เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง

Download Report

Transcript เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง

(Input and Output)
ศัพท์พนฐาน
ื้
Field (ฟิ ลด์)
: รายการข้อมูล เช่น ชื่อ รหัส
Record (ระเบียน)
: กลุ่มรายการข้อมูลทีม่ ีความสัมพันธ์กนั เช่น ฟิ ลด์ชือ่ ฟิ ลด์รหัสลูกค้า
ฟิ ลด์ทีอ่ ยู่ (นายเอก รหัสA001 ทีอ่ ยู่นครนายก)
การป้อนข้อมูลแบบประมวลผลกลุ่ม (Batch)
: จะทาการเก็บข้อมูลเป็ นระเบียนไว้ก่อน แล้วจึ งเก็บลงใน
คอมพิวเตอร์ เช่น การทางานแผนกรับใบสังซื้
่ อสินค้าจากลูกค้า
+ ตรวจสอบข้อมูลเป็ นชุดๆได้, การป้อนข้อมูลมีประสิทธิภาพ
- ตรวจสอบด้วยมือ, ตรวจสอบได้ทีละชุด
การป้อนข้อมูลแบบประมวลผลแบบเชื่อมโยงโดยตรง (Online)
: เมือ่ ข้อมูลถูกป้อน จะถูกส่งเข้าคอมพิวเตอร์ทนั ที
+ ตรวจสอบข้อมูลได้ทนั ที แก้ไขข้อมูลในทันที
Field Missing : ตรวจสอบการกรอกข้อมูลในฟิ ลด์ว่าครบถ้วนหรือไม่
Limit Test : จากัดค่าทีป่ ้ อนในฐานข้อมูล เช่น ตัวเลขไม่เกินค่าทีต่ ้ งั
Context Test : ตรวจสอบชนิดข้อมูลที่ป้อน เช่น เงิน ต้องเป็ นชนิดตัว
เลขทีค่ านวณได้
Rang Test : ตรวจสอบช่วงข้อมูลที่ป้อน เช่น วันที่ตอ้ งไม่เกิ น 31 ใน
เดือนมกราคม
Transposition Error : ป้อนข้อมูลซ้ า 2 ทีแ่ ล้วเปรียบเทียบ
คียบ์ อร์ด (Keyboard)
แป้ นพิ มพ์ การพิ มพ์ ข้อความ การสั่งงานคอมพิ วเตอร์ และการ
ท างานหลายๆ อย่ า งต้ องใช้ แป้ นพิ ม พ์ เ ป็ นหลั ก แป้ นพิ ม พ์ ห รื อ
คีย์บอร์ดจะต่อสายเข้ ากับพอร์ต PS/2 ของเมนบอร์ด นอกจากนี้ยังมี
คีย์บอร์ดที่เป็ นแบบ USB คือต้ องต่อเข้ าที่พอร์ต USB ของเมนบอร์ด
และยังมีคีย์บอร์ดไร้ สายอีกด้ วย
จอแสดงผล (Display Screen)
จอ เป็ นอุปกรณ์ท่ใี ช้ สาหรับการแสดงผลการประมวลผลต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นหลังจากที่ส่งั ให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน
1. จอภาพสีเดียว (Monochrome Monitor) จอภาพที่รับสัญญาณ
จากการ์ดควบคุม ในลักษณะของสัญญาณดิจิตอล คือ 0 กับ 1 โดยการ
กวาดล าอิเ ล็ก ตรอนไปตกหน้ า จอ แล้ ว เกิด เป็ นจุ ด เรื อ งแสง จะให้
สัญญาณว่ าจุ ดไหนสว่ าง จุ ดไหนดับ จอภาพสีเดียวเวลานี้ไม่ มีผ้ ูนิยม
แล้ ว
2. จอภาพหลายสี (Color Monitor) เป็ นจอที่สามารถแสดง
ออกมาเป็ นสีต่าง ๆ ซึ่งจะแสดงได้ ท้งั ตัวอักษรและกราฟิ ก โดยต้ องมี
อุปกรณ์ ประกอบที่ใช้ ต่อเข้ ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ Color graphic
card เครื่องคอมพิวเตอร์จึงสามารถใช้ จอสีได้ จอชนิดนี้มีความละเอียด
สูงกว่าจอ สีเดียว จอภาพประเภทนี้จะรับสัญญาณดิจิตอล 4 สัญญาณ
คือ สัญญาณของสีแดง, เขียว, นา้ เงิน และสัญญาณความสว่าง ทาให้
สามารถแสดงสีได้ 16 สี ถึง 32 ล้ านสี หรืออาจจะมากกว่านั้น
3. จอภาพแบบแบน (LCD; Liquid Crystal Display) จอภาพ
ชนิด LCD เป็ นจอภาพชนิดหนึ่งในตระกูล VGA ซึ่งได้ รับการ
ออกแบบ มาเพื่อให้ ใช้ เป็ นจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋ า
หิ้ว (Notebook-Computer) , คอมพิวเตอร์สาหรับพกพาและ
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก อื่น ๆ เกือบทุกชนิด แต่ในปัจจุบัน ได้ เริ่มมีการ
พัฒนาโดยเอาจอภาพแบบ LCD มาใช้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้ ง
โต๊ะบ้ างแล้ ว
จอภาพแบบ LCD มีอยู่สองแบบใหญ่ ๆ คือ
1. Active matrix จอภาพสีสดใสมองเห็นจากหลายมุม เนื่องจาก
ให้ ความสว่าง และสีสนั ในอัตราที่สงู มีช่ือเรียกอีกชื่อว่า TFT - Thin
Film Transistor และเนื่องจากคุณสมบัติดังกล่าว ทาให้ ราคาของจอ
ประเภทนี้สงู ด้ วย
2. Passive matrix color จอภาพสีค่อนข้ างแห้ ง เนื่องจากมีความ
สว่างน้ อย และสีสนั ไม่มากนัก ทาให้ ไม่สามารถมองจาก มุมมองอื่นได้
นอกจากมองจากมุมตรง เรียกอีกชื่อได้ ว่า DSTN - Double Super
Twisted Nematic
4. จอภาพระบบสัมผัส (Touch-Screen)
เป็ นจอภาพที่มีประสาทสัมผัส เป็ นอุปกรณ์ท่นี าข้ อมูลเข้ าสู่เครื่อง
คอมพิวเตอร์โดยการสัมผัส เป็ นจอภาพแบบพิเศษ สามารถรับรู้ ทนั ที
เมื่ อมี ก ารสั ม ผั ส กั บ จอภาพ ใช้ งานได้ ง่ า ยส าหรั บ ผู้ ที่ ไ ม่ เ คยใช้
คอมพิวเตอร์ เลย ผู้ใช้ เพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในตาแหน่ งที่
ต้ องการ เพื่อเลือกการทางาน ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ จะเป็ นตัวค้ นหาว่ าผู้ใช้
เลื อ กทางเลื อ กใด และท าให้ ต ามนั้ น หลั ก การนี้ นิ ย มใช้ กั บ เครื่ อ ง
ไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้ ผ้ ูท่ใี ช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่คล่ องนัก
สามารถเลือกข้ อมูลที่ต้องการได้ อย่างสะดวกรวดเร็ว จะพบการใช้ งาน
มากในร้ านอาหารแบบเร่งด่วน หรือใช้ แสดงข้ อมูลการท่องเที่ยว
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer)
เครื่ องพิ มพ์ ดอตแมทริ กซ์ น้ ีใช้ หลักการสร้ างจุ ด ลงบน กระดาษโดยตรง
หัวพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ มีลักษณะเป็ นหัวเข็ม (pin) เมื่อต้ องการพิมพ์ส่งิ ใดลง
บนกระดาษ หั วเข็มที่อยู่ ในตาแหน่ งที่ประกอบกันเป็ น ข้ อมูลดังกล่ าวจะยื่นลา
หน้ าหั ว เข็มอื่น เพื่ อไปกระแทกผ่ านผ้ าหมึก ลงบนกระดาษ ก็จะทาให้ เกิดจุ ด
ความคมชัดของข้ อมูลบน กระดาษขึ้นอยู่กบั จานวนจุด ถ้ าจานวนจุดยิ่งมากข้ อมูล
ที่พิมพ์ลงบนกระดาษก็ย่ิงคมชัดมากขึ้น เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เหมาะสาหรับ
งานที่พิมพ์แบบฟอร์มที่ต้องการซ้ อนแผ่นก๊อปปี้ หลาย ๆ ชั้น เครื่องพิมพ์ชนิดนี้
ใช้ กระดาษต่อเนื่องในการพิมพ์ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะยัง คงมีใช้ อยู่ ตามองค์กร
ราชการ
เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer)
เครื่ อ งพิ ม พ์ พ่ น หมึ ก สามารถพิ ม พ์ ตั ว อั ก ษรที่ มี รู ป แบบ และขนาดที่
แตกต่ า งกั น มาก ๆ รวมไปถึ ง พิ ม พ์ ง านกราฟิ กที่ ใ ห้ ผลลั พ ธ์ คมชั ด กว่ า
เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เทคโนโลยีท่เี ครื่องพิมพ์พ่นเป็ น การพ่นหมึกหยดเล็ก
ๆ ไปที่กระดาษ หยดหมึกจะมีขนาดเล็กมาก แต่ ละจุ ดจะอยู่ ในตาแหน่ งที่เมื่อ
ประกอบกันแล้ วจะเป็ นตัวอักษร หรือรูปภาพตามความต้ องการ การพิมพ์ แบบนี้
จะพิมพ์แบบซ้ อนแผ่นก๊อปปี้ ไม่ได้
เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer) (ต่อ)
แต่มีความสามารถพิมพ์ได้ รวดเร็วและเสียงไม่ดัง มีหน่วยวัดความเร็วเป็ น
ในการพิมพ์เป็ นหน้ าต่อนาที PPM (Page Per Minute) ความสามารถของ
เครื่องพิมพ์ประเภทนี้ถูกพัฒนามาให้ มีประสิทธ์ข้ ึนเลื่อยๆ นั้ นขึ้นอยู่ กับการใช้
ง าน แต่ ต้ อง มี ก ระ ด าษที่ ใ ช้ พิ ม พ์ เป็ น ปั จจั ยด้ ว ยเช่ น กั น ณ ปั จจุ บั น
(2545)ความสามารถของเครื่องพิมพ์น้ันสูงสุดถึง 4800x1200 dpi (Dot per
inch)
เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer)
เครื่องพิมพ์ชนิดนี้อาศัยเทคโนโลยีไฟฟ้ าสถิตแบบเดียวกันกั บเครื่อง ถ่าย
เอกสารทั่วไปโดยลาแสง จากไดโอดเลเซอร์จะฉายไปยังกระจกหมุน เพื่อสะท้ อน
ไปยั ง ลู ก กลิ้ งไวแสง ซึ่ ง จะปรั บ ตามสั ญ ญาณภาพหรื อ ตั ว อั ก ษรที่ ไ ด้ รั บ จาก
คอมพิวเตอร์ และกวาดตามแนวยาวของลูกกลิ้งอย่างรวดเร็ว สารเคลือบทีอ่ ยู่บน
ลูกกลิ้งจะ ไปทาปฏิกริ ิยากับแสงแล้ วเปลี่ยนเป็ นประจุไฟฟ้ าสถิต ซึ่งทาให้ ผงหมึก
เกาะติดกับพื้นที่ท่มี ีประจุ เมื่อกระดาษพิมพ์หมุนผ่านลูกกลิ้ง ความร้ อนจะทาให้
ผงหมึกหลอมละลาย ติดกับกระดาษได้ ภาพหรือตัวอักษร
เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) (ต่อ)
เนื่องจากลาแสงเลเซอร์ได้ รับการควบคุมอย่างถูกต้ อง ทาให้ ความละเอียด
ของจุ ด ภาพบนกระดาษสู ง มาก งานพิ ม พ์ จึ ง มี คุ ณ ภาพสูง ท าให้ ไ ด้ ภ าพ และ
ตัวหนังสือที่คมชัดสวยงาม การพิมพ์ของเครื่องพิมพ์เลเซอร์เสียงจะไม่ดัง
พล็อตเตอร์ (plotter)
พล็อตเตอร์ เป็ นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ ปากกาในการเขียนข้ อมูลต่างๆ ลงบน
กระดาษที่ทามาเฉพาะงานเหมาะสาหรับงานเกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม
และงานตกแต่งภายใน ใช้ สาหรับวิศวกรรมและสถาปนิก พล็อตเตอร์ทางานโดย
ใช้ วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ ปากกาได้ 6-8 สี ความเร็วในการทางานของ
พล็อตเตอร์มีหน่วยวัดเป็ นนิ้วต่อวินาที (Inches Per Second : IPS) ซึ่งหมายถึง
จานวนนิ้วที่พล็อตเตอร์สามารถ เลื่อนปากกาไปบนกระดาษ
เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก หรือเอ็มไอซีอาร์ (Magnetic-Ink Character
Reader : MICR) โดยอาศัย วิธกี ารรู้จาอักขระ ที่เป็ นหมึกแม่เหล็ก (Magnetic-Ink
Character Recognition) โดยปกติ การจดจานี้จะใช้ กบั การตรวจสอบเช็ค ซึ่งจะใช้
เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่ เหล็ก อ่านหมายเลขเช็คที่อยู่ มุมล่ างขวามือ ของใบเช็ค
หมายเลขนี้จะถูกพิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์แบบพิเศษที่มีส่วนผสมของสารแม่ เหล็ก ซึ่ง
ประกอบด้ วย สัญลักษณ์พิเศษ และตัวเลข อักขระเหล่านี้ ธนาคารเป็ นผู้กาหนด โดย
ใช้ เครื่องมือที่เรียกว่า MICR Inscriber
เครื่องกราดภาพหรือสแกนเนอร์ (Scanner) เป็ นเครื่องมือที่ใช้ การนาเข้ า
ข้ อมูลในลักษณะการกราด (Scan) ของลาแสง ไปยังรูปภาพหรือ ข้ อมูลที่ต้องการ
นาเข้ า ด้ วยระบบการรู้จาด้ วยแสง (Optiacal Recognition) แล้ วเปลี่ยนเป็ น
สัญลักษณ์ไฟฟ้ า เพื่อสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล ในปั จจุบั นบางบริษัทจะ
เก็บข้ อมูลด้ วยวิธีน้ ีเพราะจะทาให้ ประหยัดเนื้อที่กว่ าการเก็บด้ วยกระดาษต้ นฉบับ
สแกนเนอร์แบ่งตามลักษณะการนาข้ อมูลเข้ าได้ 3 ลักษณะ
1. สแกนเนอร์มือถือ (Handheld Scanner)
เป็ นสแกนเนอร์ท่ีมีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่ สามารถทางานได้ สะดวกเพราะ
สามารถใช้ มือถือ และกราดภาพที่ต้องการ ด้ วยการเคลื่อนที่ของมือ ไปตามภาพ
นั้นๆ แต่อย่างไรก็ตาม สแกนเนอร์มือถือนี้อาจจะให้ ผลลัพธ์ท่ไี ม่ชัดเจน เพราะอาจ
เกิดความผิดพลาดจากการวางกระดาษไม่ตรง หรือขณะที่ทาการกราดภาพนั้น มือที่
ถือเครื่องไม่มีความนิ่งพอ ข้ อจากัดอีกอย่างหนึ่งของสแกนเนอร์มื อถือ คือสามารถ
นาข้ อมูล ที่เป็ นมีขนาดเท่า ความกว้ าง ของเครื่องมือได้ เท่านั้น ซึ่งโดยปกติจะกว้ าง
2. สแกนเนอร์แบบป้ อนทีละแผ่น (Sheet Feed Scanner)
มีลักษณะคล้ ายเครื่องส่งแฟกซ์ ซึ่งมีแท่นกลมทรงกระบอกยาว มีม อเตอร์ติด
อยู่ เป็ นตัวป้ อนกระดาษที่เป็ นข้ อมูลต้ นฉบับเข้ าทางด้ านหั วเครื่อง เครื่องสแกนนี้
ราคาไม่สูงมากนัก แต่มี ข้ อเสียคือไม่สามารถกราดข้ อมูลจากหนังสือที่เป็ นเล่มเพื่อ
นาข้ อมูลเข้ า
3. สแกนเนอร์แบบระนาบ (Flatbed Scanner)
ซึ่งมีลักษณะคล้ ายเครื่องถ่ายเอกสาร มีราคาสูงกว่า 2 ชนิดข้ างต้ น สแกนเนอร์
แบบระนาบ สามารถนาข้ อมูลเข้ าโดยการสแกนได้ ครั้งละ 1 แผ่นขนาดประมาณ A4
หรือ 1 หน้ ากระดาษ สแกนเนอร์แบบระนาบนี้จะทาให้ ข้ อมูลหรือภาพที่ได้ มีความ
คมชัดหรือสวยงาม เนื่องจาก เครื่องจะสามารถ กราดภาพเพื่อนาข้ อมูลเข้ าได้ อย่าง
สม่ าเสมอ นอกจากนี้สามารถนาข้ อมูลหรือภาพจากหนังสือที่เป็ นเล่ มเพื่อนาข้ อมูล
เข้ าสแกนได้ โดยไม่ต้อง แยกเป็ นแผ่น
เครือ่ งอ่านสัญลักษณ์ดว้ ยแสง
เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง หรือ โอเอ็มอาร์ (Optical Mark Reader : OMR)
เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง จะใช้ ระบบการรู้จาสัญลักษณ์ด้วยแสง (Optical Mark
Recognition) โดยการใช้ แสงอ่านสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายที่ได้ ทาไว้ แล้ วเปลี่ยนเป็ น
สัญลักษณ์ไฟฟ้ าส่งต่อให้ หน่วยประมวลผล
วิ ธีก ารนี้ นิ ย มใช้ ม ากกับ กระดาษค าตอบแบบปรนั ย โดยจะส่ ง สัญ ญาณการรั บรู้
เครื่องหมาย (Mark Sensing) ที่ปรากฏบนแผ่นกระดาษ ที่มีผงคาร์บอน ขวางอยู่ (จาก
การฝนกระดาษคาตอบ) จากการอ่านด้ วยเครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง แล้ วนพข้ อมูลเข้ าสู่
ระบบคอมพิวเตอร์ โดยเก็บอยู่ในรูปของ แฟ้ มข้ อมูล เพื่อการประมวลผลต่อไป
เครือ่ งอ่านอักขระด้วยแสง
เครื่องอ่านอักขระด้ วยแสง หรือโอซีอาร์ (Optical Character Reader
:OCR) จะทางานด้ วยการรู้จาอักขระด้ วยแสง (Optical Mark Recognition) โดย
การใช้ แ สงอ่ า นอั ก ขระพิ เ ศษ แล้ วเปลี่ ย นเป็ นสั ญ ลั ก ษณ์ ไ ฟฟ้ าส่ ง ต่ อ ให้ หน่ ว ย
ประมวลผล เหมือ นกับ โอเอ็ม อาร์ เพี ย งแต่ ตั ว อัก ขระพิ เ ศษที่อ่ าน เป็ นอักขระที่
กาหนดขึ้นเรี ย กว่ า OCR-A
ซึ่งกาหนดโดย สถาบั นมาตรฐานแห่ งชาติ ของ
สหรัฐอเมริกา หรือแอนซี (American National Standard Institute : ANSI)
แวนรีดเดอร์ (Wand Reader) เป็ นเครื่องกราดภาพขนาดเล็กประเภทหนึ่งที่
ใช้ เป็ นอุปกรณ์ในการอ่าน OCR-A นิยมมากทั้งในห้ องสมุด โรงพยาบาล โรงงาน
และร้ านขายสินค้ าปลีก โดยเฉพาะถ้ าเป็ นร้ านขายสินค้ าปลีก แวนรีดเดอร์ จะต้ องใช้
กับระบบ POS (Point-Of-Sale) ซึ่งสามารถตัดยอด การจาหน่าย และเก็บเงินผ่ าน
บัญชีได้ ณ จุดขาย
เครือ่ งอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader)
เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader) เป็ นเครื่องมือที่ใช้ อ่านที่ติดอยู่ตามสินค้ า
ปั จจุ บันสินค้ าแต่ ละชนิด จะมีรหั สของตนติดยู่ บนผลิ ตภัณฑ์ รหั สนี้ ถู กกาหนด ให้ เป็ น
มาตรฐานสากลทั่วโลกหรือที่เรียกว่า Universal Product Code (UPC) ซึ่งใช้ แทนรหัส และ
รายละเอียดของสินค้ า
การอ่านรหัสแท่ง จะอาศัย วิธีการสะท้ อนของแสง โดยอาศัยความแตกต่างของคลื่ น
แสงที่ส่งกลับมาจากเครื่องอ่าน ดังนั้นรหัสแท่งที่ติดอยู่บนผลิตภัณฑ์ จึงสามารถพิมพ์ด้วย
หมึกใดๆ ก็ได้ เพียงแต่ขอให้ มีความแตกต่างกันอย่างมาก ระหว่างสีพ้ ืนและสีท่พี ิมพ์เป็ น