การขยายพันธุ์แบบไม่ ใช้ เพศ หมายถึง การเพิม่ จานวนต้ นพืชทีม่ ีลกั ษณะเหมือนต้ นแม่ โดยใช้ ส่ วนต่ างๆของพืช เช่ น ราก ลาต้ น ใบ ลักษณะพิเศษของพืช 1.

Download Report

Transcript การขยายพันธุ์แบบไม่ ใช้ เพศ หมายถึง การเพิม่ จานวนต้ นพืชทีม่ ีลกั ษณะเหมือนต้ นแม่ โดยใช้ ส่ วนต่ างๆของพืช เช่ น ราก ลาต้ น ใบ ลักษณะพิเศษของพืช 1.

การขยายพันธุ์แบบไม่ ใช้ เพศ
หมายถึง การเพิม่ จานวนต้ นพืชทีม่ ีลกั ษณะเหมือนต้ นแม่ โดยใช้
ส่ วนต่ างๆของพืช เช่ น ราก ลาต้ น ใบ
ลักษณะพิเศษของพืช
1. สามารถงอกใหม่ ได้
2. เนือ้ เยือ่ สามารถเชื่อมติดกันได้
ปัจจัยสาคัญทีม่ ีผลต่ อการขยายพันธุ์พชื แบบไม่ ใช้ เพศ
1. ปัจจัยภายในกิง่ และต้ น
- ปริมาณฮอร์ โมนในกิง่
- ความอุดมสมบูรณ์ และการสะสมอาหารของกิง่ และต้ น
- อายุของพืชและชนิดของเนือ้ ไม้
2. ปัจจัยภายนอก
- ฤดูกาล พืชเขตร้ อนนิยมทาในฤดูฝน
พืชเขตหนาวนิยมทาในช่ วงปลายฤดูหนาว
- อุณหภูมิและความชื้น อุณหภูมิ 40 องศาฯ และความชื้นสั มพัทธ์
ของบรรยากาศ 90-100 เปอร์ เซ็นต์
- โรคและแมลงศัตรู
3. ฝี มือและความละเอียด
ประโยชน์ ของการขยายพันธุ์พชื แบบไม่ ใช้ เพศ
1. เพือ่ ดารงพันธุ์พชื เดิมและใช้ ขยายพันธุ์พชื ทีไ่ ม่ มีเมล็ด
2. ให้ ผลผลิตเร็ว
3. ทาได้ ง่ายและสะดวก
4. สามารถรวมพันธุ์ดมี ากกว่ าหนึ่งลักษณะไว้ ในต้ นเดียว
ความแตกต่ างในพืชทีข่ ยายพันธุ์แบบไม่ ใช้ เพศ
1. สภาพแวดล้ อม
2. อายุทเี่ พิม่ ขึน้
3. โรคพืช
การทดสอบการเป็ นโรค
1. สั งเกตจากลักษณะหรือปริมาณผลผลิตพืช
2. ทดสอบโดยวิธีปลูกเชื้อ
3. ตรวจสอบโดยใช้ พชื ทดสอบ
การผลิตและการดารงพันธุ์ให้ ได้ ต้นปลอดโรค
1. ทาการคัดเลือกต้ นที่ไม่ เป็ นโรค
2. ขยายพันธุ์โดยการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่
การกลายพันธุ์ (Mutation)
คือ การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมอย่ างถาวรทีเ่ กิดขึน้ ใน
จีโนไทป์ ของพืช มีลกั ษณะเหมือนต้ นแม่ ทุกประการ
การ mutation เกิดขึน้ ได้ 2 ระดับ
1. ระดับยีน (Gene mutation) เกิดจากการเปลีย่ นแปลงของ
เบสในดีเอ็นเอ เกิดหายไป เปลีย่ นตาแหน่ ง
2. ระดับโครโมโซม (Chromosomal mutation)
*2.1 การเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างโครโมโซม
*2.2 การเปลีย่ นแปลงจานวนโครโมโซม
2.2.1 Aneuploidy (แอนยูพลอยดี) เป็ นการเพิม่ หรือลด
จานวนของโครโมโซมเพียงไม่ กเี่ ส้ นจากจานวนปกติ เช่ น อาจเป็ น 2n ±
1 หรือ n ± 2 เกิดในคน เช่ น กลุ่มอาการดาวน์ (47 chr.)
2.2.2 Euploidy (ยูพลอยดี) มีการเพิม่ หรือลดของจานวน
โครโมโซมทั้งชุด จากจานวนปกติ(2n) แต่ ส่วนใหญ่ จะเป็ นการเพิม่
Polyploidy
พวกทีม่ ีจานวนชุดโครโมโซมเป็ นเลขคี่ (3n , 5n , 7n) มัก
Sterile ใช้ ผลิตพืชสายพันธุ์ไม่ มีเมล็ด เช่ น ฝรั่งไร้ เมล็ด (3n) แตงโมไร้
เมล็ด (3n) เป็ นต้ น
พวกทีม่ ีจานวนชุดโครโมโซมเป็ นเลขคู่ (2n,4n,6n ,8n)
สื บพันธุ์ได้ เช่ น ข้ าวสาลี (4n) ข้ าวโพด (4n) เป็ นต้ น
การกลายพันธุ์เกิดขึน้ ได้ 2 แบบ คือ
1.
2.
การกลายพันธุ์ทเี่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ
กรกลายพันธุ์ทเี่ กิดขึน้ โดยการกระทาของมนุษย์
การกลายพันธุ์ทเี่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ
เกิดการกลายพันธุ์ได้ 2 ลักษณะ คือ
1. การกลายพันธุ์เพียงบางส่ วนของพืช
เรียกการกลายพันธุ์นีว้ ่ า ไคเมอร่ า (Chimera)
เกิดการกลายพันธุ์บริเวณยอดอ่ อนหรือตาของต้ นพืชทีก่ าลังเจริญ ทา
ให้ เกิดอาการด่ างในพืชต่ างๆ
ลักษณะการเกิดไคเมอร่ ามี 3 แบบ
 เพอริคลินอล พบมากทีส
่ ุ ด ชั้นเซลล์ ทกี่ ลายพันธุ์จะเป็ นชั้นบางๆ
หนาเพียงหนึ่งเซลล์ จนถึงหลายเซลล์ ส่ วนมากเป็ นเซลล์ ช้ันนอกเกิด
ล้ อมเนือ้ เยือ่ ปกติจนรอบ

 เมอริคลินอล
พบบ่ อย ชั้นของเซลล์ ทกี่ ลายพันธุ์เป็ นส่ วน
หนึ่งของผิวชั้นนอก ลักษณะไม่ คงที่
 เซ็คทอเรียล พบน้ อยมาก ชั้นของเซลล์ ทก
ี่ ลายพันธุ์เป็ น
ส่ วนหนึ่งของกิง่ สามารถเปลีย่ นกลับไปเป็ นเพอริคลินอล
หรือเมอริคลินอลในไม่ ช้า
2. การกลายพันธุ์ไปจากธรรมชาติท้งั ต้ น
http://generalhorticulture.tamu.edu/HORT604/LectureSuppl/AnatomyChimeras/AnatomyChimeras05.htm
กายวิภาคการเกิดไคมีรา
L-I: ให้ กาเนิดเป็ นเซลล์ ช้ันนอก (epidermis)
L-II: ให้ กาเนิดชั้นคอร์ เทกซ์ ด้านนอก บางส่ วนของท่ อนา้ ท่ ออาหารและโครงสร้ างเกีย่ วกับการสื บพันธุ์
L-III: เป็ นเซลล์ ทอี่ ยู่ลกึ เข้ าไปในปลายยอด ให้ กาเนิดชั้นคอร์ เทกซ์ ด้านใน ท่ อนาท่ ออาหารและ pith
การกลายพันธุ์ทเี่ กิดขึน้ โดยการกระทาของมนุษย์
ทาให้ เกิดการแบ่ งเซลล์ ที่ผดิ ปกติ ซึ่งการทาให้ เกิดการกลาย
พันธุ์หลายวิธี คือ
1. การใช้ ความร้ อนหรือความเย็นสู ง ไม่ นิยม ผลไม่ แน่ นอน เป็ น
อันตรายต่ อพืชสู
2. การติดและต่ อยอด ยอดใหม่ ทเี่ กิดจากตาบริเวรรอยต่ อมักเป็ น
ก่ อให้ เกิด polypoidy
3. การใช้ สารเคมี ก่ อให้ เกิด ก่ อให้ เกิด polypoidy เช่ น Chloral
hydrate, Ethyl mercurychloride และ Sulanilamide
4. การใช้ สาร colchicine ยับยั้งการแบ่ งเซลล์ โดยยับยั้งการสร้ าง
spindle fiber และ cell pate พืชทีเ่ ป็ น polyploidy จะต้ องอยู่ ใน
ระดับเหมาะสมจึงจะให้ ผลดี เช่ น กล้ วยไม้ จะให้ ผลดีในระดับ 3n
5. การใช้ รังสี รังสี ทนี่ ิยมคือ รังสี เอกซ์ รังสี แกรมมา และรังสี
นิวตรอน ใช้ ได้ กบั ทุกส่ วนของพืช ปริมาณความเข้ มข้ นของรังสี เป็ น
ปัจจัยสาคัญ เช่ น ถั่วจะใช้ 5-15 krad ข้ าวใช้ 15-30 krad
การผลิตแตงโมไร้ เมล็ด
ค้ นพบโดย Kihara ชาวญี่ปุ่น โดยวิธีเพิม่ จานวนโครโมโซมจาก 2n เป็ น 4n ด้ วย
สาร Colchicin
(แม่ ) แตงโม 4n
(4n=44)
x
แตงโม 2n (พ่อ)
(2n=22)
F1 แตงโม 3n (3n=33)
นาไปปลูก
แตงโมไม่ มีเมล็ดหรือเมล็ดลีบ
กฎหมายการจดทะเบียนพืช
 การขอจดทะเบียน ผู้จดทะเบียนต้ องเป็ นผู้คด
ิ ค้ นทาขึน้ โดยขยายพันธุ์
พืชพันธุ์ใหม่ แบบไม่ ใช้ เพศมาแล้ ว
 กฎหมายสิ ทธิบัตรและการคุ้มครองพันธุ์พช
ื
สิ ทธิบัตร คือ หนังสื อสาคัญหรือเอกสารสิ ทธิ์ที่รัฐออกให้ เพือ่
คุ้มครองการประดิษฐ์ หรืออกแบบผลิตภัณฑ์ ท้งั มีชีวติ และไม่ มีชีวติ
(พืชและสั ตว์ ) กฎหมายสิ ทธิบัตรคุ้มครองพันธุ์พชื ใหม่ ทเี่ กิดจากการ
ผสมพันธุ์แบบไม่ ใช้ เพสและกรรมวีการผลิต
กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พชื จะคุ้มครองพันธุ์พชื ใหม่ ที่เกิดจากการ
ผสมโดยใช้ เพศ
 ความสาคัญ เพือ่ กระตุ้นเอกชนให้ ขยายการจาหน่ ายได้ กว้ างยิง่ ขึน
้
ส่ งผลให้ เกิดการพัฒนาการผลิตพืชของประเทศ
การขยายพันธ์ ุแบบไม่ ใช้ เพศ
 การตอนกิง่ (Layering)
 การตัดชา (Cutting)
 การต่ อกิง่ หรือทาบกิง่ (Grafting)
 การติดตา (Budding)
 การขยายพันธุ์โดยลาต้ นและรากพิเศษ
 การขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ (In Vitro culture
systems)