (Input Unit)
่ าหน้าทีน
่ าข้อมู ลจากภายนอก
เป็ นส่วนทีท
่
่
เข้าสู ่เครืองคอมพิ
วเตอร ์เป็ นตวั กลางเชือมโยง
่
จากมนุ ษย ส
์ ู ่ เ ครืองคอมพิ
ว เตอร ์ อุ ป กรณ์ใ น
หน่ วยร ับข้อมู ลเรีย
กว่OCR
า อุป(Optical
กรณ์นาเข้
าข้อมู ล
Character
(Input Device)
Recognition)
 แป้ นพิมพ ์ (Keyboard)
 ไมโครโฟน
 เมาส ์ (Mouse)  Floppy Disk Drive
 Touchpad
 CD Drive
แป้ นพิมพ ์ (Keyboard)
้ นฐาน
้
• เป็ นอุปกรณ์สาหร ับนาเข้าข้อมู ลขันพื
่
โดยท าการส่ ง ค าสังหรื
อ ข้อ มู ล จากผู ใ้ ช้ไ ปสู ่
หน่ วยประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร ์
่ ลก
• ภายในแป้ นพิมพ ์มีแผงวงจรหลักซึงมี
ั ษณะ
่ กฉาบด้วยหมึกทีเป็
่ นตัวนา
เป็ นแผ่นบางๆ ทีถู
ไฟฟ้า
• เมื่อผู ใ้ ช้ก ดปุ่ มจะท าให้ต วั น าไฟฟ้ าติด กัน
ข้อ มู ลในรู ป ของสัญ ญาณไฟฟ้ าจากแป้ นกด
แ ต่ ล ะ แ ป้ น จ ะ ถู ก เ ป รี ย บ เ ที ย บ ร หัส (Scan
่
แผงวงจรของแป้ นพิมพ ์และปุ่ มตวั อ ักษร
การจัดวางตาแหน่ งของปุ่ มบนแป้ นพิมพ ์
่
• ในส่วนของภาษาองั กฤษ แป้ นพิมพ ์โดยทัวไป
่
้ั อตามต
วั อก
ั ษร
จะจัดแบบ QWERTY
(ตงชื
บริเวณแถวบนทางด้านซ ้าย) ตามมาตรฐาน
ของสหร ัฐอเมริกา
• ในส่วนของแป้ นพิมพ ์ภาษาไทยก็แบ่งออกได้
2 แบบ
่ ยมใช้
1. แป้ นพิมพ ์เกษมณี เป็ นแป้ นพิมพ ์ทีนิ
ในปั จจุบน
ั
2. แป้ นพิม พ ป
์ ั ตตะโชติ จะเรีย งตามการใช้
งานอก
ั ษร-สระไหน
ใช้งานบ่อยๆ จะ
แป้ นพิมพ ์ปั ตตะโชติ
Ergonomics Keyboard
• ออกแบบให้เ ข้า ก นั ได้ก บั สรีร ะ ตอบสนองกับ
การเคลื่อนไหวมือ และแขนของผู ใ้ ช้ง านได้
เป็ นอย่างดี
่
• สามารถลดอาการเกร็ง และเมือยล้
าได้
เมาส ์ (Mouse)
• ใช้ง านง่ ายและสะดวกกว่ า แป้ นพิ ม พ ม์ าก
่ าหร ับป้ อนเข้าสู ่
เนื่ องจากไม่ ตอ
้ งจดจ าค าสังส
่
เครืองคอมพิ
วเตอร ์
• มีรูปร่างโค้งๆ งอๆ เหมือนก้อนสบู่ กลไกภายใน
จะใช้กาหนดตาแหน่ งแนวนอนและแนวตง้ั (X,
่ อกคาสังหรื
่
Y) เพือเลื
อวาดลายเส้นบนจอภาพ
• เมาส ส์ ามารถแบ่ ง ออกตามโครงสร า้ งและ
รู ปแบบการใช้งานได้ 3 แบบ
้
 เมาส แ
์ บบลู กกลิ งชนิ
ดต วั เมาส เ์ คลื่อนที่
(Ball Mouse)
Ball Mouse
้ กยาง
อาศ ัยกาหนดจุด X และ Y โดยกลิงลู
้
่
่
่ ยบ ์ลูกกลิงจะหมุ
้
ทรงกลมไปบนพื
นเรี
1. เมือมีการเคลือนทีของเมาส
น และทาให ้
แกน Encoder หมุนตามไปด ้วย
้ั
2. แกน Encoder จะมีทงแนวนอน(แกน
X) และแนวตัง้
(แกน Y)
่ แ้ สงทะลุผ่านได ้
3. แกน Encoder จะถูกเจาะรูเพือให
เพื่ อใช ต
้ รวจส อบ ความเร็ ว และทิ ศ ทางในการ
่
่
เคลือนที
ของเมาส
์
Track Ball
้
้วมือผู ใ้ ช้
• อาศยั ลู กยางทรงกลมทีถู่ กกลิงโดยนิ
่ าหนดจุดตด
ั X และ Y
เพือก
่
่
• โดยทัวไปมั
กใช้ก บ
ั เครืองคอมพิ
ว เตอร ์ขนาด
่ เนื ้อทีจ
่ ากด
่ สะดวก
เล็กหรือในบริเวณทีมี
ั ซึงไม่
่
่
่
ทีจะใช้
เมาส ์แบบเคลือนที
Optical Mouse
• มีลกั ษณะการใช้งานเช่นเดียวกับ Ball Mouse
้
แต่อาศย
ั แสงแทนลู กกลิงในการก
าหนดจุดตด
ั
X และ Y
้
• แสงจากตวั เมาส พ์ ุ่งลงสู่พืนแล้
ว สะท้อ นกลับ
้ ่ตวั ร ับแสงบนตวั เมาส ์อีกครง้ั
ขึนสู
แหล่งกาเนิ ดแสง
ตัวร ับแสง
การใช้งานเมาส ์
• คลิก (Click) คือการกดปุ่ มเมาส ์ด้านซ ้ายหนึ่ง
ครง้ั ใช้สาหร ับเลือกวัตถุหรือเลือกคาสัง่
้
• ดบั เบิลคลิ
ก (Double Click) คือการกดปุ่ ม
้ั ด ก น
เมาส ด
์ า้ นซ า้ ยสองคร งติ
ั ใช้ส าหร บ
ั เปิ ด
โปรแกรม
่
• ลากแล้ววาง (Drag and Drop) คือ การเลือน
้
้ ่ส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ งของไอคอน
ต วั ชีเมาส
ไ์ ปชีที
หรือ ค าสั่งที่ต้อ งการ กดปุ่ มซ า้ ยค้า งไว้ แล้ว
่
่ อ งการแล้วปล่ อยเมาส ์
เลือนไปยั
งต าแหน่ งทีต้
ใช้ส าหร บ
ั ย้า ยต าแหน่ งหรือ ปร บ
ั ขนาดของ
Touchpad
• คือเซ็นเซอร ์ตรวจสอบการสัมผัส โดยใช้ใ น
่
้วมือเพือระบุ
่
่
ของนิ
การตรวจสอบการเคลือนที
ตาแหน่ ง X, Y แทนเมาส ์
่
• ส่วนใหญ่ใช้ในเครืองคอมพิ
วเตอร ์โน้ตบุค
๊
จอสัมผัส (Touch Screen Mornitor)
่ า งๆ แทน
• เป็ นการใช้หน้าจอในการร ับคาสังต่
การใช้แป้ นพิมพ ์และเมาส ์
• สามารถประยุ ก ต ใ์ ช้ง านได้อ ย่ า งกว้า งขวาง
มากมาย เพราะ Touch Screen เป็ นอุปกรณ์
่ งานได้สะดวกกว่า Mouse
ป้ อนข้อมู ลทีใช้
่
• เซ็นเซอร ์จะทาหน้าทีตรวจจั
บการสัมผัสลงบน
ส่ ว นของแผงควบคุ ม ที่ท าหน้ า ที่ร บ
ั สัญ ญาน
่ การ
จากเซ็นเซอร ์มาประมวลผลเป็ นพิกด
ั ทีมี
สัมผัสสุดท้าย
อุปกรณ์ทใช้
ี่ จอสัมผัส
สแกนเนอร ์ (Scanner)
่ สะดวก
• เป็ นอุปกรณ์นาเข้าข้อมู ลประเภททีไม่
ใ น ก า ร ป้ อ น เ ข้ า เ ค รื่อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ท
์ าง
แป้ นพิมพ ์ เช่น รู ปภาพหรือเอกสารต่างๆ
• การทางานของสแกนเนอร ์อาศ ัยหลักของการ
สะท้อนแสง โดยทาการฉายแสงไปกระทบกับ
วัตถุให้สะท้อนไปตกบนตวั ร ับแสงทีละแถว และ
่
ตวั ร ับแสงเลือนไปยั
งภาพแถวต่อไป สัญญาณ
่ จากแถวต่อมาก็จะถู กส่งต่อเนื่ องกันไปจน
ทีได้
สุดภาพ
• สแกนเนอร ์แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
Hand Held Scanner
มี ข นาดเล็ ก ราคาไม่ แ พงนั ก เก็ บ ภาพ
่ ตอ
ขนาดเล็กๆ ซึงไม่
้ งการความละเอียดมาก
Sheet Feed Scanner
่
• เป็ นสแกนเนอร ์ทีใหญ่
กว่าสแกนเนอร ์มือถือ
้
• ใช้หลักการดึงกระดาษขึนมาสแกนที
ล ะแผ่ น
แต่ ม ีข อ
้ จ ากัด คือ ถ้า ต้อ งการสแกนภาพจาก
่ นรู ปเล่ม ต้องฉี กกระดาษออกมาที
หนังสือทีเป็
ละแผ่นทาให้ไม่สะดวกในการสแกน
Flatbed Scanner
• เป็ นสแกนเนอร ์ที่มีก ระจกใสมีไ ว้ส าหร บั วาง
่
่
ภาพทีจะสแกน
เหมือนเครืองถ่
ายเอกสาร
• คุ ณ ภาพของงานสแกนประเภทนี ้ จะดี ก ว่ า
สแกนเนอร ์แบบมือถือ หรือแบบดึงกระดาษ แต่
ราคาสู งกว่าเช่นก ัน
Optical Character Recognition (OCR)
• เป็ นอุปกรณ์ทรี่ ับข้อมู ลเข้าสู่ระบบได้โดยตรง
โดยใช้เ ทคนิ คในการอ่ า นค่ า ของข้อ มู ล ด้ว ย
แสง
• อุป กรณ์ชนิ ดนี ้จะท าหน้ าที่เป็ นแหล่ งกาเนิ ด
่ อ งผ่า นกลับ มาจาก
แสงและร ับแสงสะท้อ นทีส่
วัต ถุ และแปลงรหัส ข้อ มู ลให้อ ยู ่ ใ นรู ปแบบที่
่
เครืองคอมพิ
วเตอร ์เข้าใจได้
• อุ ป กรณ์โ อซีอ าร ์ แบ่ งได้ต ามลัก ษณะของ
่
ข้อมู ลทีจะน
าเข้าได้ดงั นี ้
 Optical Mark Readers (OMR)
Optical Mark Readers (OMR)
่
่มีค วามสามารถในการอ่ า นรอย
• เป็ นเครืองที
่
่เกิด จากดิน สอในกระดาษที่มี
เครืองหมายที
รู ป แ บ บ เ ฉ พ า ะ มั ก น า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร
ตรวจข้อสอบหรือการลงทะเบียน
่
• เครืองจะส่
อ งไฟผ่ า นกระดาษที่ อ่ า นและจะ
่ ดจากเครืองหมายที
่
่ าขึนโดย
้
สะท้อนแสงทีเกิ
ท
ดินสอ
่ OMR
เครือง
Wand Readers
• อุ ป กรณ์นี้ ใช้ส่ อ งล าแสงไปยัง ต วั อ กั ษรแบบ
พิเ ศษ เพื่อท าการแปลงต วั อ ก
ั ษรนั้ นให้เ ป็ น
สัญ ญา ณไ ฟฟ้ าและ ส่ งไปใ ห้ค อ ม พิ ว เต อ ร ์
ประมวลผล
่
้
่
• เครืองมื
อ Wand Readers นี จะเชื
อมต่
อกับ
อุป กรณ์ท เรี
ี่ ย กว่า POS
(Point-of-sale
Terminal) อีกที
Handwritten Character Device
่ ยนด้วย
• เป็ นอุปกรณ์ทสามารถอ่
ี่
านข้อมู ลทีเขี
์ ้ว ย
ล า ย มื อไ ด้ เ พื่ อ ล ด ขั้น ต อ น ก า ร พิ ม พ ด
่
แป้ นพิมพ ์เข้าสู ่เครืองคอมพิ
วเตอร ์
่ ยนจะต้องเป็ นรู ปแบบทีอ่
่ านได้ง่าย
• ลายมือทีเขี
ไม่กากวม
Barcode Reader
่ Wand
• มีลกั ษณะการใช้งานเหมือนกบั เครือง
Readers
แต่ ใ ช้ก บ
ั การอ่ า นรหัส แท่ ง
(Barcode)
• รหัสแท่งมีลกั ษณะเป็ นรหัสรู ปแท่งเรียงกันเป็ น
้ั อแปลรหั
่
แถวในแนวตงเพื
สแท่งนี ้ให้กลายเป็ น
่
ข้อมู ลทีคอมพิ
วเตอร ์เข้าใจ
ส่วนประกอบของฮาร ์ดแวร ์ (ต่อ)
หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
้
• เป็ นศู น ย ก์ ลางการประมวลผลของทังระบบ
เปรีย บเสมือ นกองบัญ ชาการหรือ ส่ ว นสมอง
ของมนุ ษย ์
้ ว นอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข
• มีล กั ษณะเป็ นชินส่
์ นาด
เล็ ก มาก ภายในประกอบด้ว ยทรานซิส เตอร ์
ประกอบก ันเป็ นวงจรหลายล้านตัว โดยมีหน่ วย
วัดความเร็วเป็ นเฮิรตซ ์ (Hertz : Hz)
• 1 Hz หมายความว่า สามารถประมวลผลได้ 1
้ั อวินาที
ครงต่
• ส่วนประกอบของหน่ วยประมวลผลกลาง
CPU รุน
่ ล่าสุด (มิถน
ุ ายน 2553)
Intel Core i7
AMD Phenom II
1. ส่วนควบคุม (Control Unit)
่ า้ งและส่งสัญญาณไปควบคุมการ
• ทาหน้าทีสร
ท า ง า น ข อ ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ ใ น ร ะ บ บ
คอมพิวเตอร ์
• ท าหน้ า ที่ประสานงานให้ส่ ว นประกอบต่ า งๆ
สามารถทางานร่วมก ันกน
ั ได้อย่างเป็ นระบบ
• สัญญาณควบคุมจานวนมากสามารถเดินทาง
ไ ป ยั ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ ข อ ง ร ะ บ บ
คอมพิว เตอร ์ได้ด ว้ ยตัว ส่ ง สัญ ญาณ เรีย กว่ า
บัส (Bus)
ประเภทของบัส
• Control Bus ทาหน้าทีส่่ งสัญญาณควบคุม
่ ่ของ
• Address Bus ทาหน้าทีส่่ งตาแหน่ งทีอยู
หน่ วยความจาหรืออุปกรณ์
• Data Bus ทาหน้าทีส่่ งข้อมูล
2. ส่วนคานวณและเปรียบเทียบข้อมู ล (ALU)
• ทาหน้าทีค่ านวณและเปรียบเทียบข้อมู ล โดย
อาศ ัยหลักการทางคณิ ตศาสตร ์ (Arithmetic)
และตรรกศาสตร ์ (Logic) ตามลาดับ
• การประมวลผลด้วยหลักการทางคณิ ตศาสตร ์
่ องกระทากบ
คือการคานวณทีต้
ั ข้อมู ลประเภท
ต วั เลข เช่ น การบวก ลบ คู ณ หาร โดยให้
่
ผลลัพธ ์ทีหลากหลาย
• การประมวลผลด้วยหลักตรรกศาสตร ์ คือการ
่
เปรียบเทียบข้อมู ลทีกระท
ากบ
ั ข้อมู ลตัวอก
ั ษร
สัญ ลัก ษณ์ หรือ ต วั เลข ให้ผ ลลัพ ธ ์เพีย งสอง
ส่วนประกอบของฮาร ์ดแวร ์ (ต่อ)
หน่ วยความจา (Memory Unit)
• คือ หน่ วย หรือ อุ ป กรณ์ที่ใช้ใ นการจดจ า
ข้อมู ลของคอมพิวเตอร ์
• ประเภทของหน่ วยความจา
หน่ วยความจาหลัก (Main Memory)
ห น่ ว ย ค ว า ม จ า ส า ร อ ง (Secondary
Memory)
หน่ วยความจาหลัก (Main Memory)
้
• เป็ นส่วนความจาพืนฐานในคอมพิ
ว เตอร ์ทุ ก
่
เครือง
เป็ นหัวใจของการท างานในรู ปแบบ
อ ัตโนมัต ิ
่ บ ข้อ มู ล ต่ า งๆ ทีป้่ อนเข้า มาเพือให้
่
• มีหน้าทีเก็
ส่ ว นประมวลผลน าไปใช้ และเก็ บ ข้อ มู ลที่
่
เกียวก
บ
ั คุ ณ สมบัต ิแ ละระบบการท างานของ
่
เครืองคอมพิ
วเตอร ์
• หน่ วยความจ าหลัก ของคอมพิ ว เตอร แ์ บ่ ง
ออกเป็ น 2 ประเภทคือ
 หน่ วยความจาถาวร
(Read
Only
หน่ วยความจาถาวร (ROM)
• หน่ วยความจาทีน่ าข้อมู ลออกมาใช้งานเพียง
อย่างเดียว (Read Only) โดยได้มก
ี ารบันทึก
ข้อมู ลไว้ล่วงหน้าแล้ว
• สามารถเก็บร ักษาข้อมูลไว้ได้ โดยไม่ตอ้ งอาศ ัย
พลังงานไฟฟ้าในการร ักษาข้อมู ล
• ในปั จจุบนั หน่ วยความจาถาวรนี ้เปิ ดโอกาสให้
สามารถลบหรือ แก้ไ ขข้อ มู ลได้ เช่ น การ
่
ปร ับปรุง แก้ไขข้อมู ลเกียวก
ับระบบ เป็ นต้น
่ั
หน่ วยความจาชวคราว
(RAM)
• เป็ นหน่ วยความจ าที่สามารถบัน ทึก ข้อ มู ล
(Write Data) หรืออ่านข้อมู ล (Read Data)
ณ เ ว ล า ใ ด ๆ ไ ด้ ต า ม ต้ อ ง ก า ร (Random
Access)
• ต้องอาศ ัยสัญญาณไฟฟ้าในการเก็บร ักษาและ
้ อมู ลทีอยู
่ ่ใน RAM จะสู ญ
อ่านข้อมู ล ฉะนันข้
่
อไฟฟ้ าไม่ ไ ปหล่ อ
หายไปทัน ทีท ี่ ปิ ดเครืองหรื
้
เลียง
• ก า ร ร บั ข้ อ มู ล ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล แ ล ะ ก า ร
้ ใน
่ RAM ใน
แสดงผลข้อมู ล ต้องอาศย
ั พืนที
หน่ วยความจาสารอง (Secondary Storage)
่
่
• เนื่องจาก RAM ในเครืองคอมพิ
วเตอร ์ ทีใช้
บัน ทึก ข้อ มู ลในขณะประมวลผลไม่ ส ามารถ
ร ั ก ษ า ข้ อ มู ลไ ว้ ไ ด้ ห ลั ง จ า ก ปิ ด เ ค รื่ อ ง
คอมพิว เตอร ์ ด งั นั้ นการบัน ทึก ข้อ มู ลลงบน
หน่ วยเก็ บ ข้อ มู ล ส ารอง จึง มีค วามจ าเป็ นใน
การร ักษาข้อมู ลไว้ใช้ในอนาคต
่
• สามารถน าข้อ มู ลจากเครืองคอมพิ
ว เตอร ์
่
่
่ ง เคลือนย้
่
ายไปสู ่เครืองคอมพิ
เครืองหนึ
วเตอร ์
่
่
เครืองอื
นในระบบเดี
ยวก ันได้
• หน่ วยความจาสารอง แบ่งออกตามการเข้าถึง
ข้อมู ลได้ 2 ประเภท
บัตรเจาะรู
้ั
• เป็ นห น่ วยค วามจ าแบบด งเดิ
ม
มี ล ัก ษณ ะ
โครงสร า้ งเป็ นบัต รกระดาษเจาะรูใ ห้แ สงลอด
่ าหนดสภาวะ 0 หรือ 1
ผ่าน เพือก
• ส่วนประกอบของข้อมู ลทีบั่ นทึกบนบัตรเจาะรู
เรียกว่า อก
ั ขระ (Character) ประกอบด้วย
ตวั อก
ั ษร (Alphabet) ตวั เลข (Numeric) และ
ตัวอ ักขระพิเศษ (Special Character)
• บัต รเจาะรู แต่ล ะใบใช้บ นั ทึกข้อ มู ล จานวน 1
หน่ วยแจงนับ เรียกว่า 1 Record
• จานวนบัตรแต่ละใบ คือจานวนของข้อมู ล 1
่
บัตรเจาะรู และเครืองประมวลผล
เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)
่
• นิ ยมใช้กบั เครืองคอมพิ
วเตอร ์ขนาดกลางจนถึง
ขนาดใหญ่
• ลักษณะเป็ นสายเทปแบบม้วนเปลือย (Open
Reel) หรือแบบตลับ (Cassette)
• ตัวสายเทปทาด้วยพลาสติกชนิ ดพิเศษ เคลือบ
ผิวด้วยออกไซด ์ของโลหะ (Iron Oxide) และ
้ั ว ยสารประกอบชนิ ด หนึ่ ง เพื่อ
เคลือ บอีก ช นด้
ป้ องกันการสึกหรอของสายเทปและช่วยให้เกิด
้
จุดแม่เหล็ก (Magnetized Spot) ได้ง่ายขึน
้ ว ของสายเทปสามารถรองร บ
• พืนผิ
ั การอ่ า น/
บันทึกข้อมู ลได้ประมาณ 20,000 -50,000 ครง้ั
เทปแม่เหล็ก
ฟล๊อปปี ้ ดิสก ์ (Floppy Disk) หรือ ดิสก ์เก็ต
(Diskette)
• มีลกั ษณะเป็ นแผ่นแม่เหล็กสีดาทรงกลม ทา
จากแผ่นพลาสติกไมล่าเคลือบด้วยสาร
แม่เหล็ก
่
่
่
• บรรจุอยู่ในซองพลาสติกแข็งรู ปสีเหลี
ยม
เพือ
่
ป้ องก ันแผ่นดิสก ์เก็ตจากฝุ่ นละออง สิงสกปรก
่
การขูดขีด และอืนๆ
่ ความจุในการ
• ดิสก ์เก็ตมีขนาด 3.50 นิว้ ซึงมี
เก็บข้อมู ลเท่ากับ 1.44 MB
• มุมด้านหนึ่งของดิสก ์เก็ตจะมีกลไกป้ องก ันการ
บันทึกข้อมู ลลงไปทับข้อมู ลเดิม (Write-
ฟล๊อปปี ้ ดิสก ์
ฮาร ์ดดิสก ์ (Hard Disk) 1/2
• มีลกั ษณะเป็ นจานแม่เหล็กหลายแผ่นวางซ อ้ น
่
กันโดยอาจมีจานวนแผ่น
3 - 11 แผ่น ซึงจะ
ไม่ เ รีย กว่ า ดิ ส ก ์ แต่ จ ะเรีย กว่ า แพลตเตอร ์
(Platter) แทน
• เนื่ องจากแพลตเตอร ์ผลิตจากสารจาพวกโลหะ
ห รื อ แ ก้ ว บ า ง ช นิ ด จึ งไ ม่ ส า ม า ร ถ ง อไ ด้
เหมือ นกับ ฟล๊อ ปปี ้ ดิส ก ์ ท าให้ต อ
้ งมีโ ลหะปิ ดไว้
่ องก ันการกระทบกระเทือน
ทุกด้านเพือป้
• ฮาร ์ดดิสก ์มีหวั อ่าน/บันทึก ข้อมู ลอยู่ภายในตัว
่
เดียวกน
ั ไม่เหมือ นกบ
ั แผ่นดิสก ์เก็ต ทีแยกออก
ฮาร ์ดดิสก ์ (Hard Disk) 2/2
• ฮาร ์ดดิส ก ส์ ามารถเก็บ ข้อ มู ลได้เ ป็ นจ านวน
มากและมีค วามเร็ว สู ง แล้ว แต่ค วามจุของแต่
ละรุน
่ เช่น ฮาร ์ดดิสก ์ความจุ 150GB, 300GB,
500GB และ 1TB เป็ นต้น
• โดยปกติจะกาหนดให้ฮาร ์ดดิสก ์เป็ นไดร ์ฟ C
้ั
่ติด ต งภายในเครื
้ั
่
• ฮาร ์ดดิสก ์มีทงแบบที
องและ
่ อมต่
่
แบบกล่องภายนอกทีเชื
อ กบ
ั คอมพิวเตอร ์
ผ่านสาย USB หรือ Firewire (IEEE1394)
• ฮาร ์ดดิสก ์มี 2 ขนาดคือ 3.5 นิ ้ว สาหร ับ
่
่ั
เครืองพี
ซท
ี วไป
และ 2.5
นิ ้ ว ส าหร บ
ั
ฮาร ์ดดิสก ์
CD-ROM (Compact Disk Read Only
Memory) 1/2
• มีลกั ษณะเป็ นแผ่นวงกลมคล้ายก ับซีดเี พลง มี
ขนาดเส้นผ่านศู นย ์กลาง 12 ซม. (4 3/4
้
นิ ว)
• ทามาจากแผ่นโพลีคาร ์บอเนต
่ นทีนิ
่ ยมอย่างมากใน
(Polycarbonate) ซึงเป็
ปั จจุบน
ั เนื่ องจากมีคณ
ุ ภาพลักษณะพิเศษ
หลายอย่างและมีราคาถู กลง
• ซีดรี อมใช้หลักการสะท้อนของแสงในการ
อ่าน/บันทึกข้อมู ล
่ ตอ
่
• เหมาะสาหร ับข้อมูลทีไม่
้ งการเปลียนแปลง
CD-ROM (Compact Disk Read Only
Memory) 2/2
• แผ่ น ซีดีร อมสามารถเก็บ ข้อ มู ลได้ 680-800
่ นภาพและเสียงเช่น
MB หรือเก็บข้อมู ลทีเป็
ภาพยนตร ์หรือเพลงได้นานถึง 74-80 นาที
ดีวด
ี ี (Digital Versatile Disk)
• เป็ นหน่ วยเก็ บ ข้อ มู ลส ารองอีก ชนิ ดที่ก าลัง
ได้ร ับความนิ ยมมากเช่นกน
ั มีลก
ั ษณะคล้าย
กับ แผ่ น ซีด ี ร อม แต่ ส ามารถเก็ บ ข้อ มู ลไ ด้
มากกว่าซีดรี อม
• ปั จจุบนั DVD5 สามารถบันทึกข้อมู ลได้ถงึ
4.7GB
(7
เท่า ของซีดรี อม) และ DVD9
สามารถบันทึกข้อมู ลได้ถงึ 9.4 GB (14 เท่า
ของซีดรี อม) และจะมีพฒ
ั นาการต่อไป
• ดี วี ดี นิ ย มใ ช้ใ น ก า ร บัน ทึ ก ภ า พ ย น ต ร แ์ ล ะ
มัลติมเี ดีย ซีดรี อมและดีวด
ี ไี ม่สามารถทางาน
ไ ด้ ด ้ ว ย ตั ว เ อ ง จ ะ ต้ อ ง มี ตั ว อ่ า น ข้ อ มู ล
CD-ROM และ DVD
แฟลชไดร ์ฟ (Flash Drive)
่ เช่น ธ ัมไดร ์ฟ (Thumb
• มีชอเรี
ื่ ยกได้หลายชือ
ั
Drive)
เนื่ องจากในยุคแรกมีขนาดเท่ากบ
้
นิ ้วหัวแม่มอ
ื (Thumb)
หรือ แฮนดีไดร
์ฟ
(Handy Drive) เนื่ องจากสามารถใช้มอ
ื ใน
ก า ร เ สี ย บ แ ล ะ ดึ ง อุ ป ก ร ณ์ อ อ ก จ า ก เ ค รื่อ ง
คอมพิวเตอร ์ได้อย่างสะดวก
• แฟลชไดร ์ฟทางานเหมือนกับหน่ วยความจา
่
ในเครืองคอมพิ
ว เตอร ์ แต่ ส ามารถจัด เก็ บ
้
ข้อมู ลได้โดยไม่ตอ
้ งมีกระแสไฟฟ้าเลียง
่
• แฟลชไดร ์ฟเชือมต่
อ กบ
ั คอมพิวเตอร ์ผ่านทาง
แฟลชไดร ์ฟ
โซลิดสเตทไดร ์ฟ (Solid State Drive : SSD)
• เป็ นเทคโนโลยีในการประยุกต ์ใช้แฟลชเมโมรี
มาสร ้างเป็ นฮาร ์ดดิสก ์
• จ ะ มี ค ว า ม เ ร็ วใ น ก า ร อ่ า น ข้อ มู ล ที่ สู ง ก ว่ า
ฮาร ์ดดิสก ์ และมีความทนทานสู ง ความร ้อนใน
การท างานต่ า เนื่ องจากไม่ ม ีก ารเคลื่อนไหว
ของอุปกรณ์ในขณะเขียนและอ่านข้อมู ล
ส่วนประกอบของฮาร ์ดแวร ์ (ต่อ)
หน่ วยแสดงผล (Output Unit)
• เป็ นส่วนทีมี่ หน้าทีน่ าข้อมูลทีผ่่ านกระบวนการ
ประมวลผลออกมาแสดงให้มนุ ษย ์ได้ ร ับทราบ
่
หรือ เป็ นตวั กลางในการสือสารข้
อมู ลระหว่าง
คอมพิวเตอร ์กับมนุ ษย ์
• อุปกรณ์แสดงผลสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2
่
ประเภท ตามลักษณะของข้อมู ลทีแสดง
ออกมาสู ่ผูใ้ ช้
่ ษย ์จับต้องไม่ได้
 อุปกรณ์แสดงผลทีมนุ
 อุปกรณ์แสดงผลทีมนุ ษย ์จับต้องได้
จอภาพ (Monitor)
่ ใ นการแสดงข้อ มู ล ทีมนุ
่ ษย ์
• เป็ นอุปกรณ์ทีใช้
จับต้องไม่ได้ (Softcopy Output Device) ใน
ลักษณะของข้อความและรู ปภาพ
• เป็ นการแสดงผลให้ผูใ้ ช้ทราบในขณะนั้น แต่
เมื่ อเลิ ก ท างานหรือ เลิ กใช้แ ล้ว ผลนั้ นก็ จ ะ
หายไป ไม่เหลือเป็ นวัตถุให้เก็บได้
• เทคโนโลยี ใ นการแสดงผลของจอภาพใน
ปั จจุบน
ั มี 2 ชนิ ดคือ
 จอ CRT (Cathode Ray Tube)
 จอ LCD (Liquid Crystal Display)
จอ CRT และจอ LCD
่
เครืองพิ
มพ ์ (Printer)
• เป็ นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ ์ที่ใช้สาหร บั พิมพ ์
่ นเอกสาร ข้อความ และรู ปภาพ ที่
ข้อ มู ลทีเป็
อยู ่ บ นจอภาพให้ไ ปปรากฏบนกระดาษเพื่อ
่
สามารถนาไปใช้งานอืนได้
่
่ ย มใช้ก น
่
• เครืองพิ
มพท
์ ีนิ
ั โดยทัวไปในปั
จ จุ บ น
ั
แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท
่
 เครืองพิ
ม พ แ์ บบจุ ด (Dot
Matrix
Printer)
่
 เครืองพิ
ม พ แ์ บบหมึก พ่ น (Ink
Jet
Printer)
่
เครืองพิ
มพ ์แบบจุด (Dot Matrix Printer)
่
• เครืองพิ
มพท
์ ี่อาศ ย
ั การใช้ห วั เข็ มไปท าการ
กระแทกกระดาษ โดยผ่ า นผ้า หมึก ท าให้เ ป็ น
จุ ด ขึ ้ น ซึ่ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ท า ง า น ค ล้ า ย
่
เครืองพิ
มพ ์ดีด
• สามารถพิมพ ์ลงบนกระดาษทีมี่ หลายสาเนา
ห ล า ย ชุ ดไ ด้ ท า ใ ห้ ไ ม่ ต้ อ ง เ สี ย เ ว ล า พิ ม พ ์
่
่
่
หลายคร ง้ั ซึงเครื
องพิ
ม พ แ์ บบอืนไม่
ส ามารถ
ทาได้
• มีความทนทานในการใช้งานสูง
• สามารถพิมพ ์ก ับกระดาษต่อเนื่องได้
่
เครืองพิ
มพ ์แบบจุด (Dot Matrix Printer)
่
เครืองพิ
มพ ์แบบหมึกพ่น (Ink Jet Printer)
่
่ วธ
• คือ เครืองพิ
มพ ์ทีใช้
ิ พ
ี ่นน้ าหมึกลงไปบนวัตถุ
งาน โดยหมึกจะถู กฉี ดออกจากรู ขนาดเล็กบน
หัวพิมพ ์
่ จะเป็ นแม่ส ี 3 สี คือ แดง เหลือง และน้ า
• หมึกทีใช้
่
เงิน บางเครืองจะใช้
2 กล่อง คือ น้ าหมึกสีดากับ
ตวั แม่ส ี
• สามารถพิมพ ์ภาพสีได้โดยมีตลับหมึกสีแยก
่
อิสระสามารถถอดเปลียนใหม่
ได้
• คุณภาพการพิมพ ์คมช ัดกว่าแบบใช้หวั เข็ม ให้
ความละเอียดสู ง เหมาะสาหร ับงาน ด้านกราฟิ ก
่
เครืองพิ
มพ ์แบบหมึกพ่น (Ink Jet Printer)
่
เครืองพิ
มพ ์แบบเลเซอร ์ (Laser Printer)
่
• มีหลักการทางานเหมือนก ับเครืองถ่
ายเอกสาร
่
่
• เป็ นเครืองพิ
มพท
์ ี่พัฒ นามาจากเครืองพิ
มพ ์
แบบจุดและแบบฉี ดหมึก สามารถพิมพ ์ได้เ ร็ว
่ คือ ประมาณ 24 PPM (หน้า/
กว่าแบบอืน
นาที)
• ความคมชดั ของงานดีมาก จึงได้ร ับความนิ ยม
น า ม า ใ ช้ง า นใ น ส า นั ก ง า น ทั่วไ ป ร ว ม ทั้ง
สามารถพิมพ ์สีได้ดว้ ย
่
• อย่างไรก็ตามเครืองพิ
มพ ์เลเซอร ์ ยังมีราคาสู ง
่
กว่าเครืองพิ
มพ ์แบบจุดและแบบฉี ดหมึก จึงไม่
่
เครืองพิ
มพ ์แบบเลเซอร ์ (Laser Printer)
พลอตเตอร ์ (Plotter)
่
• คือ เครืองวาดลายเส้
น ทางานโดยอาศย
ั แขน
จับปากกา ลากลายเส้นในแนวแกนX-Y บน
กระดาษ เช่ น เดีย วก บ
ั การเขีย นด้ว ยปากกา
หรือดินสอ
• พ ล อ ต เ ต อ ร จ์ ะ ร ับ สั ญ ญ า ณ จ า ก เ ค รื่ อ ง
่
่
คอมพิวเตอร ์ เพือควบคุ
มการเลือนปากกาไป
่
่
อกสี หรือปากกาทีมี
บนกระดาษซึงสามารถเลื
เส้นหน้าบางอย่างไรก็ได้
• พลอตเตอร ์แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท
1. พ ล อ ต เ ต อ ร แ
์ บ บ ท ร ง ก ร ะ บ อ ก (Drum
พลอตเตอร ์แบบทรงกระบอก (Drum Plotter)
• จะมีปากกามากกว่า 1 ด้ามทีมี่ ขนาดและ
หลายสี ผลัด ก น
ั เคลื่อนที่ไปมาบนกระดาษ
่
่
ภายใต้การควบคุมของเครืองคอมพิ
วเตอร ์เพือ
้
สร ้างภาพขึนมา
้
• พลอตเตอร ์แบบทรงกระบอกนี ้ ทังปากกาและ
แท่ ง รองกระดาษจะเคลื่อนที่ไปพร อ
้ มๆก น
ั ใน
่ างก ัน คือ แนวแกน X และ Y
แนวทีต่
้ั นและมี
้
• มักเป็ นแบบตงพื
ขนาดใหญ่ ใช้ในการ
สร า้ งภาพที่ต่ อ เนื่ อง เช่ น ส าหร บ
ั วัด ความ
สั่ น ส ะ เ ทื อ น ข อ ง แ ผ่ น ดิ นไ ห ว ห รื อ ว า ด
Drum Plotter
พลอตเตอร ์แบบระนาบ (Flatbed Plotter)
• มีปากกามากกว่า 1
ด้ามเช่นกัน แต่การ
่
่
้ มี
่ การเคลือนที
่
่
เคลือนที
จะมี
แต่ปากกาเท่านันที
้
่
ทังสองแกนในขณะที
กระดาษผลลั
พธ ์จะอยู ่กบ
ั
ที่
• พลอตเตอร ์แบบนี ้ มักมีข นาดไม่ ใ หญ่นัก ต ง้ั
บนโต๊ะ คอมพิว เตอร ์ได้ ภาพที่วาดจึงไม่ ใ หญ่
มาก เช่น รู ปกราฟต่างๆ เป็ นต้น
Flatbed Plotter
อิ เ ล็ กโตรสแตติ ค พลอตเตอร ์ (Electrostatic
Plotter)
• เป็ นพลอตเตอร ์ที่ใช้ใ นการสร า้ งภาพอย่า ง
คร่าวๆ ไม่ละเอียดมากนัก
• ใช้ส าหร บั ตรวจสอบความถู ก ต้อ งของงาน
่ ยบร ้อยดีแล้วจึงส่งให้พลอตเตอร ์ 2 แบบ
เมือเรี
แรกสร า้ งภาพผลลัพ ธ ท
์ ี่มี ค วามละเอีย ดสู ง
ต่อไป
้
การเลือกซือคอมพิ
วเตอร ์และ
อุป์ใช้กรณ์
่ พ่
วง
่ อ
• คอมพิวเตอร
งานเกีต
ยวก
บ
ั เอกสารเป็
นหลัก
ที่ นิ ยมก็ ม ี โ ปรแกรมประเภทออฟฟิ ศ เช่ น
Word, Excel, PowerPoint, Internet ถ้า
ใครใช้ง านลัก ษณะนี ้ คอมพิว เตอร ์ที่ใช้ก็ ไ ม่
จ าเป็ นต้อ ง มี ส เปกหรู เริ่ดให้เ ปลื อ งเงิ น แต่
ประการใด
่ บซบ
่
่
• การใช้งานทีสลั
ั ซอ
้ น มีง านทีจะเกี
ยวกั
บ
้ าเป็ นต้อ ง
รู ปภาพ ข้อ มู ลประกอบมากขึ นจ
อาศ ย
ั โปรแกรมส าหร บ
ั ตกแต่ ง และการตัด ต่ อ
รู ปภาพ เช่น Photoshop Illustrator ฯลฯ
่
่ใช้ก็ ต อ
เครืองที
้ งมีคุ ณ สมบัต ิท ี่ดีก ว่ า ประเภท
ประเภทมียห้
ี่ อ มีแบรนด ์
• ก ลุ่ ม นี ้ มี ทั้ ง แ บ ร น ด ์ น อ ก แ บ ร น ด ์ ไ ท ย
ยกตวั อย่างเช่น คอมแพค, ไอบีเอ็ม, เอเซอร ์,
เดลล ์, โพเวล, เลเซอร ์, เบลต้า, เอเทค ฯลฯ
• ถ้าเลือกทีมี่ ยห้
ี่ อ ก็จ ะได้ร ับสิท ธิป ระโยชน์ม าก
พอสมควรก บ
ั เงิ น ที่จ่ า ยไป ไม่ ว่ า จะเป็ นการ
่ ปัญหา
ร ับประกน
ั สินค้า การให้คาปรึกษาเมือมี
่
ในการใช้ง าน คุ ณ ภาพสิน ค้า ทีวางใจได้
และ
่
บริการหลังการขายอืนๆ
ประเภทไม่มย
ี ห้
ี่ อ
• คอมพิวเตอร ์กลุ่มนี ้จะมีจุดเด่นอยู่ตรง "ราคา
ถู ก" เพราะไม่ ต ้อ งลงทุ นโฆษณาหรือ ท า
การตลาด
่
้ั ซ
• กลุ่มนี ้มักจะเป็ นเครืองประกอบเอง
มีท งผู
้ อ
ื้
้ ปกรณ์
จ้างรา้ นค้าประกอบให้และผู ซ
้ อมาซื
ื้
ออุ
้ งสามารถควบคุมต้นทุน
ไปประกอบเอง ดงั นันจึ
ได้
CPU
• ซี พี ยู ห รื อ ห น่ ว ย ป ร ะ ม ว ล ผ ล ก ล า ง มี ค น
เปรีย บเทีย บซีพ ียู เ หมือ นก บ
ั สมองของมนุ ษย ์
เ พ ร า ะ ซี พี ยู จ ะ ท า ห น้ า ที่ คิ ด ค า น ว ณ
่ ป้่ อนเข้ามา แล้วแสดง
ประมวลผลจากคาสังที
่ องการ
ผลลัพธ ์ตามทีต้
่ั
• ยีห้่ อซีพยี ู ทเป็ี่ นยักษ ์ใหญ่ในตลาดไอทีทวโลกก็
คือ อินเทล ก ับเอเอ็มดี
• ควรเลือกซีพยี ู แบบ 64 บิต เนื่องจากสามารถ
ทาการประมวลผลได้เร็วกว่าซีพย
ี ู แบบ 32 บิต
ถ้าใช้งานร่วมกับโปรแกรมแบบ 64 บิต
Main board
• เมนบอร ด์ หรือ มาเธอร บ์ อร ด์ คือ แผงวงจร
้ั
่
ขนาดใหญ่ ท ี่มีอุ ป กรณ์เ กือ บทุ ก ชนิ ด ติด ต งอยู
ไม่วา
่ จะเป็ นแรม ซีพย
ี ู การ ์ดต่างๆ
• ในปั จจุบนั นี ้มีเมนบอร ์ดให้เลือก หลายยีห้่ อแต่
่ อ ก็ จ ะมีล ก
ละยีห้
ั ษณะคล้า ยคลึง ก น
ั จะแตกต่ า ง
กน
ั ไม่ ก ี่แห่ ง เช่ น ชิป เซ็ ต และซ็ อ กเก็ ต ช่ อ ง
่
ส าหร ับเสีย บการ ์ด และพอร ์ตส าหร ับเชือมต่
อ
อุปกรณ์ภายนอก เป็ นต้น
่ รวม VGA
• มีเมนบอร ์ดอีกชนิ ดหนึ่ งทีได้
และ
Sound อยู ่ในตวั ด้วย แต่มข
ี อ
้ ดีขอ
้ ด้อยแตกต่าง
RAM
• แรม หรือหน่ วยความจาในปัจจุบนั จะมีอยู่ 2
ชนิ ดคือ DDR2 และ DDR3
้
• ก่อนจะซือแรมต้
องดู ทเมนบอร
ี่
์ดว่าใช้งานกับ
แรมประเภทใด
• DDR3 จะมีความเร็วทีสู่ งกว่า DDR2 แต่ราคา
้ ่
ก็แพงกว่าด้วย มาตรฐานของแรมในตอนนี อยู
่
ทีขนาด
2 – 4 กิกะไบต ์
Hard Disk
• ถ้า จะเลื อ กฮาร ์ดดิส ก ใ์ นปั จจุ บ นั นี ้ จ าเป็ นที่
จะต้อ งมองหาฮาร ์ดดิส ก ท
์ ี่มีข นาดใหญ่ ท ี่สุ ด
่
้
เท่าทีงบประมาณของเราจะจั
ดซือได้
้ ่ในการใช้ง านเยอะ
• โปรแกรมใหม่ ๆ กิน พืนที
่
เช่น วินโดวส ์ 7 ก็ใ ช้พ นที
ื ้ ไปแล้
ว ประมาณ 2
่ รุน
กิกะไบต ์ สาหร ับโปรแกรมและไฟล ์งานอืนๆ
่
้ เยอะกว่
่
ใหม่ๆ ก็กน
ิ พืนที
าเดิม
• ควรเลือกฮาร ์ดดิสก ์ทีมี่ ความจุไม่ต่ากว่า 250
้
กิกะไบต ์หรือมากกว่านัน
Multimedia Card
• หากต้อ งการใช้ง านที่เกี่ยวก บั การท า 3 มิติ
้ ตอ
่ บสนุ น 3D ด้วย
นันก็
้ งใช้การ ์ดทีสนั
• ส่วนใหญ่การ ์ด 3D เหล่านี ้ได้ถูกพัฒนามา
เ พื่ อ ก า ร เ ล่ น เ ก ม ส โ์ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง เ ช่ น
Nvidia หรือ Ati แต่ ถ า
้ เป็ นการใช้ง านแบบ
่
ทัวไปก็
สามารถใช้การ ์ดจอแบบออน บอร ์ดได้
Monitor
• การเลือกมอนิ เตอร ์นั้นถ้าจะให้ดี ต้องเลือกที่
สามารถสัมพันธ ์ก ับการ ์ดแสดงผลด้วย
• ขนาดของจอนั้นก็มีความสาคญ
ั ด้ว ยเช่น กัน
้ อว่าเป็ นมาตรฐานของจอมอนิ เตอร ์ไป
19 นิ วถื
้
้
้
แล้วในทุกวันนี และก
าลังขยับขึนไปถึ
ง 24 นิ ว
่
• ถ้าเรืองเงิ
นไม่ใช่ปัญหาของคุณก็ขอแนะนาให้
้ั
ใช้จอใหญ่ๆ เพราะว่าจอใหญ่นนจะสามารถลด
ก า ร เ พ่ ง ข อ ง ส า ย ต า ไ ด้ แ ล ะ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ
สามารถแสดงผลได้อย่างเต็มที่
• การ ์ดเสียง,
Sound Card
ดีวด
ี รี อม และลาโพง สาหร ับการ ์ด
้
้
เสียงนันประสิ
ทธิภาพจะขึนอยู
่ กบ
ั ราคา หากใช้
่
งานทัวไปราคาประมาณไม่
เกิน 1,000 บาทก็
พอใช้ได้
• ถ้าต้องการนาไปใช้งานด้านเสียงโดยเฉพาะก็
้ั
สามารถเลือกได้ตงแต่
ราคา 3,000
บาท –
15,000 บาท
่
• ดีวดี รี อมควรเลือกแบบทีสามารถเขี
ยนแผ่นได้
ด้วย เพราะราคาไม่แตกต่างก ันมากนัก
Mouse, Keyboard, Floppy Disk
• ส าหร บั พวกอุ ป กรณ์เ หล่ า นี ้ ก็ จ ะคล้า ยๆ กัน
ห ม ด คื อ ก า รใ ช้ ง า น เ ห มื อ น กั น รู ป ร่ า ง ก็
เหมือนก ัน ราคาก็ใกล้เคียงก ัน
• ส่วนเคสนั้นก็ตอ้ งดู ดว้ ยว่าเมนบอร ์ดของเรา
้
ยาวหรือสันแค่
ไหน
แนวโน้มฮาร ์ดแวร ์ในอนาคต
หน่ วยประมวลผล
่
 หน่ วยประมวลผลในอนาคตจะเปลียนไปใช้
การประมวลผลแบบ 64 บิต
่ านวนคอร ์ (Core) ซึงเปรี
่
 เน้นการเพิมจ
ยบได้
่ ในการ ประมวลผลให้มากขึน
้
ก ับสมองทีใช้
่
 มีการเพิมหน่
วยประมวลผลภาพกราฟิ กเข้า
่
ไปด้วยเพือประมวลผลภาพกราฟิ
กแบบความ
ละเอียดสู ง (High-Definition :HD)
หน่ วยความจา
่ งขึน
้
 จะมีความเร็วในการร ับ – ส่งข้อมู ลทีสู
้ ราคาถู กลงทาให้ผูใ้ ช้ทวไปสามารถ
่ั
รวมทังมี
หน่ วยความจาสารอง
่ นทึกข้อมู ลประเภทฮาร ์ดดิสก ์แบบโซลิตส
สือบั
เตทไดร ์ฟ (Solid State Disk: SSD) จะมีความ
้
่
จุทสู
ี่ งขึนในขณะที
ราคาถู
กลง
ด้ว ย ค ว า ม เ ร็ วใ น ก า ร อ่ า น ข้ อ มู ล ที่ สู ง ก ว่ า
ฮาร ด
์ ดิ ส ก แ
์ บบจานแม่ เ หล็ ก อาจจะท าให้
ฮาร ์ดดิส ก แ์ บบโซลิต สเตทไดร ์ฟได้ร บ
ั ความ
้
นิ ยมมากขึน
่ นทึกข้อมู ลประเภทบลู เรย ์ดิสก ์ก็น่าจะเข้า
สือบั
่ วด
มาแทนทีดี
ี ี เนื่ องจากมีความจุทสู
ี่ งกว่า
หน่ วยร ับข้อมู ล
 อุ ป ก ร ณ์ ป้ อ น ข้ อ มู ล แ บ บ มั ล ติ ท ั ช ส ก รี น
(Multi-Touch screen) คือการป้ อนข้อมู ล
แ บ บ สั ม ผั ส ห น้ า จ อ แ บ บ ห ล า ย จุ ด ซึ่ งไ ด้
้ั
น ามาใช้เ ป็ นคร งแรกโดยบริ
ษ ัท แอปเปิ ้ ลใน
โทรศ พ
ั ทม
์ ือ ถือไอโฟน ก าลัง ถู ก น าไปใช้ใ น
่
เครืองคอมพิ
วเตอร ์ส่วนบุคคลด้วย
 ร ะ บ บ จ ด จ า ค า สั่ ง ที่ เ ป็ น เ สี ย ง พู ด (Voice
Recognize)
หน่ วยแสดงผล
จอภาพแบบ LCD จะมีขนาดในการแสดงผลที่
ใหญ่ขน
ึ้
เป็ นการแสดงผลในอ ัตราส่วน 16:9 (Wide
่
screen) เหมาะก ับการนามาใช้เพือความ
บันเทิง
่ วยจอภาพแบบ LED ซึงกิ
่ นไฟ
จะถู กแทนทีด้
่
น้อยกว่า คุณภาพดีกว่า เมือจอภาพแบบ
LED
มีราคาถู กลง