หลักการขยายพันธุ์พชื การขยายพันธุ์พชื หมายถึง การเพิม่ จานวนต้ นพืชด้ วยวิธีการต่ างๆ ทั้งจากเมล็ด หรือส่ วนต่ างๆ ของต้ นพืช เพือ่ นาไปปลูกหรือใช้ ประโยชน์ อนื่ ๆ  นักขยายพันธุ์พช ื ทีด่ จี ะต้

Download Report

Transcript หลักการขยายพันธุ์พชื การขยายพันธุ์พชื หมายถึง การเพิม่ จานวนต้ นพืชด้ วยวิธีการต่ างๆ ทั้งจากเมล็ด หรือส่ วนต่ างๆ ของต้ นพืช เพือ่ นาไปปลูกหรือใช้ ประโยชน์ อนื่ ๆ  นักขยายพันธุ์พช ื ทีด่ จี ะต้

หลักการขยายพันธุ์พชื
การขยายพันธุ์พชื หมายถึง การเพิม่ จานวนต้ นพืชด้ วยวิธีการต่ างๆ
ทั้งจากเมล็ด หรือส่ วนต่ างๆ ของต้ นพืช เพือ่ นาไปปลูกหรือใช้
ประโยชน์ อนื่ ๆ
 นักขยายพันธุ์พช
ื ทีด่ จี ะต้ องมีความรู้ ทางด้ านพฤกษศาสตร์ ( Botany ),
กายวิภาควิทยา ( Anatomy ), สั ณฐานวิทยา (Morphology), สรีรวิทยา
( Physiology ) และพันธุศาสตร์ (Genetic)

ความสาคัญของการขยายพันธุ์พชื
1. กระจายพันธุ์พชื ให้ ใช้ ประโยชน์ ได้ อย่ างกว้ างขวาง
2. เพิม่ ความแข็งแรงและซ่ อมแซมต้ นพืชทีไ่ ด้ รับอันตราย
3. สร้ างอาชีพให้ กบั ผู้ทมี่ ีความสนใจ
การขยายพันธุ์พชื แบ่ งได้ 2 ประเภท คือ
1. การขยายพันธุ์พชื แบบใช้ เพศ (sexual propagation) แยกเป็ น
 การขยายพันธุ์โดยใช้ เมล็ด เช่ น พืชล้ มลุกต่ างๆ และพืชต้นบางชนิด
 การขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ (In Vitro culture systems )
 การเลีย้ งไมโครสปอร์ และเกสรตัวผู้ เช่ น ยาสู บ
 การเลีย้ งโอวูล (Ovule) เช่ น คาร์ เนชั่น ยาสู บ พิทูเนีย
 การเลีย้ งเอ็มบริโอทีเ่ กิดจากเซลล์ ร่างกาย (Somatic
Embryogenesis) เช่ น สน
 การเลีย้ งเมล็ด เช่ น กล้ วยไม้
 การเลีย้ งสปอร์ เช่ น เฟิ ร์ น
2. การขยายพันธุ์แบบไม่ ใช้ เพศ (Vegetative หรือ Asexual
Propagation) แยกได้ เป็ น
การตอนกิง่ (Layering)
การตัดชา (Cutting)
การต่ อกิง่ หรือทาบกิง่ (Grafting)
การติดตา (Budding)
การขยายพันธุ์โดยลาต้ นและรากพิเศษ
การขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ (In Vitro culture
systems)
ข้ อดีและข้ อเสี ยของการขยายพันธุ์แบบใช้ เพศ
ข้ อดี
 ทาได้ โดยง่ ายและรวดเร็ว ได้ ต้นพันธุ์จานวนมาก
 เมล็ดมีขนาดเล็กและไม่ แห้ งตายง่ าย จึงทาให้ สะดวกในการขนส่ ง
 ไม่ ค่อยติดโรคไวรัสจากต้ นแม่
 มีรากแก้ ว ทาให้ มค
ี วามแข็งแรง สามารถหยัง่ รากลงไปได้ ลกึ จึงหานา้ และอาหารได้ ดี
 ทาได้ ทุกฤดูกาล
 มีการกลายพันธุ์ ทาให้ มโี อกาสในการได้ พช
ื พันธุ์ใหม่ ทดี่ กี ว่ าต้ นพ่อแม่
ข้ อเสี ย
 มีการกลายพันธุ์ และมักเป็ นไปในทางทีเ่ ลวกว่ าต้ นพ่ อแม่
 ออกผลช้ ากว่ า
 ได้ ต้นทีส
่ ู งใหญ่ จึงไม่ สะดวกต่ อการเก็บเกีย่ วและดูแลรักษา
 ต้ นทีไ่ ด้ มข
ี นาดทีไ่ ม่ สมา่ เสมอ
 พืชบางชนิดไม่ มเี มล็ดหรือเป็ นหมัน
 พืชบางชนิดเพาะเมล็ดแล้ วงอกช้ า ใช้ เวลานาน
ข้ อดีและข้ อเสี ยของการขยายพันธุ์พชื โดยไม่ ใช้ เพศ
ข้ อดี
 ได้ ต้นทีต
่ รงตามพันธุ์
 ออกผลเร็วกว่ าต้ นทีเ่ พาะจากเมล็ด
 ได้ ต้นทีไ่ ม่ สูงเกินไป สะดวกแก่ การเก็บเกีย่ วและดูแลรักษา
 ได้ ต้นทีม
่ ีขนาดสม่าเสมอกัน
ข้ อเสี ย
 ทาได้ ยากกว่ าการเพาะเมล็ด ต้ องอาศัยความชานาญและประสบการณ์
 ขนส่ งไม่ สะดวกเนื่องจากกิง่ หรือต้ นมีขนาดใหญ่ เปลืองพืน
้ ทีแ่ ละเก็บรักษายาก
 ถ้ าต้ นแม่ เป็ นโรค ต้ นใหม่ ทไี่ ด้ มักติดโรคมาด้ วย
 ไม่ มีรากแก้ ว ทาให้ หักล้ มง่ าย
 มักต้ องทาในสภาพอากาศทีเ่ หมาะสมจึงจะมีเปอร์ เซ็นต์ สาเร็จสู ง
โรงเรือนขยายพันธุ์พชื และวัสดุปลูก
(Greenhouse in Plant Propagation and Growing Media)
ชนิดของโรงเรือน
1.
2.
โรงเรือนทีส่ ามารถควบคุมปัจจัยได้ ทุกอย่ าง ได้ แก่ โรงเรือนกระจก
โรงเรือนพลาสติก
โรงเรือนทีใ่ ช้ สาหรับเลีย้ งดูต้นทีม่ ีอายุน้อย และยังไม่ แข็งแรงดีให้
สามารถเจริญเติบโตได้ ต่อไป ได้ แก่ โรงเรือนไม้ ระแนง
โรงเรือนกระจก (glasshouse)
โรงเรือนพลาสติก (plastichouse)
วัสดุทาหลังคา
 กระจก มีอายุการใช้ ยาวนานและแสงผ่ านได้ ดี แต่ มีราคาสูง
 พลาสติก จาแนกออกเป็ น
ก. วัสดุทาหลังคาทีย่ ดื หยุ่นได้
 โพลิเอทิลน
ี อายุการใช้ งาน 1 – 2 ปี มี ให้ แสงผ่ านได้ 85 %
 โพลิไวนิลฟลูออไรด์ อายุการใช้ งาน 8 – 10 ปี แสงผ่ านได้ ดีมาก
มีราคาสู งกว่ าโพลิเอทิลนี 5 เท่ า
 แผ่ นฟิ ล์ มโพลิไวนิลคลอไรด์ มีความยืดหยุ่น ทนทานกว่ า
โพลิเอทิลนี และมีราคาแพงกว่ า
ข. วัสดุทไี่ ม่ มีความยืดหยุ่น
- ไฟเบอร์ กลาส ทาจากยางโพลิเอสเทอร์ เสริมด้ วยไฟเบอร์
กลาส แสงผ่ านได้ ประมาณ 80 – 90
- อะครีลกิ มีความทนทานต่ อสภาพอากาศ ยอมให้ แสงผ่ านได้
ดีมาก มีราคาสู งกว่ าไฟเบอร์ กลาส ทนต่ อแรงอัดแต่ เปราะ
และติดไฟง่ าย
- โพลิคาร์ บอเนต เก็บความร้ อนได้ ดเี หมือนอะครีลกิ และยอม
ให้ แสงผ่ านได้ 90 %
Hotbeds
เป็ นโครงสร้ างขนาดเล็กและเตีย้ คล้ายโรงกระจกที่ไม่ ต้องการลงทุนมาก
เหมาะสาหรับการเพาะเมล็ดและชากิง่ ในพืน้ ทีท่ มี่ ีอากาศหนาวเย็น ใช้
สาหรับงานขยายพันธุ์จานวนไม่ มากนัก
Coldframe หรือ sunframe
เป็ นโครงสร้ างเช่ น เดียวกับ hotbeds มีฝาปิ ดสนิทจึงได้ รับความร้ อนจาก
แสงแดด มีความชื้นสู งใช้ สาหรับเลีย้ งต้ นกล้าขนาดเล็กหรือกิง่ ชาทีอ่ อก
รากแล้วให้ สามารถปรับตัวได้ ก่อนย้ ายปลูกกลางแจ้ งต่ อไป
Pad and fan cooling system
เป็ นระบบการลดอุณหภูมิภายในโรงเรือน
โรงไม้ ระแนง (lathhouse)
พรางแสงหลังคาสาหรับพืชทีป่ ลูกในกระถางหรือ
ต้ นทีย่ ้ ายปลูกใหม่ หรือพืชทีต่ ้ องการเอาใจใส่ มาก
ทิศทางของโรงเรือนอยู่ในแนวเหนือใต้ เพือ่ ให้
รับแสงอย่ างสม่าเสมอ วัสดุทาหลังคา เช่ น saran
กระบะปักชา (propagation beds)
สู งประมาณ 70 เซนติเมตร กว้ าง 1.20 เซนติเมตร ใส่ วสั ดุชาสู ง
ครึ่งหนึ่งของกระบะ ระบายนา้ ได้ ดี มีการพรางแสงประมาณ 30-50 %
ใช้ สาหรับการตัดชากิง่ แก่ หรือตัดชาราก การเพาะเมล็ด
กระบะเก็บความชื้น (propagation cases)
กระบะปิ ดทึบโดยรอบด้ านบนปิ ดด้ วยกระจกหรือพลาสติกแสงผ่ าน
ได้ สามารถเก็บความชื้นสั มพัทธ์ อากาศได้ มีการพรางแสงให้ เพือ่ ไม่ ให้
อุณหภูมิภายในสู งเกินไป วิธีนีไ้ ม่ ต้องรดนา้ บ่ อยใช้ กบั การเพาะเมล็ด
กระบะพ่นหมอก (mist beds)
ใช้ ในการขยายพันธุ์พชื ทีใ่ ช้ วธิ ีการตัดชากิง่ อ่อนที่
มีใบติดอยู่ด้วย ใช้ เวลานานในการเกิดราก สามารถทาให้ เกิด
รากได้ เร็ว อุณหภูมิทเี่ หมาะต่ อการเกิดรากระหว่ าง 18-25
องศาเซลเซียส ความชื้นสั มพัทธ์ สูง ได้ รับแสงแดดเต็ม และมี
การระบายนา้ ออกจากวัสดุชาได้
ระบบพ่นหมอกมี 2 แบบ
แบบพ่นต่ อเนื่อง (continuous mist)
 แบบเปิ ดปิ ดเป็ นช่ วง (intermittent mist) การควบคุมการพ่ นนา้ เป็ น
ช่ วงเวลานั้น สามารถใช้ เครื่องตั้งเวลาทาหน้ าทีก่ ารเปิ ดปิ ดระบบฉีดพ่น
นา้ ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้

วัสดุปลูกทีใ่ ช้ ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช
วัสดุปลูกควรมีคุณสมบัตดิ งั นี้
1. มีความคงตัวและแน่ นเพียงพอสาหรับยึดกิง่ ชาหรือเมล็ดในช่ วง
การออกรากและการเพาะเมล็ด แต่ ควรมีนา้ หนักเบา
2. มีความโปร่ ง มีการระบายนา้ และการถ่ ายเทอากาศได้ ดี แต่
สามารถเก็บรักษาความชื้นได้ ดดี ้ วย
3. มีธาตุอาหารเพียงพอทีพ่ ชื จะใช้ ประโยชน์ ได้ นานพอสมควร
4. ไม่ เป็ นกรดหรือด่ างเกินไป หรือมีสารอืน่ ๆ ทีเ่ ป็ นพิษต่ อพืช
5. ไม่ มีโรค ศัตรู พชื ทีอ่ าศัยอยู่ในดินและเมล็ดวัชพืช
6. มีราคาถูกและสามารถหาได้ ง่าย
วัสดุต่างๆทีใ่ ช้ ในการขยายพันธุ์และเพาะปลูกพืช
วัสดุปลูกทีใ่ ช้ ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช
 ดิน (soil) โครงสร้ างของดินมีหลายประเภท เช่ น
ทราย ดินร่ วน ดินตะกอนและดินเหนียว ประกอบ
ด้ วยแร่ ธาตุอาหารทีพ่ ชื ต้ องการใช้ อย่ างครบถ้ วน
 ทราย (sand) ได้ มาจากการผุพงั ของหินชนิดต่ างๆ
กลายเป็ นหินก้ อนเล็กๆ จึงมีนา้ หนักมาก มีความอยู่
ตัวสู ง ระบายนา้ ได้ ดี ทรายทีใ่ ช้ เป็ นทรายหยาบ
เหมาะใช้ ผสมวัสดุปลูก

พี ท (peat) ได้ จ ากซากพื ช ที่ อ ยู่ ใ นน้ า ในสภาพที่
สลายตัวไม่ สมบู รณ์ อุ้มน้าได้ มากถึง 15 เท่ าของ
น้าหนักแห้ ง มีความเป็ นกรดสู ง มีธาตุอาหารอยู่น้อย
หรือไม่ มีเลย ใช้ เพาะเมล็ดทางพืชสวน ราคาสู ง
 สแฟกนัมมอส (sphagnum moss) เป็ นซากพืชที่
ขึน้ ตามหนองบึง หรื อส่ วนที่ยังมีชีวิตอยู่มาทาให้ แห้ ง
มีนา้ หนักเบา อุ้มนา้ ได้ สูงถึง 10-20 เท่ า มีแร่ ธาตุอาหาร
น้ อย นิยมใช้ ปลูกกล้ าไม้ เล็กๆ หรื อเก็บความชื้นให้ กับ
รากและกิง่ ขณะทาการขนส่ ง
 เวอร์ มิคูไลท์ (vermiculite) เป็ นแร่ ไมก้ าที่ขยายตัว
เพิม่ ขึน้ จากการผ่ านความร้ อน มีนา้ หนักเบา ไม่ ละลาย
น้า สามารถอุ้มน้าได้ 3-4 แกลลอนต่ อลูกบาศก์ ฟุต
ประกอบด้ ว ยธาตุ แมกนี เ ซี ยมและโพแทสเซี ยมมาก
พอที่จะให้ กับพืชทุกชนิด ที่มีจาหน่ ายอยู่มีหลายเกรด
ตามขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง
เพอร์ ไลท์ (perlite) เป็ นซิ ลิกาสี ขาวอมเทาได้ มาจาก
ลาวาของภูเขาไฟ ผ่ านการบดและสภาพความร้ อน
สู งถึง 760 องศาเซลเซี ยส ขยายตัวพองเหมือน
ฟองน้า มีน้าหนักเบา สามารถอุ้มน้าได้ 3-4 เท่ า ไม่ มี
ธาตุอาหาร
 พัมมิซ (pumice) ประกอบด้ วยซิ ลิคอนไดออกไซด์
และอะลูมิเนียมออกไซด์ เป็ นส่ วนมาก ช่ วยทาให้ วัสดุ
ชาโปร่ งขึน้ ระบายนา้ ได้ ดี
 ร็ อควู ล (rockwool) เป็ นวัสดุ ที่ ไ ด้ ม าจากการหลอม
หินชนิดต่ างๆ ที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส แล้ ว
น ามาปั่ น จนเป็ นเส้ นใย มี ค วามสามารถดู ด น้ า ได้
ปริมาณมาก มีการนามาใช้ หลายรูปแบบเช่ น แท่ ง ชิ้น
เม็ด แผ่ น เป็ นสี่ เหลีย่ มลูกบาศก์

เปลื อ กไม้ ชิ้ น เล็ ก ๆ และขี้เ ลื่ อ ย (shredded
bark and wood shavings) ราคาไม่ แพง
น้ า หนั ก เบา การสลายตั ว ช้ า ควรหมั ก
ประมาณ 10-14 สั ปดาห์ ก่ อนนามาใช้
 พลาสติ ก สั ง เคราะห์ (synthetic
plastic
aggregates) ห รื อ เ ม็ ด โ ฟ ม ( urea
formaldehyde foam) สามารถนามาใช้ ช่วย
เพิ่มการระบายน้าและอากาศ และลดความ
หนาแน่ นของเครื่องปลูก มีนา้ หนักเบา
 ปุ๋ ยหมัก (compost) ได้ มาจากอินทรี ย์วัตถุที่
หมักสลายตัวแล้ วส่ วนใหญ่ ได้ มาจากใบไม้
ช่ วยเพิม่ ฮิวมัสทาให้ ดนิ อุ้มนา้ ได้ ดีขนึ้

ขุยมะพร้ าว (coconut dust) น้าหนักเบา สามารถ
อุ้มน้าได้ มาก ถ่ ายเทอากาศดี มีความยืดหยุ่นตัวดี
ไม่ อัดแน่ นง่ าย มีธาตุโพแทสเซี ยมอยู่ด้วย ใช้ เป็ น
วัสดุตอนกิง่ และผสมกับทรายหยาบเป็ นวัสดุเพาะ
เมล็ดได้ ดี
 แกลบดิ บ หรื อ เปลื อ กข้ า ว น้ า หนั ก เบา หาได้ ง่ า ย
ราคาถูก มีการระบายน้าและการถ่ ายเทอากาศได้ ดี
จึงนิยมนามาใช้ เป็ นส่ วนผสมของวัสดุปลูก
 ถ่ านแกลบ,ขีเ้ ถ้ าแกล (paddy huskcharcoals) ได้
จากการเผาแกลบดิ บ ในสภาพเผาไหม้ ยั ง ไม่
สมบูรณ์ เต็มที่ มีน้าหนักเบา สามารถอุ้มน้าได้ ดี มี
ความเป็ นด่ างสู งควรล้ างก่ อนใช้ นิยมนามาใช้ ผสม
กับทรายหยาบเป็ นวัสดุตัดชา ถ้ าใช้ ในกระบะพ่ น
หมอกสามารถนามาใช้ ได้ เลย

 การผสมวัสดุปลูกพืช
วัสดุหลัก ได้ แก่ ดิน ทราย แกลบดิบ แกลบเผา และอื่นๆ แหล่ งธาตุ
อาหารพืช เช่ น ใช้ ปุ๋ยคอก ปุ๋ ยหมักและปุ๋ ยวิทยาศาสตร์ ในอัตราที่เหมาะสม
และเพียงพอกับความต้ องการของพืชแล้วปรับค่ าความเป็ นกรดด่ าง มีการ
ใช้ สารเคมีช่วยปรับสภาพทางฟิ สิ กส์ และ
เคมีของดิน ได้ แก่ Chloropicrin, Vapam
Methyl bromide, และยากันราที่ใช้ ราดกับ
ดิน เช่ น Benlate, Terraclor, Captan
เครื่องมือและการใช้ เครื่องมือ
เครื่องมือเป็ นอุปกรณ์ ทสี่ าคัญในการขยายพันธุ์พชื เครื่องมือที
เหมาะสมช่ วยให้ การขยายพันธุ์พชื ทาได้ รวดเร็วและได้ ผลดียงิ่ ขึน้
ลักษณะทีด่ ขี องกรรไกรตัดแต่ งกิง่
1. มีขนาดกะทัดรัดพอเหมาะมือ มีนา้ หนักค่ อนข้ างเบา สามารถใช้ ตัด
กิง่ เล็กและกิง่ ค่ อนข้ างใหญ่
2. มีใบมีดแข็ง คม ใบมีดไม่ บิดเบีย้ วง่ ายเมื่อใช้ ตัดกิง่ ทีค่ ่ อนข้ างแข็ง
3. มีความคล่ องตัวในการใช้ งาน สามารถทีจ่ ะปลดและเปิ ดล็อกได้โดย
ใช้ มือข้ างเดียว
4. มีส่วนประกอบทีไ่ ม่ ซ้าซ้ อน สามารถที่จะถอดออกมาลับและทา
ความสะอาดได้ ง่าย
5. มีอะไหล่ จาหน่ าย สามารถทีจ่ ะเปลีย่ น บางชิ้นส่ วนได้ เมือ่ เห็นว่ า
จาเป็ น
1. กรรไกรตัดกิง่ (hand pruning shear)
มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบใบมีดตรงและแบบใบมีดโค้ ง ใช้ ตัดและแต่ งกิง่ นิยม
ใช้ แบบใบมีดโค้ง เพราะลักษณะการตัดเป็ นแบบการเฉือน ทาให้ แผลรอย
ตัดไม่ ช้ามากเหมือนกรรไกรใบมีดตรง
ส่ วนประกอบของกรรไกรตัดแต่ งกิง่
ใบมีด เป็ นส่ วนที่ใช้ ตัด
 คานรับ เป็ นส่ วนที่ใช้ รับกิง่ หรือส่ วนที่ต้องการจะตัด
 ที่ล๊อก
 สปริง เป็ นส่ วนที่ใช้ ดน
ั โครงกรรไกรให้ ใบมีดและคานรับแยกออกจากกัน
 นอต เป็ นตัวบังคับไม่ ให้ ตวั สกรู ถอนออก
 สกรู อยู่ด้านหลังตรงข้ ามกับนอตเป็ นตัวปรับใบมีดกับคานรับให้ ห่างกัน
 ด้ าม

การดูแลรักษากรรไกรตัดแต่ งกิง่
เมื่อใช้ ไปนานๆ ใบมีดอาจสึ กกร่ อนหรือทื่อ จาเป็ นต้ องถอด
ออกมาลับให้ คมพร้ อมจะใช้ งาน การถอดปฏิบัตไิ ด้ ดงั นี้
1. ไขนอตถอดนอตออก
2. ใช้ ไขควงถอดสกรู ออก
3. ถอด Spring ออกจากตัวกรรไกร
4. ลับใบมีดด้ วยกระดาษทรายนา้ เบอร์ 1 โดยวางกระดาษทราย
บนพืน้ เรียบแล้ วใช้ ใบมีดทางด้ านเอียงถูกบั กระดาษทราย
5. เมื่อเห็นว่ าคมดีแล้ ว จึงใช้ ใบมีดทางด้ านหน้ าลูบในระนาบ (180
องศา ) กับกระดาษทราย 2-3 ครั้ง
6. ใช้ กระดาษถูส่วนทีเ่ ป็ นสนิมหรือคราบสกปรกออกให้ หมด
7. ประกอบกรรไกรเข้ าที่เดิม โดยเอาส่ วนที่ถอดทีหลังใส่ ก่อน
2. มีดติดตาต่ อกิง่
ใช้ สาหรับงานติดตา ต่ อกิง่ ทาบกิง่ นอกจากนีอ้ าจใช้ เฉือน โคนกิง่ ตัดชา ทา
แผลโคนกิง่ ตัดชา ทาแผลการตอนแบบปาดกิง่ และกรีดกิง่
ลักษณะทีด่ ขี องมีดติดตาต่ อกิง่
เป็ นแบบทีม่ ีขนาดพอเหมาะสามารถที่จะใช้ ติดตากิง่ ทีม่ ขี นาดเล็กได้ หรือใช้
ต่ อกิง่ ต้ นตอที่มีขนาดโต (เส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 4 นิว้ ) ได้
 มีใบมีดคมทน สามารถจะใช้ งานได้ นานๆ โดยไม่ ต้องลับบ่ อยๆ
 ใบมีดเอียง ( Slope) ทางด้ านทีเ่ ฉือนได้ ถนัดมือ
 มีสปริงทีแ่ ข็งแรงไม่ โยกคลอนเมื่อใช้ งาน
 ตัวมีดและสปริงทีแ่ ข็งแรง ไม่ โยกคลอนเมื่อใช้ งาน
 ตัวมีดและสปริงไม่ เป็ นสนิมและหักเปราะง่ าย
 มีส่วนประกอบที่จะใช้ งานครบถ้ วน

มีดติดตาต่ อกิง่
การใช้ มีดติดตาต่ อกิง่
ส่ วนประกอบของมีดติดตาต่ อกิง่
ประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ 3 ส่ วนคือ
1. ใบมีด ประกอบด้ วย คมมีด โหนกสั นมีด และปลายมีด
- คมมีด มีลกั ษณะคล้ายคมสิ่ ว คือด้ านหนึ่งเอียงเป็ นส่ วนที่อ่อน อีกด้ านหนึ่ง
ตรงเป็ นส่ วนทีแ่ ข็งใช้ เฉือนแผ่นตาและเตรียมแผลบนตอ
- โหนกสั นมีด ใช้ สาหรับแกะแผ่ นตาหรือช่ วยลอกแผ่นเปลือกของต้ นตอ
- ปลายมีด เป็ นส่ วนที่คมและแหลมของใบมีด ใช้ กรีดเปลือกต้ นตอเพื่อทาแผล
ในการติดตาต่ อกิง่
2 . ด้ ามมีด มีส่วนสาคัญ 2 ส่ วนคือ
- สปริงพับ ซึ่งจะบังคับมีดให้ แน่ น
- ร่ องเก็บมีด
3. เขา เป็ นส่ วนทีต่ ิดอยู่ปลายด้ าม ทาด้ วยโลหะ กระดูกหรือเขาสั ตว์ หรือ
พลาสติกมีลกั ษณะเป็ นสั นบาง ใช้ สาหรับเปิ ดเปลือกต้ นตอ
การดูแลรักษามีดติดตาต่ อกิง่
1. การรักษาคมมีด การลับมีดติดตาควรปฏิบัติดงั นี้
- ลับมีดด้ วยหินอ่อนที่ใช้ ลบั มีดโกน
- ลับด้ านเดียวโดยเฉพาะด้ านเอียง
- วางใบมีดเอียงทามุม 20 องศา กับหิน
- ลับให้ เต็มหน้ ามีด ( ความยาวของใบมีด )
- ลับให้ เต็มหน้ าหินลับมีด ( ความยาวของหินลับมีด )
- หยดนา้ ล้างหินบ่ อยๆ ขณะลับ
- ตรวจให้ คมมีดคมตลอดหน้ ามีด ( โกนขนทีห่ ลังมือ )
2. การรักษาตัวมีด ส่ วนใหญ่ เป็ นการรักษาสปริงบังคับมีด โดยหยดนา้ มันบริเวณ
ที่เป็ นคานบังคับและสปริงให้ ลนื่
3. การรักษาเขา จะต้ องรักษาให้ อยู่ในสภาพทีล่ นื่ และเป็ นสั นบาง ควรขัดปลาย
เขาให้ พอเหมาะด้ วยกระดาษทรายและทาให้ ลนื่ โดยถูกบั ใบตองเสมอ