บทที่ 4 การเงินและพัสดุ

Download Report

Transcript บทที่ 4 การเงินและพัสดุ

บทที่ 6 พัสด ุ และ
การจัดการอาคารสถานที่
ของสถาบันบริการ
สารสนเทศ
หัวข้อสาคัญด้านพัสด ุ
• ความหมายความสาคัญการจัดการงานพัสดุของ
สถาบันบริการสารสนเทศ
• การตกแต่งภายในและสภาพแวดล้อมของสถาบัน
บริการสารสนเทศ
• การจัดการด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของ
สถาบันบริการสารสนเทศ
ความหมายของพัสด ุ
ความหมายของพัสด ุ ในภาครัฐคาว่า “พัสด ุ”
ครอบคล ุมถึง วัสด ุ คร ุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
โดยสามารถจาแนกตามประเภทรายจ่ายงบประมาณ
ของสานักงบประมาณ ดังนี้
วัสด ุ หมายถึง สิ่งของที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1) สิ่งของที่โดยสภาพเมื่อใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไป
แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิมต่อไป ได้แก่ ดินสอ หมึก
เทปปิดสันหนังสือ ผงหมึก ยางลบ
2) สิ่งของที่มีลกั ษณะคงทนถาวร แต่มีอาย ุการใช้งาน
ไม่เกิน 1 ปี ได้แก่ ปากกาล ูกลื่น
3) สิ่งของที่มีลกั ษณะคงทนถาวรและมีอายกุ าร
ใช้งานประมาณ 1 ปีขึ้นไป แต่ราคาไม่เกิน 5,000
บาท ได้แก่หนังสือ วารสาร เครือ่ งเย็บกระดาษ
เครือ่ งตัดกระดาษ เครือ่ งตอกเลข เว้นแต่สิ่งของ
ที่จดั เป็นคร ุภัณฑ์ตามหลักการจาแนกตาม
งบประมาณของสานักงบประมาณ
4) สิ่งของที่สว่ นราชการซื้อมาใช้ในการ
บาร ุงรักษา หรือซ่อมแซมทรัพย์สิน
ได้แก่ ถ ุงมือ คีม ไขควง
คร ุภัณฑ์
หมายถึง สิ่งของที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1. สิ่งของที่มีลกั ษณะคงทนถาวร มีอาย ุการใช้งานตัง้ แต่ 1 ปีขึ้นไป และมี
ราคาเกิน 5,000 บาท ได้แก่ โต๊ะอ่านหนังสือ เก้าอี้ พริ้นเตอร์ โทรศัพท์
พัดลม
2. สิ่งของที่มีลกั ษณะคงทนถาวร มีอาย ุการใช้งานตัง้ แต่ 1 ปีขึ้นไปและมี
ราคาเกิน 20,000 บาท ได้แก่ ชัน้ วางหนังสือ เคาน์เตอร์ เครือ่ งถ่าย
เอกสาร คอมพิวเตอร์
รวมถึงที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมทัง้ สิ่ง
ต่างๆซึ่งติดอยูก่ บั ที่ดินและสิ่งก่อสร้างและค่าใช้จ่ายต่างๆซึง่ เกิดขึ้น
เนื่องจากการปรับปร ุงที่ดินหรือสิ่งก่อสร้าง ซึ่งมิใช่เป็นการซ่อมแซมตามปกติ
ได้แก่ สนามเด็กเล่น รัว้ บ้านพัก
สาหรับภาคเอกชน เมื่อกล่าวถึงคาว่า “วัสด ุ” จะ
หมายถึง สิ่งของ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ เครื่องจักร
เครือ่ งยนต์ อ ุปกรณ์ อะไหล่ วัตถ ุดิบ วัสด ุก่อสร้าง
สินค้าสาเร็จร ูปและของใช้เบ็ดเตล็ด ซึ่งจะ
ครอบคล ุมทัง้ วัสด ุและคร ุภัณฑ์ ในความหมายของ
ภาครัฐ ดังนัน้ คาว่า “วัสด ุ”ในภาคเอกชนจึงมี
ความหมายเช่นเดียวกับคาว่า “พัสด ุ” ในภาครัฐ
ความหมายและความสาคัญของการจัดการงานพัสด ุ
ของสถาบันบริการสารสนเทศ
ความหมายของการจัดการงานพัสด ุ คือ
การดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสด ุ เพื่อให้ได้มาซึ่งพัสด ุ
และการจัดการงานพัสด ุของสถาบันฯ
ความสาคัญ
1. เพื่อให้การดาเนินงานด้านพัสด ุมีประสิทธิภาพ สามารถ
ลดค่าใช้จ่ายหรือต้นท ุนของสถาบันบริการสารสนเทศ
ความส
าคัญของการจั
ดการงานพั
ุ นบริ การสารสนเทศ
ความหมายและความส
าคัญของการจั
ดการงานพัสสดุขดองสถาบั
2. เพื่อประสิทธิผล ในการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายของ
สถาบันฯ โดยเฉพาะกิจการที่มกี ารขยายตัวสูง ซึ่งมีกิจกรรม
ต่างๆอย่างต่อเนือ่ ง จึงมีความต้องการใช้พสั ดุให้เพียงพอต่อ
ความต้องการ
3. เพื่อบารุงรักษาและยืดอายุการใช้งานของพัสดุให้อยู่ในสภาพที่
พร้อมใช้ตลอดเวลา
4. เพื่อควบคุมพัสดุมใิ ห้เกิดความสูญหายได้
5. เพื่อทาให้ประหยัดต้นทุนของกิจการได้มากขึน้
ขอบเขตของการจัดการงานพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศ คือ
เป็ นการนาความรูใ้ นการจัดการมาใช้ในงานพัสดุของสถาบันฯ เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายที่พึงประสงค์ โดยมีขอบเขตการดาเนินงาน ดังนี้
1. การได้มาซึ่งพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศ ประกอบด้วย
- ความต้องการพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศ
- การจัดหาพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศ
2. การจัดการพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศ ประกอบด้วย
- การควบคุมและแจกจ่ายพัสดุ
- การดูแลบารุงรักษา
- การจาหน่ายพัสดุ
ภาพแสดงขอบเขต
ของการจัดการงานพัสด ุ
ความต้องการพัสดุ
การได้มาซึ่งพัสดุ
การจัดหาพัสดุ
การจัดการ
งานพัสดุ
การควบคุมและแจกจ่ายพัสดุ
การจัดการพัสดุ
การดูแลบารุงรักษาพัสดุ
การจาหน่ายพัสดุ
ด ูเพิ่มเติม วงจรการบริหารงานพัสด ุ
สภาพแวดล้อมที่มีความสาคัญต่อการจัดการงานพัสด ุฯ
ประกอบด้วย 3 ประการ คือ
1. นโยบาย
นโยบายของผูบ้ ริหารระดับสูงมีความสาคัญมาก เพราะเป็นกรอบในการ
ดาเนินงานของฝ่ายพัสด ุ เช่น การสารองพัสด ุให้มีใช้อย่างต่อเนื่อง ,
การกระจายการจัดหาไปตามหน่วยงานย่อยๆต่างๆ
หรือการจัดหาแบบรวมศูนย์ เป็นต้น
2. ระเบียบและวิธีปฏิบตั ิงาน
ควรกาหนดแนวทางในการปฏิบตั ิงานให้ชดั เจน ครอบคล ุมงานท ุกขัน้ ตอน
ซึ่งหากระเบียบและวิธีปฏิบตั ิเกี่ยวกับงานพัสด ุไม่ชดั เจน หรือมีขนั้ ตอนมาก
และใช้เวลาในการปฏิบตั ินาน ย่อมมีผลต่อการจัดการงานพัสด ุอย่างมาก
เช่น ระเบียบไม่กาหนดให้มีคณะกรรมการตรวจรับพัสด ุ ทาให้ไม่มี
ผูร้ บั ผิดชอบในการดาเนินงานดังกล่าว เป็นต้น
สภาพแวดล้อมที่มีความสาคัญต่อการจัดการงานพัสด ุฯ
ประกอบด้วย
3. วัฒนธรรม
หมายถึง ค่านิยม ประเพณีและพฤติกรรมของบ ุคคล
ในองค์การ ซึ่งมีผลกระทบต่อการจัดการงานพัสด ุ
เช่น ค่านิยมสินค้าที่มียี่หอ้ เป็นที่นิยม ทาให้ผใ้ ู ช้ไม่
สนใจแหล่งขายอื่น ยึดติดกับยี่หอ้ ผลที่ตามมาคือต้อง
ซื้อพัสด ุในราคาแพง ทัง้ ที่อาจมีพสั ด ุยี่หอ้ อื่นที่ดีกว่า
ถ ูกกว่า เป็นต้น
ทรัพยากรในการดาเนินงานพัสด ุ 5 ประการ
ประกอบด้วย
1. ผูร้ บั ผิดชอบงานพัสด ุ
ซึ่งต้องมีความร ้ ู ความสามารถ ประสบการณ์และความชานาญ
ในงานพัสด ุที่รบั ผิดชอบ สามารถให้คาแนะนาที่มีประโยชน์ต่อ
ผูใ้ ช้พสั ด ุได้ มีมน ุษยสัมพันธ์มนั่ ติดตามแนวโน้มความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง และเป็นผูม้ ีจริยธรรม และ
จรรยาบรรณที่ดี
ทรัพยากรในการดาเนินงานพัสด ุ 5 ประการ
ประกอบด้วย
2. ผูใ้ ช้พสั ด ุ
ต้องมีความร ้ ู ความเข้าใจในพัสด ุที่จะใช้งาน สามารถให้
คาแนะนาแก่เจ้าหน้าที่จดั หาในการเลือกสรรและกาหนด
ค ุณลักษณะของพัสด ุได้ตรงกับความต้องการ ช่วยประหยัด
งบประมาณในการจัดหาได้
3. เงิน
มีความสาคัญอย่างมาก หากไม่มีเงินก็ไม่สามารถจัดหาได้
หรือแม้แต่มีเงิน แต่ไม่สามารถบริหารและควบค ุมการใช้จ่าย
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็อาจทาให้เกิดการคอร์รปั ชัน่ หรือ
จัดหาโดยไม่คานึงถึงความประหยัดได้ แต่หากมีการควบค ุม
การใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพจะทาให้ช่วยลดต้นท ุนการ
จัดการด้านพัสด ุได้
4. พัสด ุ
คือ พัสด ุที่ใช้สาหรับการดาเนินงาน ควรมีใช้
เพื่อให้สามารถดาเนินงานด้านพัสด ุได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น เช่น คอมพิวเตอร์
โทรศัพท์ Fax เป็นต้น
5. อื่น ๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กฏหมาย
ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ย่อมมีผลกระทบต่อการจัดการงานพัสดุ
ภาวะดังกล่าว ได้แก่ นโยบายรัฐ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการจัดการ
งานพัสดุทงั้ ทางตรงและทางอ้อม เช่น
- นโยบายคอมพิวเตอร์เอื้ออาทร รัฐเข้ามาสนับสนุนในการซื้อ
คอมพิวเตอร์ทาให้สามารถจัดซื้อได้ในราคาที่ถกู ลง
- หรือกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปั ญญา
ทาให้สถาบันฯต้องเสียค่าธรรมเนียมสิทธิการใช้ทรัพย์สินทางปั ญญาใน
ราคาแพง เป็ นต้น
การได้มาซึ่งพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศฯ
1. ความต้องการพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศ หมายถึง
ความต้องการที่ได้จากการสารวจและรวบรวมความต้องการพัสดุจาก
หน่วยงานต่างๆของสถาบันฯ เพื่อรวบรวบความต้องการมีพสั ดุไว้ให้
เพียงพอกับการใช้งาน เนือ่ งจากพัสดุเป็ นปั จจัยที่สาคัญประการหนึง่ ใน
การสนับสนุนการดาเนินงานของสถาบันฯ ดังนัน้ จึงต้องจัดหาพัสดุให้
เพียงพอและต่อเนือ่ งตอบสนองความต้องการใช้พสั ดุได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
การได้
องสถาบันนบริ
ารสารสนเทศฯ
การได้มมาซึ
าซึ่ง่งพัพัสสดุดขุของสถาบั
บริกการสารสนเทศฯ
ประเภทของความต้องการพัสด ุ แบ่งได้ 5 ประเภท ดังนี้
1.1 ความต้องการเบื้องต้น คือ
รายการและจานวนพัสด ุที่ตอ้ งการใช้ งานเป็นครัง้ แรก
และไม่เคยจัดหามาก่อน เช่น
- การจัดตัง้ สถาบันบริการสารสนเทศใหม่
- การจัดตัง้ หน่วยงานใหม่
- หน่วยงานเดิมมีความจาเป็นต้องจัดหาพัสด ุ
รายการใหม่
ประเภทของความต้องการพัสด ุ
1.2 ความต้องการทดแทน คือ รายการและจานวนพัสดุที่
ต้องการมีไว้ทดแทนรายการเดิมที่เคยจัดหามาแล้ว เช่น
- พัสดุเดิมชารุดจนมาสามารถซ่อมแซมได้
หรือหากซ่อมได้ก็ไม่คมุ้ กับค่าใช้จา่
- พัสดุเดิมเสื่อมสภาพ ไม่เหมาะทีจะใช้งานต่อไป
- สูญหายจากการโจรกรรม
- ไม่อาจใช้งานได้ โดยได้รบั ผลกระทบจากภัยพิบตั ิ
ต่างๆ
ประเภทของความต้องการพัสด ุ
1.3 ความต้องการสารองพัสด ุคงคลัง
หมายถึง รายการและจานวนพัสด ุที่ตอ้ งการมีไว้เพื่อ
จัดเก็บสารองเผื่อไว้ให้มีพสั ด ุใช้ได้อย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ ซึ่งจะทาได้โดยมีประเด็นต่อไปนี้
- ความถี่และปริมาณความต้องการเบิกใช้พสั ด ุ
- พื้นในการจัดเก็บพัสด ุมากน้อยเท่าไหร่
- การเสื่อมสภาพของพัสด ุ
- ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บพัสด ุ
- ความยากง่ายในการจัดหาพัสด ุ
ประเภทของความต้ องการพัสดุ
1.4 ความต้องการชดเชยระยะเวลาในการจัดหา
หมายถึง รายการและจานวนพัสด ุที่ตอ้ งการสารองไว้
เผื่อใช้งานในช่วงเวลาที่อยูร่ ะหว่างการจัดหา เช่น
- ช่วงเวลาระหว่างการดาเนินการสรรหาผูข้ าย
- ช่วงเวลาในการส่งมอบพัสด ุ
- ช่วงเวลาในการตรวจรับพัสด ุ
1.5 ความต้องการพิเศษ
คือ รายการและจานวนพัสด ุที่ตอ้ งการใช้เป็นครัง้ คราว
นอกเหนือจากการใช้พสั ด ุตามแผนการจัดหาปกติ
ซึ่งอาจเกิดจากงานพิเศษที่ได้รบั มอบหมายเป็นการเฉพาะกิจ
หรือโครงการพิเศษ
การจัดหาพัสด ุของสถาบันบริการสารสนเทศ
หมายถึง การดาเนินการซื้อพัสด ุ การจ้างทาของหรือ
จ้างบริการ การเช่าพัสด ุ การแลกเปลี่ยนพัสด ุและการ
จัดทาพัสด ุเอง เพื่อใช้ในงานของสถาบันบริการ
สารสนเทศ สาหรับหลักการสาคัญในการจัดหา คือ
ค ุณสมบัติถ ูกต้อง ปริมาณถ ูกต้อง แหล่งขายหรือ
รับจ้างให้เช่าถ ูกต้อง สถานที่ถ ูกต้อง เวลาถ ูกต้อง และ
ราคาถ ูกต้อง โดยมีขนั้ ตอนการจัดหาพัสด ุ ดังนี้
การจัดหาพัสด ุของสถาบันบริการสารสนเทศ
ขัน้ ตอนการจัดหาพัสด ุ ดังนี้
1. การกาหนดค ุณลักษณะของพัสด ุ เช่น
- ระบ ุยีห่ อ้ หรือชื่อทางการค้า
- ระบ ุค ุณลักษณะเฉพาะของพัสด ุ
- ระบ ุเกรดทางตลาด/ ระบ ุตามตัวอย่าง
- ระบ ุตามมาตรฐานที่มีการกาหนดไว้
- วิธีผสม
- อื่นๆ เช่น ระบ ุให้มีคมู่ ือภาษาไทย ระบ ุจานวนพัสด ุ
ในหีบห่อต่อหน่วย
2. การหาแหล่งขายหรือรับจ้างหรือให้เช่า
สามารถดาเนินการได้ดงั นี้
2.1 หาแหล่งจากเอกสารและอินเตอร์เน็ต เช่น
นามานุกรม (สมุดหน้าเหลือง ทาเนียบวัสดุกอ่ สร้าง
ฯลฯ)
2.2 แคทตาล๊อกสินค้า วารสารทางการค้า หนังสือคูม่ ือผูซ้ ื้อ
เว็บไซต์ทางการค้า เป็ นต้น
2.3 หาแหล่งจากประสบการณ์และความจาของเจ้าหน้าที่พัสดุ
2.4 การหาแหล่งโดยการสอบถามจากหน่วยงานอื่นหรือ
ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะ
3. การจัดหาพัสด ุสถาบันบริการสารสนเทศ
มี 2 วิธีใหญ่ๆ คือ
3.1 การจัดหาโดยตรง
3.2 การจัดหาโดยการประมูล และพิจารณาการจัดหาวัสดุ
ครุภณ
ั ฑ์ตา่ งๆ ด้วยวิธีการการกาหนดราคา ดังนี้
- การตกลงราคา
- การสอบราคา
- การประกวดราคา
- วิธีพิเศษ
- กรณีพิเศษ
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2535 แบ่งวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง เป็ น 5 วิธี
ดูรายละเอียดในหนังสือหน้า 95-101
การจัดการพัสด ุของสถาบันบริการสารสนเทศ
1. การควบคุมและแจกจ่ายพัสดุของสถาบันบริการสารสนเทศ
1.1 การควบคุมพัสดุ มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้มพี ัสดุ
เพียงพอและต่อเนือ่ ง เพื่อมิให้มพี สั ดุมากเกินความจาเป็ น เพื่อ
เป็ นการประหยัดงบประมาณ โดยมีเครื่องมือในการควบคุม
ดังนี้
- ทะเบียนควบคุมพัสดุคงคลัง
- บัญชีควบคุมพัสดุ
การจัดการพัสด ุของสถาบันบริการสารสนเทศ
1.2 การเก็บรักษาพัสดุ แบ่งการจัดเก็บได้ 2 ประเภท คือ
การเก็บพัสดุระยะสัน้ และการเก็บรักษาพัสดุสารองคงคลัง
โดยมีหลักการวางแผนในการจัดเก็บ ดังนี้
1.2.1 การวางแผนให้สามารถใช้พื้นที่ที่จดั เก็บให้เกิดประโยชน์สงู สุด
โดยกาหนดขนาดพื้นที่คลังพัสดุให้เหมาะสมกับจานวน กาหนดการบรรจุ
หีบห่อให้เหมาะสมกับพื้นที่ และกาหนดวิธีการจัดวางให้สามารถใช้
ประโยชน์ได้สงู สุด
การเก็บรักษาพัสด ุ
1.2.2 การวางแผนการเก็บพัสดุให้สามารถประหยัดแรงงานและเวลา
โดย เก็บรักษาพัสดุประเภทเดียวกันให้อยู่ในกลุม่ เดียวกัน เก็บรักษา
พัสดุที่มคี วามถี่ในการรับและจ่ายสูงไว้ใกล้พื้นที่รบั และจ่ายพัสดุ เก็บ
รักษาพัสดุที่มขี นาดใหญ่ หรือมีนา้ หนักมากไว้ใกล้พื้นที่รบั จ่าย เพื่อ
ประหยัดค่าขนย้าย เวลาและแรงงาน
1.2.3 การวางแผนการเก็บรักษาให้สามารถเข้าถึงพัสดุได้โดยเร็ว
โดยจัดพื้นที่ให้สามารถวางกองซ้อนพัสดุบางประเภทที่ไม่ตอ้ งจัดเข้าชัน้
หรือตู้ จัดพื้นที่ให้สะดวกต่อการขนย้ายและลาลียงพัสดุเข้าและออกได้
สะดวก
การเก็บรักษาพัสด ุ
1.2.4 การวางแผนการจัดเก็บโดยคานึงถึงลักษณะพิเศษของพัสดุ
เช่น พัสดุอนั ตราย พัสดุที่เสี่ยงต่อการสูญหาย และพัสดุที่เสื่อมสภาพ
หรือเน่าเสียได้งา่ ย
1.2.5 การกาหนดมาตรการป้องกันการรักษาพัสดุให้ปลอดภัย
โดยกาหนดมาตรการต่างๆ ดังนี้ การป้องกันพัสดุสญ
ู หาย
การป้องกันอัคคีภยั การป้องกันภัยธรรมชาติ การป้องกันความ
เสียหายจากการจัดวาง และการป้องกันแมลงและสัตว์ทาลาย
การดูแลบารุงรักษาพัสดุ
หมายถึง การดาเนินการต่างๆเพื่อให้พสั ด ุอยูใ่ นสภาพที่สามารถใช้
งานได้ตามปกติ รวมถึงการซ่อมแซมแก้ไขให้พสั ด ุที่ชาร ุดเสียหาย
กลับคืนสูส่ ภาพที่ใช้งานได้ดีดงั เดิม
แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้
1. การด ูแลบาร ุงรักษาแบบป้องกัน โดยการด ูแลบาร ุงรักษาพัสด ุ
เบื้องต้น และการจ้างบาร ุงรักษา โดยต้องพิจารณาจากการประเมิน
เปรียบเทียบค่าใช่จ่าย และความเหมาะสมตามสถานการณ์
2. การซ่อมแก้ มีหลายวิธี ดังนี้ การซ่อมแซม การซ่อมสร้าง
การซ่อมใหญ่ การดัดแปลง และการย ุบรวม
การจาหน่ายพัสด ุ
หมายถึง การนาพัสดุออกจากการควบคุมพัสดุและการควบคุม
ทางบัญชีและภาระความรับผิดชอบ
ก.สาเหตุของการจาหน่ายพัสดุ เช่น ชารุดจากการทางาน
พัสดุเสื่อมสภาพจากการจัดเก็บ พัสดุลา้ สมัย พัสดุหมดความ
จาเป็ นในการใช้งาน พัสดุคงเหลือจากความผิดพลาดในการจัดหา
พัสดุสญ
ู หาย และไม่อาจใช้งานได้เกิดจากภัยพิบตั ติ า่ งๆ
ข.แหล่งที่มาของข้อมูลที่ตอ้ งจาหน่ายออก
- รายงานการตรวจสอบพัสดุประจาปี
- หน่วยงานหรือผูร้ บั ผิดชอบพัสดุเป็ นผูแ้ จ้งให้จาหน่าย
การตกแต่งภายในและสภาพแวดล้อม
ของสถาบันบริการสารสนเทศ
หัวข้อสาคัญ ดังนี้
• การตกแต่งภายในอาคารสถาบันบริ การสารสนเทศ
• การจัดสภาพแวดล้อมของอาคารสถาบันบริ การสารสนเทศ
• การออกแบบและติดตั้งป้ ายอาคารสถาบันบริ การสารสนเทศ
• การจัดภูมิทศั น์ประกอบอาคารสถาบันบริ การสารสนเทศ
การตกแต่งภายในอาคารสถาบันบริการ
สารสนเทศ
คือ การกาหนดแบบและบริ เวณที่ต้ งั ครุ ภณ
ั ฑ์ ตลอดจนการใช้วสั ดุตกแต่ง
บริ เวณภายในอาคาร เช่น พื้น ผนัง เพดาน เป็ นต้น เพื่อความสวยงาม
เหมาะสม และประโยชน์ใช้สอย โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
1. การใช้วสั ดุตกแต่งภายใน คือ การเลือกวัสดุที่ใช้ตกแต่งพื้น ผนัง ฝ้ า
เพดาน ให้เหมาะสมกับคุณภาพและราคา ดังนี้
1.1 วัสดุที่ใช้ตกแต่งพื้นอาคาร
เช่น พื้นกระเบื้องยาง พื้นไม้ปาร์เก้ พรม กระเบื้องเซรามิก
หิ นขัด หิ นธรรมชาติ
1.2 วัสดุที่ใช้ตกแต่งผนังอาคาร เช่น
- ฉาบปูนทาสี
- กระดาษหรื อไวนิลปิ ดผนังหรื อวอลเปเปอร์
- หิ นอ่อน
- วัสดุเคลือบผนัง
- วัสดุเก็บเสี ยง
- อื่นๆ เช่น ผ้าม่าน หรื อม่านปรับแสง
1.3 วัสดุที่ใช้ตกแต่งเพดาน เช่น
- ฉาบปูนทาสี
- บุวสั ดุแผ่นกันเสี ยง
- เพดานคอนกรี ตสาเร็ จรู ป
1.4 สี
การใช้ภายในอาคารมีผลทางด้านจิตวิทยาต่อผูใ้ ช้สอย
อาคารและลักษณะการใช้สอยอาคาร เพราะสีอาจทาให้รส้ ู ึก
ทางด้านอ ุณหภ ูมิ เช่น อบอนุ่ เยือกเย็น หรืออาจทาให้รส้ ู ึก
เศร้า หรือสน ุกสนาน ดังนัน้ การเลือกใช้สีจึงเป็นเรื่องสาคัญ
หลักการเลือกใช้สี มีดงั นี้
- ควรใช้สีอ่อนที่ไม่สะท้อน
- ควรใช้สีน่าประทับใจ เช่น สีเขียวผสมขาว
สีควันบ ุหรี่ สีครีม สีงาช้าง สีไข่ไก่
- ควรใช้สีที่เชื้อเชิญเป็นกันเอง เช่น สีฟ้าอ่อน สีน้าทะเลอ่อน
นอกจากนี้ตอ้ งคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างกันอีกด้วย เช่น
- สีที่ใช้กบั เพดาน ควรให้สมั พันธ์กบั สีของวัสด ุพื้นห้อง
และผนังห้อง ควรใช้สีเพดานที่อ่อนกว่าพื้นและผนัง เพื่อทาให้รส้ ู ึก
โล่ง สบาย ไม่อึดอัด
- สีที่ใช้กบั ผนังห้อง ควรใช้สีอ่อนและระวังเงาสะท้อน
รบกวนสายตา
- สีของคร ุภัณฑ์ ควรใช้สีเย็นตา และเป็นสีที่อยู่ในกลมุ่
เดียวกัน โต๊ะอ่านหนังสือไม่ควรใช้สีขาว เพราะอาจสะท้อนแสงเพิ่ม
ความสว่างมากเกินไป
อิทธิพลของสีกบั ความรส้ ู ึกในการมองเห็น
- สีที่ให้ความรส้ ู ึกในเรือ่ งขนาด เช่น สีอ่อนทาให้มองเห็นวัตถ ุ
นัน้ มีขนาดใหญ่กว่าวัตถ ุที่มีสีเข้ม
- สีที่ให้ความรส้ ู ึกในเรือ่ งน้าหนัก สีอ่อนทาให้ด ูมีน้าหนักเบา
- สีที่ให้ความรส้ ู ึกในเรือ่ งความแข็งแรง สีอ่อนจะทาให้เกิด
ความรส้ ู ึกอ่อนแรง นิ่งสงบ เช่น สีเขียวอมฟ้า ฟ้าอมม่วง
ส่วนสีเข้ม เช่น สีแดง สีแสด สีน้าเงินปนเทา มักจะทาให้เกิด
ความรส้ ู ึกแข็งแรง เป็นต้น
อิทธิพลของสีกบั ความรส้ ู ึกในการมองเห็น
- สีที่ให้ความรส้ ู ึกในเรือ่ งอ ุณหภ ูมิ สีเข้มจะให้ความรส้ ู ึกร้อน
เช่น สีแดง สีเหลือง ส่วนสีอ่อนจะทาให้เกิดความรส้ ู ึกเย็น เช่น สี
เขียวอ่อน
- สีที่ให้ความรส้ ู ึกในเรือ่ งความสะอาด ได้แก่ สีขาว สีงาช้าง
- สีที่ให้ความรส้ ู ึกเรือ่ งความภ ูมิฐาน เช่น สีเทา
การจัดสภาพแวดล้อมของอาคาร
สถาบันบริการสารสนเทศ
คือ การจัดบรรยากาศที่ทาให้ผอ้ ู ยูภ่ ายในอาคาร
รส้ ู ึกสบายใจ สดชื่น มีส ุขภาพดี มีการระบาย
อากาศดี มีแสงสว่างเหมาะสม และมีการจัด
สภาพเสียงที่ดี
องค์ประกอบในการจัดสภาพแวดล้อม
ของอาคารสถาบันบริการสารสนเทศ
1. อุณหภูมิ จะต้องเหมาะสมทัง้ ต่อผูใ้ ช้บริการและผูใ้ ห้บริการ
รวมทัง้ ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อความคงทนถาวร โดยทัว่ ไปจะ
กาหนดอุณหภูมใิ นอาคารประมาณ 21 – 23 องศา และไม่ควรตา่ กว่า
16 องศา สาหรับอาคารที่ไม่ได้ออกแบบให้มเี ครื่องปรับอากาศ
อาจใช้วิธีควบคุมอุณหภูมิ โดย กาหนดวางอาคารที่เหมาะสมกับ
ทิศทางลม ออกแบบการจัดวางและขนาดของบานหน้าต่าง ประตู
และช่องลมให้ถกู ต้อง เลือกใช้วสั ดุที่ไม่เก็บความร้อน และการลด
ระดับฝ้ าเพดานหรือเพิ่มความหนาของผนัง
2. ความชื้น
หากมีความชื้นสูงอาจทาให้โลหะ
ในอาคารเกิดสนิมได้ หรืออาจทาให้ทรัพยากร
สารสนเทศประเภทสิ่งตีพิมพ์ข้ ึนราได้ สาหรับ
ความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสมที่ส ุดในอาคาร คือ
45-55 % ในอาคารที่มีเครือ่ งปรับอากาศควรมี
เครือ่ งด ูดความชื้นและเครือ่ งระบายอากาศ
ส่วนอาคารที่ไม่มีเครือ่ งปรับอากาศ ควร
ออกแบบอาคารให้สงู โปร่ง และควรเลือกวัสด ุที่
ทนต่อปฏิกิรยิ าความชื้นด้วย
3. แสงสว่าง
เป็นสิ่งจาเป็นมาก และภายในอาคารควรได้แสงสว่าง
จาก 2 ทาง คือ แสงธรรมชาติและแสงจากไฟฟ้า การ
ออกแบบอาคารที่ทาให้ได้รบั แสงสว่างจากธรรมชาติ
จะช่วยทาให้ประหยัดไฟฟ้า แต่ถา้ มากเกินไปอาจทาให้
รบกวนสายตาได้ และทาให้มีผลต่อทรัพยากร
สารสนเทศและคร ุภัณฑ์ซึ่งอาจชาร ุดเสียหายได้เร็วขึ้น
ส่วนแสงจากไฟฟ้าจะมีระดับคงที่ และควรใช้ประมาณ
30-35 แรงเทียน แต่ถา้ บริเวณที่อยูใ่ นส่วนมุมมืดอาจใช้
ไฟได้ถึง 60-70 แรงเทียน
4. เสียง ภายในอาคาร
การออกแบบระบบเสียงในอาคารที่ดี ควรคานึงถึง
การสะท้อนของเสียง การด ูดกลืนเสียง และการ
กระจายของเสียง ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับการ
เลือกใช้วสั ด ุ การออกแบบร ูปร่างของห้อง และการจัด
คร ุภัณฑ์ เพราะวัสด ุก่อสร้างต่างๆจะมีค ุณสมบัติใน
การด ูดกลืนของเสียง ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของผิว ความ
หนาและความแน่นของวัสด ุ สาหรับวัสด ุที่ช่วยในการ
ด ูดเสียงได้ดี ได้แก่ ม่าน คร ุภัณฑ์ พรม
4. เสียง ภายนอกอาคาร
สาหรับเสียงที่มาจากภายนอก อาจแก้ปัญหาโดยการ
วางผังอาคารให้อยูล่ ึกเข้าไปให้ห่างจากเสียง หรือใช้
กระจกสองชัน้ ปิด หรือติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ
รวมทัง้ อาจทาสนามหญ้าหรือปล ูกต้นไม้เป็นกลมุ่
เพื่อด ูดซึมเสียงได้บา้ ง
ส่วนเสียงที่อยูภ่ ายในอาคาร ก็ตอ้ งแก้ไขโดยหา
สาเหต ุของเสียง เช่น ถ้าเสียงดังจากการเลื่อนโต๊ะ
เก้าอี้ ก็อาจใช้แผ่นยางหรือผ้าสักหลาดติดปลายโต๊ะ
เก้าอี้ เป็นต้น
การออกแบบและติดตัง้ ป้าย สถาบันบริการสารสนเทศ
ในการออกแบบอาคารสถาบันบริการสารสนเทศ
สิ่งสาคัญประการหนึง่ ที่ควรคานึงถึง คือ ป้ายบอก
ข้อมูลหรือทิศทาง เพราะเป็ นเครื่องมือที่ชว่ ยสื่อสาร
และประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลต่างๆ ให้ผเู้ ข้าไปติดต่อทราบ
สาหรับประเภทของป้าย ที่จาแนกตามวัตถุประสงค์ใน
การติดตัง้ มีดงั นี้
การออกแบบและติดตั้งป้ าย สถาบันบริการ
สารสนเทศ
1. ป้ ายบอกทิศทาง (direction sign)
เป็ นป้ ายที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับส่ วนต่างๆของอาคาร ทิศทาง และ
สถานที่ มี 2 ประเภท คือ ป้ ายลูกศร และแผนผัง
2. ป้ ายบอกข้อมูล (information sign)
เป็ นป้ ายที่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับคาแนะนา คาเตือนต่างๆ ป้ ายประเภทนี้ไม่
นิยมใช้สญ
ั ลักษณ์ เช่น ป้ ายบอกเวลาเปิ ด-ปิ ด ป้ ายห้ามใช้เสี ยงดัง เป็ นต้น
3. ป้ ายระบุสถานที่ (identification sign)
เช่น ป้ ายห้องน้ าชาย-หญิง ป้ ายหน้าตูโ้ ทรศัพท์ เป็ นต้น
วัสด ุที่ใช้ทาป้าย
ควรคานึงถึงงบประมาณในการจัดทา ความสะดวกในการทาความ
สะอาด การเคลื่อนย้าย ความสวยงาม และความคงทน โดยอาจพิจารณา
เลือกวัสดุต่อไปนี้
- ไม้ นิยมใช้ไม่มะค่า ไม้แดง ไม้ปีกซ ุง
- ไม้อดั เป็นวัสด ุราคาไม่แพง เหมาะสาหรับภายใน
อาคาร
- โลหะ เป็นวัสด ุที่คงทนมากที่นิยมใช้ ได้แก่ ทองสัมฤทธ์
ทองเหลือง อะล ูมิเนียม สแตนเลสและเหล็กกล้า
- พลาสติก มีหลายประเภทและมีราคาแตกต่างกันไป
เช่น ไฟเบอร์กล๊าส โพลีคาร์บอเน็ต ไวนิล
การออกแบบป้ายกับการใช้สี
- การออกแบบสี ป้าย ควรกลมกลืนกับสถานที่ติดตั้ง แต่ถา้
ต้องการความเด่นชัดอาจใช้สีที่ตดั กันได้ ถ้าต้องการให้รูส้ ึ กว่าบริ เวณนั้น
กว้างขวางควรใช้สีกลางๆ เช่น ถ้าตัวอาคารเป็ นสี อิฐและค่อนข้างมืดควร
ใช้แผ่นป้ ายสี สว่างเพื่อทาให้ดูอ่อนโยนขึ้น เป็ นต้น
- ขนาดของป้ าย ขนาดของป้ ายมีความสาคัญต่อการมองเห็น
เช่นเดียวกับสี โดยทัว่ ไปแล้วขนาดของป้ ายแต่ละประเภทที่ตดิ ตั้งภายใน
อาคารควรออกแบบให้มีขนาดเท่ากัน กรณี ที่มีขอ้ ความต้องบรรจุในป้ าย
น้อย ก็อาจกาหนดตัวอักษรให้แตกต่างกันออกไปได้
การติดตัง้ ป้าย
ควรคานึงถึงความสะดวกในการใช้ ทาเล หรือตาแหน่ง
การมองเห็นได้ชดั เจน และสะดวกต่อการทาความสะอาด
ซึ่งลักษณะการติดตัง้ ป้ายโดยทัว่ ไป มีดงั นี้
- ป้ายห้อยจากเพดาน
- ป้ายยื่นด้านข้าง
- ป้ายติดกาแพงหรือผนัง
- ป้ายวางลอยตัวบนพื้น
10 เรื่อง ทีค่ วรรู้ในการจัดภูมทิ ศั น์ สถาบันบริการสารสนเทศ
• 1. Comfortable places (soft furniture, fireplaces, lights)
• สถานทีต่ ้ องสะดวกสบาย เช่ น มีการจัดเฟอร์ นิเจอร์ สวยงาม มีแสงไฟสว่ าง
เพียงพอ อากาศถ่ ายเทสะดวก
• 2. Meeting rooms and study rooms
• มีห้องประชุ มกลุ่ม และห้ องทีส่ ามารถใช้ ศึกษาร่ วมกันได้
• 3. Supported services (self-check out, drive-up windows, outside pick-up
lockers)
• มีการสนับสนุนในงานบริการต่ างๆ เพือ่ ความสะดวกของตัวผู้ใช้ เช่ น บริการ
ยืมคืนด้ วยตัวเอง, ทีฝ่ ากของหรือตู้ลอ็ กเกอร์ เก็บของ
• 4. Food service (Vending is more practical than coffee shops)
• มีบริการในส่ วนอาหาร โดยอาจจะแยกมุมให้ บริการต่ างหาก
10 เรื่อง ทีค่ วรรู้ในการจัดภูมทิ ศั น์ สถาบันบริการสารสนเทศ
•
•
•
•
5. Multi-functional children’s areas (with special sized doors, murals)
มีมุมเพื่อกาศึกษาสาหรับเด็ก เช่น หนังสื อเด็ก ของเล่นเด็ก
6. Teen friendly areas
มุมสาหรับวัยรุ่ น (ไม่ตอ้ งคิดลึกนะครับ มุมนี้เป็ นมุมสาหรับทากิจกรรมในช่วงสุ ดสัปดาห์
ร่ วมกัน เช่น มีการฝึ กอบรม ฝึ กปฏิบตั ิ หรื อกิจกรรมอื่นๆ เช่น ฉายหนังในวันหยุดสุ ก
สัปดาห์)
• 7. Retail-oriented merchandising (bookstore-like open face shelving)
• นอกจากยืมคืนหนังสื อ หรื อบริ การอ่านแล้ว ห้องสมุดควรมีส่วนที่เป็ นการค้าด้วย เช่น ขาย
หนังสื อที่น่าสนใจ หรื ออุปกรณ์อื่นๆ
10 เรื่อง ทีค่ วรรู้ในการจัดภูมทิ ศั น์ สถาบันบริการสารสนเทศ
• 8. Technology (unobtrusive stations, wireless patios, RFD checkout)
• เทคโนโลยีในห้องสมุดก็ตอ้ งมีความทันสมัยตามยุค หรื อตามสังคมให้ทนั เช่น
มีบริ การ wifi, ใช้ชิป rfid
• 9. Good way finding (more than just good signs – good paths)
• มีวธิ ี เพื่อช่วยให้ผใู ้ ช้หาหนังสื อได้เร็ วขึ้น เช่น ทาป้ ายบอกหมวดหมู่ติดตามชั้น
หนังสื อให้ชดั เจน บอกรายละเอียดครบถ้วน
• 10. Sustainable environment (energy efficiency, green materials, pollution
free)
• ดูแลสิ่ งแวดล้อมด้วย เช่น มุมไหนที่มีผใู ้ ช้นอ้ ยก็อาจจะเปิ ดเครื่ องปรับอากาศให้
น้อยลง บางที่ผมเคยเห็นว่าเครื่ องใช้บางอย่างใช้แผงโซล่าห์เซลล์ดว้ ย
• แหล่งที่มา: http://www.libraryhub.in.th/2011/11/23/ten-things-about-whatpeople-want-design-library-concept/
การจัดภ ูมิทศั น์ประกอบอาคาร
สถาบันบริการสารสนเทศ
1. การใช้ตน้ ไม้ตกแต่งภายในอาคาร
เป็ นการช่วยสร้างบรรยากาศให้ดอู บอุ่น ควรจัดวางในตาแหน่ง
ที่เหมาะสม เช่น โถงพักคอย ไม่ควรใช้ตน้ ไม้ในปริมาณที่มาก
เกินไป อาจทาให้ดรู กรุงรัง และต้องมีการดูแลรักษาเป็ นอย่างดี
ด้วย อาจเลือกต้นไม้ที่ดแู ลได้งา่ ย เลือกพันธ์ที่ใบไม้เขียวสดใส
หรืออาจหาต้นไม้เทียมมาประดับได้ แต่ควรดูแลในเรื่องของฝุ่ น
มากเป็ นพิเศษ
การจัดภ ูมิทศั น์ประกอบอาคาร
สถาบันบริการสารสนเทศ
2. การใช้ภาพตกแต่งภายในอาคาร
การใช้ร ูปภาพต่างๆเป็นวิธีการตกแต่งที่สร้างเสริม
ค ุณค่าของห้อง การเลือกภาพควรเลือกให้เหมาะสมกับ
กิจกรรม และกลมุ่ ผูใ้ ช้งาน อาจใช้ภาพพิมพ์ ภาพเขียน
หรือประติมากรรมนูนต่า ทัง้ นี้ควรคานึงถึงงบประมาณ
ในการจัดหาเตรียมไว้ดว้ ย
การจัดการด้านอาคารสถานที่และ
สภาพแวดล้อมของสถาบันบริการ
สารสนเทศ
ประกอบด้วย 3 เรื่ องสาคัญ คือ
1. การประเมินสภาพอาคาร ครุ ภณ
ั ฑ์และอุปกรณ์ประกอบอาคาร
สถาบันบริ การสารสนเทศ
2. การบารุ งรักษาอาคารสถาบันบริ การสารสนเทศ
3 การจัดการด้านการรักษาความปลอดภัยของอาคารสถาบันบริ การ
สารสนเทศ
การประเมินสภาพอาคาร คร ุภัณฑ์
และอ ุปกรณ์
ในการจัดการด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถาบันบริกการ
สารสนเทศผูร้ บั ผิดชอบงานด้านอาคารสถานที่ จะต้อง
1 รูจ้ กั สังเกตถึงความผิดปกติของอาคาร สามารถประเมิน
สภาพอาคารครุภณ
ั ฑ์และอุปกรณ์ประกอบอาคารในขัน้ ต้น
2 ทราบวิธีการดูแลบารุงรักษาที่ถกู ต้องตามเวลาที่เหมาะสม
สาหรับอาคาร ครุภณ
ั ฑ์และวัสดุอปุ กรณ์ตา่ งๆ เพื่อทาให้อปุ กรณ์
เหล่านัน้ อยู่ในสภาพที่ดี มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน
การประเมินสภาพอาคาร ครุภัณฑ์
และอุปกรณ์
1. การประเมินสถานที่
1.1 โครงสร้างทัว่ ไปและการรับน้าหนักของอาคาร เช่น รอยร้าว รอย
แตก รอยรัว่ การรับน้าหนักของ
ผนัง พื้นและข้อจากัดอื่นๆของ
อาคาร
1.2 วัสด ุตกแต่งภายในอาคาร เช่น วัสด ุตกแต่งพื้นผิว ผนัง ฝ้าเพดาน
โดยประเมินถึงความผิดปกติ ตรวจสอบความเสียหายชาร ุด
1.3 ระบบสายไฟและไฟฟ้าแสงสว่าง เช่น การตรวจสอบโคมไฟ สวิตช์
ปลัก๊ ควรประเมินอาย ุเฉลี่ยของอ ุปกรณ์ประเภทนัน้ ๆ เพื่อจะได้วางแผน
ในเรือ่ งการบาร ุงรักษาได้อย่างถ ูกต้อง
การประเมินสภาพอาคาร ครุภัณฑ์
และอุปกรณ์
2. การประเมินสภาพคร ุภัณฑ์ ต้องตรวจสอบการใช้งาน
ทัว่ ไปว่าสมารถใช้งานได้ตามวัตถ ุประสงค์หรือไม่
3. การประเมินสภาพอ ุปกรณ์ประกอบอาคารและอ ุปกรณ์
สานักงาน เช่น เครือ่ งปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร
ลิฟต์
การบาร ุงรักษาอาคารสถาบันบริการสารสนเทศ
1. งานบารุ งรักษาอาคารสถานทีแ่ ละสภาพแวดล้ อม
1.1 งานทาความสะอาดที่ควรทาเป็ นประจาทุกวัน เช่ น ทาความสะอาดพืน้ ดูด
ฝุ่ น เก็บขยะ ทาความสะอาดห้ องนา้ เป็ นต้ น
1.2 งานทาความสะอาดอุปกรณ์ บางอย่ างทีค่ วรทาเป็ นประจาแต่ อาจไม่ ต้องทา
ทุกวัน เช่ น ของหน้ าต่ าง ช่ องลม ช่ องแสง กันสาด กระจก
1.3 งานซ่ อมแซมส่ วนต่ างๆของอาคารทีช่ ารุ ด เช่ น หลังคารั่ว นา้ รั่ว ฝนสาด
1.4 งานขัดหรือทาความสะอาดพืน้ เช่ น พืน้ กระเบือ้ งยางควรทาการขัดและลง
นา้ ยาเคลือบเพือ่ ความสวยงาม
1.5 งานเปลีย่ นแปลงอาคารบางส่ วน เช่ น ทาสี อาคารใหม่ ทาสี ห้องใหม่
1.6 งานเปลีย่ นวัสดุอุปกรณ์ ทชี่ ารุ ด เช่ น หลอดไฟชารุ ด ก๊ อกนา้ ชารุ ด
1.7 งานดูแลรักษาสภาพภูมทิ ศั น์ เช่ น การตกแต่ งต้ นไม้ ตัดหญ้ า
2. งานบารุงรักษาครุภณ
ั ฑ์และอุปกรณ์ประกอบอาคาร
2.1 งานทาความสะอาดครุภณ
ั ฑ์ เช่น ปั ดฝุ่ นและดูดฝุ่ นเก้าอี้หรือ
โซฟา เช็ดเก้าอี้ ปั ดฝุ่ นม่านบังแดด
2.2 งานรักษาสภาพของครุภณ
ั ฑ์ให้มอี ายุการใช้งานนานขึน้
ครุภณ
ั ฑ์ที่มกี ารเคลื่อนย้ายบ่อยๆ เช่น เก้าอี้ ชัน้ วางหนังสือที่
ต้องรับนา้ หนักมาก ควรทาการหุม้ ขาพัสดุดว้ ยวัสดุประเภทยาง
ผ้าสักหลาด หรือพรม เพื่อรักษาสภาพการใช้งานได้ยาวนานมาก
ขึน้
2.3 งานเคลื่อนย้ายครุภณ
ั ฑ์
ควรมีการเคลื่อนย้ายครุภณ
ั ฑ์ที่หนักๆ เช่น โต๊ะ
ตูห้ นังสือ ปี ละครัง้ เพื่อทาความสะอาด
2.4 อุปกรณ์ประกอบอาคาร เช่น ลิฟต์ เครื่องปรับอากาศ
เครื่องดูดความชืน้ ควรตรวจสอบตามวาระ หรือตาม
คาแนะนาของผูผ้ ลิต
2.5 อุปกรณ์สานักงาน ควรมีการทาความสะอาดสมา่ เสมอ
ตรวจสอบสภาพการใช้งานตามวาระ และคาแนะนาของ
ผูผ้ ลิต
การจัดการด้านรักษาความปลอดภัย
ของอาคารสถาบันบริการสารสนเทศ
1. การจัดการต่อความเสียหายที่เกิดจากบุคคล
1.1 ความเสียหายที่เกิดจากผูใ้ ช้อาคารสถาบัน เช่น การสูญหาย
ของอุปกรณ์สานักงาน เอกสาร หรือสื่อต่างๆ แก้ไขโดยมีจดุ
ตรวจสอบบริเวณทางเข้าออก หรือ ใช้เครื่องป้องกันทรัพยากร
สูญหาย
1.2 ความเสียหายที่เกิดจากบุคคลภายนอก ควรมีการจ้าง
พนักงานรักษาความปลอดภัย รวมทัง้ ติดตัง้ สัญญาณกันขโมย
หรือติดตัง้ กล้องวงจรปิ ด
2. การจัดการต่อความเสียหายจากธรรมชาติ
2.1 ความเสียหายจากอัคคีภยั
ควรคานึงถึงตัง้ แต่การเลือกวัสด ุโครงสร้างอาคาร
การกาหนดความหนาของพื้นอาคาร เลือกวัสด ุที่
ป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟไม่ให้ติดไฟได้ง่าย
นอกจากนี้อาจติดตัง้ อ ุปกรณ์การตรวจจับอ ุณหภูมิ
เครื่องตรวจจับความร้อน และเครื่องตรวจจับควัน
โดยอาจทาให้มีการเชื่อมต่ออ ุปกรณ์ฉีดน้าอัตโนมัติ
หรือใช้น้ายาเคมีในการดับเพลิง เป็นต้น
2.2 ความเสียหายจากน้าและลม จะต้อง
คานึงถึงตัง้ แต่การออกแบบก่อสร้างอาคารตัง้ แต่
แรก ด ูทิศทางแดดและลม หลีกเลี่ยงการเจาะ
หน้าต่างหรือช่องเปิดต่างๆ หรือออกแบบให้มี
ชายคาหรือกันสาดในด้านของทิศทางที่เสี่ยงต่อแดด
และน้าฝน
2.3 ความเสียหายจากสภาพแวดล้อม
เช่น ฝุ่น แมลง แสงแดด ความชื้น ควรคานึงถึง
ความเสียหายเหล่านี้เอาไว้ดว้ ย เพราะอาจเป็น
ความเสียหายทีละน้อย ที่เราอาจไม่ทนั สังเกต
3. การจัดการต่อความเสียหายทางด้านระบบข้อมูล
ต้องมีมาตรการต่างๆเพื่อป้องกันความเสียหาย เช่น
3.1 มีกฎระเบียบและข้อกาหนดในการยืม – คืนวัสด ุอ ุปกรณ์
และเอกสารต่างๆที่ชดั เจน และปฎิบตั ิอย่างเคร่งครัด
3.2 จัดให้มีผค้ ู อยแนะนา
3.3 มีการตรวจสอบอย่างระเบียบ
3.4 มีระบบป้องกันความเสียหายภายใน