ตัวอย่ าง นายเอก ทางานบริษทั ไทย จากัด ได้ รับเงินเดือนๆ ละ 50,000 บาท นายเอก ได้ แจ้ งสภาพการหักลดหย่ อนและยกเว้ นไว้ ดงั นี้ - ภริยาชอบด้ วยกฎหมายไม่ มีเงินได้

Download Report

Transcript ตัวอย่ าง นายเอก ทางานบริษทั ไทย จากัด ได้ รับเงินเดือนๆ ละ 50,000 บาท นายเอก ได้ แจ้ งสภาพการหักลดหย่ อนและยกเว้ นไว้ ดงั นี้ - ภริยาชอบด้ วยกฎหมายไม่ มีเงินได้

ตัวอย่ าง
นายเอก ทางานบริษทั ไทย จากัด ได้ รับเงินเดือนๆ ละ 50,000 บาท
นายเอก ได้ แจ้ งสภาพการหักลดหย่ อนและยกเว้ นไว้ ดงั นี้
- ภริยาชอบด้ วยกฎหมายไม่ มีเงินได้ และร่ วมกันตลอดปี ภาษี
- บุตรชอบด้ วยกฎหมายทีเ่ ป็ นผู้เยาว์ กาลังศึกษาในประเทศไทย 2 คน
- จ่ ายประกันชีวติ ของตนเอง
80,000 บาท
- จ่ ายประกันชีวติ ของภรรยา 20,000 บาท
ดังนั้นบริษทั ไทย จำกัด จะต้ องหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำย ในปี 2547 เดือนละ
เท่ ำไร
= 600,000
เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี 50,000x12
หัก
ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000)
= 60,000
คงเหลือ เงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย
= 540,000
หัก ค่าลดหย่อนส่ วนตัว
30,000
ค่าลดหย่อนคู่สมรส
30,000
ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 2 คน
34,000
ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวติ ส่ วนตัว
50,000
ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวติ ภรรยา
10,000 = 154,000
คงเหลือเงินได้ สุทธิ
= 386,000
ภำษีเงินได้ ท้งั ปี (100,000-80,000) x 5%+286,000 x 10%
= 29,600
ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่ายแต่ละเดือน 29,600 / 12
= 2,466.66
ดังนั้นการหักภาษี ณ ที่จ่ายที่คานวณในแต่ละเดือนตั้งแต่เดือนมกราคม –พฤศจิกายน 2547
ซึ่ งคานวณตามกฎหมายเดิม
= 2,466.66
กำรคำนวณภำษีหัก ณ ที่จ่ำยตำมกฎหมำยใหม่
เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี 50,000 x12
=
หัก
ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000)
=
คงเหลือ เงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย
=
หัก ค่าลดหย่อนส่ วนตัว
30,000
ค่าลดหย่อนคู่สมรส
30,000
ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 2 คน
34,000
ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวติ ส่ วนตัว
50,000
ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวติ ภรรยา
10,000
=
คงเหลือเงินได้ สุทธิ
=
ภำษีเงินได้ ท้งั ปี (100,000 ได้รับยกเว้นภาษี ) +286,000 x 10%
=
ภาษีที่จะต้องหัก ณ ที่จ่ายสาหรับเดือนธันวาคม = 28,600 - 2,466.66 x 11 =
=
60,000
60,000
540,000
154,000
386,000
28,600
28,600 - 27,133.26
1,466.74
ตัวอย่ ำง
นายโท เป็ นคนโสดมีรายได้จากการเป็ นนายหน้าขายประกันจากบริ ษทั ประกันชีวิต ดังนี้
มกราคม
120,000 บาท
กุมภาพันธ์
90,000 บาท
มีนาคม
60,000 บาท
ดังนั้นบริ ษทั ประกันภัยจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร
ค่านายหน้าเดือนมกราคม
= 120,000
หัก
ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000)
= 48,000
คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย
= 72,000
หัก
ค่าลดหย่อนส่ วนตัว
= 30,000
คงเหลือ เงินได้สุทธิ
= 42,000
ไม่ ต้องหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำยเนื่องจำกเงินได้ สุทธิไม่ เกิน 100,000 ได้ รับกำรยกเว้ น
ค่ ำนำยหน้ ำเดือนกุมภำพันธ์ ต้องรวมเดือนมกรำคมด้ วย
หัก
ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000)
คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย
หัก
ค่าลดหย่อนส่ วนตัว
คงเหลือ เงินได้สุทธิ
ภำษีเงินได้ = (100,000 ได้รับยกเว้น) +20,000 x10%
ภาษีที่ตอ้ งหักภาษี ณ ที่จ่ายเดือน กุมภาพันธ์
= 210,000
=
=
=
=
60,000
150,000
30,000
120,000
= 2,000 บาท
ค่ ำนำยหน้ ำเดือนมีนำคม ต้ องรวมเดือนมกรำคมและกุมภำพันธ์ ด้วย
= 270,000
หัก
ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000)
= 60,000
คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย
= 210,000
หัก
ค่าลดหย่อนส่ วนตัว
= 30,000
คงเหลือ เงินได้สุทธิ
= 180,000
ภำษีเงินได้ = (100,000 ได้รับยกเว้น) +80,000 x10%
= 8,000
ดังนั้น ภาษีหกั ณ ที่จ่ายเดือนมีนาคม = 8,000 – 2,000
= 6,000
ข้ อสั งเกต
หากผูร้ ับค่านายหน้ามิได้อยูใ่ นประเทศไทยให้หกั ร้อยละ 15 ของเงินได้เลย
สรุปกำรหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำยตำมมำตรำ 40(2)
เช่ น ค่ ำนำยหน้ ำหรือค่ ำวิทยำกร
ผู้เสี ยภำษีเงินได้
บุคคลธรรมดำ
ม. 50(1)
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิติบุคคลประกอบกิจกำรในไทย
บริษัท หรือห้ ำงหุ้นส่ วนนิติฯ
มูลนิธิ หรือ สมำคม
3%
10%
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิติบุคคลที่
มิได้ ประกอบกิจกำรในไทย
15%
สรุปกำรหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำยตำมมำตรำ 40(3)
เช่ น ค่ ำแห่ งลิขสิ ทธิ์ หรือกู๊ดวิล
ผู้เสี ยภำษีเงินได้
บุคคลธรรมดำ
อัตรำภำษีเงิน
ได้ บุคคลธรรมดำ
300,000
100,000 x 5%
200,000 x 10%
= 25,000
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิติบุคคลประกอบกิจกำรในไทย
บริษัท หรือห้ ำงหุ้นส่ วนนิติฯ
มูลนิธิ หรือ สมำคม
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิตบิ ุคคลที่
มิได้ ประกอบกิจกำรในไทย
3%
10%
15%
เช่ น
เช่ น
เช่ น
300,000 x 3%
300,000 x 10 %
300,000 x 15 %
9,000
30,000
45,000
สรุปกำรหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำยตำมมำตรำ 40(ก)
เช่ น ดอกเบีย้
ผู้เสี ยภำษีเงินได้
บุคคลธรรมดำ
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิติบุคคลประกอบกิจกำรในไทย
บริษัท หรือห้ ำงหุ้นส่ วนนิติฯ
มูลนิธิ หรือ สมำคม
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิตบิ ุคคลที่
มิได้ ประกอบกิจกำรในไทย
15%
1%
10%
15%
เช่ น
เช่ น
เช่ น
เช่ น
200,000 x 15 %
200,000 x 1%
200,000 x 10 %
200,000 x 15 %
30,000
2,000
20,000
30,000
ข้ อ 4
ธนาคารหรื อ
สถาบันการเงิน
40(ก)
บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล 1 %
มูลนิธิหรื อสมาคม 10%
ข้ อ 5
บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล ดอกเบี้ยพันธบัตร
หรื อนิติบุคคลอื่น
ดอกเบี้ยหุ น้ กู้
ข้ อ 6
บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล
บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล 1%
ดอกเบี้ย ฯ
หรื อนิติบุคคลอื่น
มูลนิธิหรื อสมาคม 10%
ธนาคารหรื อ
สถาบันการเงิน
1%
สรุปกำรหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำยตำมมำตรำ 40(5)
เช่ น ค่ ำทรัพย์ สิน
ผู้เสี ยภำษีเงินได้
บุคคลธรรมดำ
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิติบุคคลประกอบกิจกำรในไทย
บริษัท หรือห้ ำงหุ้นส่ วนนิติฯ
มูลนิธิ หรือ สมำคม
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ ที่มิได้
ประกอบกิจกำรในไทย
5%
10%
15%
มิได้ อยู่ในไทย 15%
อยู่ในไทย 5 %
สรุปกำรหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำยตำมมำตรำ 40(6)
เช่ น ประกอบโรคศิลป , กฎหมำย , บัญชี
ผู้เสี ยภำษีเงินได้
บุคคลธรรมดำ
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ นิติบุคคลประกอบกิจกำรในไทย
บริษัท หรือห้ ำงหุ้นส่ วนนิติฯ
มูลนิธิ หรือ สมำคม
ผู้เสี ยภำษีเงินได้ ที่มิได้
ประกอบกิจกำรในไทย
3%
10%
15%
มิได้ อยู่ในไทย 15%
อยู่ในไทย 3 %