บทที่ 3 มวลรวม(AGGREGATES)

Download Report

Transcript บทที่ 3 มวลรวม(AGGREGATES)

บทที่ 3
มวลรวม(AGGREGATES)
มวลรวมสำหรับงำนคอนกรีต
มวลรวม คือ วัสดุที่ใช้สำหรับผสมกับซีเมนต์เพสต์ ทำ
ให้ผลผลิตที่ได้ออกมำเป็ น คอนกรีต
วัตถุประสงค์หลักของกำรใช้มวลรวมในกำรผลิต
คอนกรีต
1.
2.
เพื่อให้ได้คอนกรีตที่มีรำคำถูกลง
เพื่อให้ได้คอนกรีตที่มีควำมแข็งแรงและมีควำม
คงทนต่อกำรใช้งำน
•
มวลรวมที่ใช้มำกที่สดุ คือ หิน และ ทรำย
คอนกรีตทัวไปจะมี
่
หินและทรำยผสมอยู่
ประมำณ 70% - 80% ของปริมำตรคอนกรีต
คุณภำพหินและทรำยที่ใช้ต้องพิจำรณำอย่ำง
พิถีพิถนั เนื่ องจำกจะมีผลกระทบต่อคุณภำพของ
คอนกรีตสดและคอนกรีตที่แข็งตัวแล้วเป็ นอย่ำง
มำก
ประเภทของมวลรวม
แบ่ งตามแหล่งกาเนิด
1. จากธรรมชาติ (Natural Mineral Aggregate)
เกิดจากขบวนการกัดกร่ อนและเสี ยดสี ตามธรรมชาติ
ได้ แก่ หินย่อย (Crushed Stone) กรวดแม่ นา้ (Pebble) และทราย
(Sand)
2. ทีม่ นุษย์ ทาขึน้ (Artificial Aggregate)
ได้ แก่ ดินเหนียวเผา (Burnt Clay)
ประเภทของมวลรวม
1.
2.
3.
แบ่งตำมหน่ วยน้ำหนัก
มวลรวมน้ำหนักเบำ (Light Weight Agg.)
มวลรวมน้ำหนักปกติ (Normal Weight Agg.)
มวลรวมน้ำหนักมำก (Heavy Weight Agg.)
ประเภทของมวลรวม
1.
มวลรวมน้ำหนักเบำ (Light Weight Agg.)
•
ความหนาแน่น 300 - 1,100 กก/ม3 ทีเ่ กิด
จากธรรมชาติ เช่นDiatomite, Pumice, Scoria,
Volcanic Cinder, Tuff
มีการเผาวัสดุธรรมชาติ จนขยายตัว
เนื่องจากก๊าซทีด
่ น
ั ออกมา
เช่น
การเผาดินเหนียว (clay) , ดินดาน (shale
) , หินชนวน (slate ) , perlite , vermiculite
หินดินดาน
หินชนวน
•
ประเภทของมวลรวม
2. มวลรวมน้ำหนักปกติ (Normal Weight Agg.)
• ใช้ในการผลิตคอนกรีตสาหรับอาคารคอนกรีตทัว่ ไป
• ความหนาแน่น 1,500 – 1,800 กก/ม3
และความถวงจ
าเพาะ
่
ประมาณ 2.5 - 2.8
• ไดแก
้ ่ หินปูน หินแกรนิต หินทราย ทรายบก ทราย
แมน
่ ้า
3. มวลรวมน้ำหนักมำก (Heavy Weight Agg.)
• ใช้ในการผลิตคอนกรีตสาหรับอาคารป้องกันการ
แพรกระจายกั
มมันตภาพรังสี เช่น เตาปฏิกรณปรมาณู
่
์
• ใช้หินธรรมชาติและความถวงจ
าเพาะตัง้ แต่ 4 ขึน
้ ไป เช่น
่
Barite, Hematite, Magnetite, Limonite
กำรแบ่งขนำดเม็ดของมวลรวม
1. มวลรวมหยำบ (Coarse Aggregate)
•
•
นิยมใช้ทัว่ ไปมีขนาด 10 มม. (3/8 นิ้ว) ถึง 25 มม. (1 นิ้ว)
ส่วนใหญเป็
(Crushed Stone) ทีไ่ ดจากการระเบิ
ด
่ นหินยอย
่
้
ภูเขาหิน แลวน
่ องการ
้ าไปยอยให
่
้เล็กลงตามขนาดทีต
้
2. มวลรวมละเอียด (Fine Aggregate)
•
•
ขนาดเม็ดเล็กกวา่ 4.75 มม. แตมี
่ ขนาดใหญกว
่ า่ 0.074
มม.
ทีใ่ ช้กันทัว่ ไปไดแก
้ ่ ทรายแมน
่ ้า ทรายบก หรือ
ทรายเหมืองทีผ
่ านการล
างสะอาดแล
ว
่
้
้
ทรายบก
ทรายแม่ นา้
วัสดุที่มีขนำดเม็ดเล็กกว่ำ 0.074 มม. ที่อำจจะปนอยู่
ในทรำย
แบ่งเป็ น 2 ชนิด เช่น
1.
ดินตะกอน หรือ หินฝุ่ น (Silt)
ขนาดเม็ด 0.074 มม. - 0.002 มม.
2.
ดินเหนี ยว (Clay)
ขนาดเม็ดเล็กกวา่ 0.002 มม.
*ดินตะกอนและดินเหนี ยวเป็ นวัสดุที่ไม่พึงประสงค์
สำหรับงำนผลิตคอนกรีต
คุณสมบัตขิ องมวลรวม
วัสดุที่จะนำไปใช้เป็ นมวลรวมต้องมี
คุณสมบัติ 5 ประกำร คือ
1. มีความแข็งแกรง่ (Strength)
2. มีความตานทานต
อการขั
ดสี (Abrasion
้
่
Resistance)
3. มีเสถียรภาพทางเคมี (Chemical Stability)
4. มีรป
ู รางและลั
กษณะผิว (Particle Shape and
่
Surface Texture)
5. มีความสะอาด (Cleanness)
1. ควำมแข็งแกร่ง (Strength)
มวลรวมทีใ่ ช้ผสมคอนกรีตตองสามารถรั
บ
้
แรงกดไดไม
้ น
่ ้ อยกวาก
่ าลังของคอนกรีต เพราะ
คอนกรีตจะไมสามารถรั
บน้าหนักตามความ
่
ตองการ
เนื่องจากหินทีผ
่ สมอยูจะแตก
้
่
เสี ยกอน
่
หินทรายทีใ่ ช้ในปัจจุบน
ั ไมค
ปญ
ั หา
่ อยมี
่
เพราะหินทรายตามธรรมชาติจะสามารถรับแรง
กดไดสู
้ งกวาก
่ าลังอัดของคอนกรีต
หินทรายสภาพดีจะสามารถรับกาลังอัดได้
ประมาณ 700 - 3,500 ksc(kg/cm^2)
ขึน
้ กับชนิดของ
หิน หรือแรประกอบหิ
น
่
กำลังของหินชนิดต่ำงๆ
จานวนตัวอย่ างทดสอบ
กาลังอัดโดยเฉลีย่
กก./ตร.ซม.
278
1,800
หินปูน Limestone
241
1,600
หินทราย Sandstone
79
1,300
หินอ่อน Marble
34
1,200
ควอตไซท์ Quartzite
26
2,600
ไนส์
Gneiss
36
1,500
ชีซท์
Schist
31
1,700
ชนิดของหิน
แกรนิต
Granite
U.S. Bureau of Public Roads
หินแกรนิต
หินปูน
หินครอตไซท์
หินทราย
หินอ่ อน
หินชีซท์
หินไนส์
2. ควำมต้ำนทำนต่อกำรขัดสี
(Abrasion Resistance)
มวลรวมตองทนทานการขั
ดสี โดยเฉพาะการกอสร
้ โรงงาน ถนน
้
่
้างพืน
คอนกรีต
การทดสอบตามมาตรฐาน ASTM C 131 Los Angeles Abrasion Test
ใช้เครือ
่ ง Los Angeles Abrasion Machine โดย
- นาตัวอยางไปชั
ง่ หาน้าหนัก (X) เขาเครื
อ
่ งบด 500 รอบ
่
้
- นาตัวอยางไปล
างผ
านตะแกรง
No.12
่
้
่
- เอาส่วนทีค
่ างไปอบแห
้
้ง ชัง่ น้าหนักทีเ่ หลือ (Y)
- คา่ Abrasion ของตัวอยางหิ
น วัดดวยค
า่ Percentage of Wear
่
้
Percentage of Wear = (X – Y) / X %
X = น้าหนักตัวอยางที
น
่ าไปทดสอบ
่
Y = น้าหนักทีเ่ หลือจากการลางผ
านตะแกรง
No.12
้
่
เครื่องทดสอบ Los Angeles Abrasion Machine
3. เสถียรภำพทำงเคมี (Chemical Stability)
- มวลรวมตองไม
ท
ิ าทางเคมีกบ
ั ซีเมนตเพสต
้
่ าปฏิกริ ย
์
์ หรือ
สิ่ งแวดลอมภายนอกเพราะปฏิ
กริ ย
ิ าจะมีผลให้คอนกรีตแตกราวและ
้
้
สึ กกรอน
่
- มวลรวมปฏิกริ ย
ิ า (Reactive aggregate) จะทาปฏิกริ ย
ิ ากับดาง
่
(Alkalis) ในซีเมนตเพสต
วทาให้เกิดการ
้
์
์ เกิดเป็ นวุนและขยายตั
แตกราว
้
• กรณีทไี่ มอาจหลี
กเลีย
่ งการใช้มวลรวมปฏิกริ ย
ิ า จะตองใช
่
้
้
ปูนซีเมนตที
่ ค
ี าร
างต
า่ คือ มีปริมาณ Na2O กับ K2O
่ อยละของด
้
่
์ ม
ในปูนซีเมนตไม
0.6
่ นรอยละ
้
์ เกิ
ตัวอย่างทีแ่ ช่ ในสารละลายโซเดียมซัลเฟตและแมกนีเซียมซัลเฟต
4. รูปร่ำงและลักษณะผิว
(Particle Shape and Surface Texture)
รู ปร่ างของมวลรวมแบ่ งออกได้ เป็ น 3 ลักษณะ คือ
1. เป็ นก้อน (Chunky) คือ มวลรวมที่มีอตั ราส่ วนความยาว : ความกว้าง : ความหนา
ใกล้เคียงกัน
2. เป็ นแผ่นแบน (Flaky, Plate-like) คือ มวลรวมที่มีอตั ราส่ วนความกว้าง : ความหนา
มากกว่า 3 : 1
3. เป็ นแท่งยาว (Elongated, Needle-like) คือ มวลรวมที่มีอตั ราส่ วนความยาว : ความ
กว้าง มากกว่า 3 : 1 : 1
ลักษณะรูปร่ำงของมวลรวม
Chunky
Shape
Irregular
Highly Irregular
Platelike
Flaky
Round
รู ปร่ างกลม
Cubical
เป็ นเหลีย่ ม
Z
Y
x
เป็ นก้อน x : y : z ~ 1 : 1 : 1
แผ่นแบนx : y ~ 3 : 1
แท่ งยาว x : y : z ~ 3 : 1 : 1
Needlelike
Elongated
มำตรฐำน มอก. 566 รูปร่ำงของมวลรวม
ประเภท
ลักษณะ
ตัวอย่าง
เกลี้ยง ไม่มีเหลี่ยม เนื่องจากถูกน้ ากัด กรวด ทราย จากแม่น้ า หรื อ
(Round)
เซาะหรื อการเสี ยดสี กนั เอง
ชายทะเล
กรวดหรื อทรายบกที่ได้จากบ่อ
ไม่สม่าเสมอโดยธรรมชาติ
ไม่สม่าเสมอ
หิ นเหล็กไฟที่ได้จากพื้นดิน
หรื อมีส่วนกลมอยูบ่ า้ ง หรื อถูกเสี ยดสี มาบ้าง
หรื อขุดขึ้นมา
(Irregular)
และมีเหลี่ยมมน
หิ นทรงลูกบาศก์
มีเหลี่ยมเกิดจากด้านที่เรี ยบ
หิ นย่อยจากเครื่ องโม่ทุกแบบ
เหลี่ยม (Angular)
มาบรรจบกันและเห็นเหลี่ยมได้ชดั
หิ นที่ตกตามไหล่เขา
วัสดุที่มีความหนาไม่มาก
แบน
หิ นที่มีลกั ษณะเป็ นชั้น
(Flaky)
เมื่อเทียบกับความกว้างหรื อยาว
กลม
มำตรฐำน มอก. 566 ลักษณะผิวของมวลรวม
เนื้อผิว
ลักษณะ
แวววาวคล้ายเปลือก
ใสคล้ายแก้ว
หอย
เรี ยบ
กัดเซาะด้วยน้ า หรื อผิว
เรี ยบ
หรื อหิ นเนื้อละเอียด
เป็ นเม็ด
ผิวหน้าเป็ นเม็ดทราย
หิ นเนื้อหยาบ-หยาบ
หยาบ
ปานกลาง
เป็ นผลึก
เห็นผลึกแร่ ชดั เจน
ตัวอย่าง
หิ นเหล็กไฟดา
กรวด หิ นอ่อน เชิร์ท
หิ นชนวน หิ นไรโอ
ไรท์
หิ นทราย หิ นอูไรท์
หิ นบาซอลท์ หิ น
หิ นเชิร์ท หิ นปูน
เฟลไซท์
หิ นแกรนิต หิ นแก
โบไนส์
กำรทดสอบรูปร่ำงมวลรวมตำม BS 882
1. การทดสอบความแบน
นาตัวอย่างหินมาแยกขนาดด้วยตะแกรงมาตรฐาน
นาแต่ละขนาดมาลอดผ่านช่องของ แผ่นความหนา (Thickness gauge)
ช่องของแผ่นวัดความหนาแต่ละช่องจะกว้าง 0.6 เท่า
ของค่าเฉลี่ยของตะแกรงสองขนาดที่หินสามารถลอดผ่าน
ตะแกรงหนึ่ง
แต่ไปค้างบนอีกตะแกรงหนึ่งถัดลงไป
เช่น หินที่ลอดผ่านตะแกรง 1½ นิ้ว ค้างบนตะแกรง 1 นิ้ว
จะมีความกว้างของช่องวัดความหนา = 0.6 (1.5 + 1)/2 = 0.75 นิ้ว
ดัชนีความแบน (Flakiness Index) = (Y/X) 100 %
Y
= น้ าหนักหินที่ลอดผ่านแผ่นวัดความหนา
X
= น้ าหนักหินทั้งหมดที่นามาทดสอบ
ดัชนีควำมแบนของหินตำมมำตรฐำน BS 882
1. คอนกรีตกำลังอัด 20-35 MPa (200-350 ksc)
- ไมเกิ
่ น 40% สาหรับหินโม่ (Crushed Rock)
- ไมเกิ
่ น 50% สาหรับหินไมได
่ โม
้ ่
(Uncrushed Gravel)
2. คอนกรีตกำลังอัดมำกกว่ำ 35 MPa (>350 ksc)
- ไมเกิ
่ น 35% สาหรับมวลรวมทุกประเภท
กำรทดสอบรูปร่ำงมวลรวม
ตำม BS 882
2. กำรทดสอบควำมเรียว
- นาตัวอยางหิ
นมาแยกขนาดดวยตะแกรงมาตรฐาน
่
้
- นาแตละขนาดมาลอดผ
านช
่ งวัดความเรียว (Length
่
่
่ องของเครือ
gauge)
ความกวางของช
าเฉลี
ย
่ ของ
้
่ องแตละช
่
่ องจะมีคา่ 1.8 เทาของค
่
่
ตะแกรงสองขนาด
ดัชนีความเรียว (Elongation Index) = (B/A) 100 %
• A = น้าหนักหินทัง้ หมดทีน
่ ามาทดสอบ
• B = น้าหนักหินไมสามารถลอดผ
านช
่ งวัดความยาว
่
่
่ องเครือ
เรียว
5. ควำมสะอำด (Cleanness)
• มวลรวมตองปราศจากสิ
่ งเจือปน ทีท
่ าให้คอนกรีต
้
สูญเสี ยกาลังและความคงทน
• สิ่ งเจือปนตางๆ
ทีเ่ ป็ นอันตรายตอคอนกรี
ตไดแก
่
่
้ ่ ดิน
เหนียว ฝุ่นหรือผงละเอียด
• สารอินทรีย ์ เช่น เปลือกหอย เศษไม้ สารเคมี
ตางๆ
เช่น คลอไรด ์ และซัลเฟต
่
กำรกำจัดสิ่งปนเปื้ อน
- ฝุ่น ผง ดินเหนียว สามารถกาจัดได้
งาย
โดยการนาไปฉี ดลางด
วยน
้า
่
้
้
- เศษไม้ เปลือกหอย ใช้วิธก
ี ารรอน
่
ผานตะแกรง
ซึง่ จะแยกเศษวัสดุอน
ื่ ๆ
่
ออกได้
- สารเคมีทป
ี่ นเปื้ อนอยูในมวลรวมจะไม
่
่
สามารถมองเห็ นไดด
า่ ดังนั้น
้ วยตาเปล
้
จึงตองใช
ี รวจสอบอืน
่ ๆ
้
้วิธต
สิ่ งเจือปน
กำรตรวจสอบปริมำณฝุ่ นตะกอน (Silt) ในทรำย
วัสดุละเอียดมากๆ เช่น ฝุ่น ผง โคลน หรือ
ตะกอนดิน ทีม
่ ข
ี นาดเล็กสามารถลอดผานตะแกรง
่
เบอร ์ 200 จะทาให้ความแข็งแรง (Strength) และ
ความคงทน (Durability) ของคอนกรีตลดลง
* ASTM C 33 กาหนดปริมาณวัสดุละเอียดเหลานี
่ ้ ไวไม
้ เกิ
่ น
3% - 5%
ปริมำณของสำรปนเปื้ อนในมวลรวมที่
ยอมให้ (ASTM C 33)
ร้ อยละทีย่ อมให้ สูงสุ ดโดยนา้ หนัก
สิ่ งสกปรกทีป่ นเปื้ อน
ในมวลรวมละเอียด
ในมวลรวมหยาบ
1.00
0.25
1. คอนกรีตรับแรงเสี ยดสี
3.00
1.00
2. คอนกรีตทัว่ ไป
5.00
1.00
1. ในงานทีอ่ วดผิวหน้ า
0.50
0.50
2. คอนกรีตทัว่ ไป
1.00
1.00
-
5.00
ดินเหนียว (Clay Lumps)
ฝุ่ น ผง (Silt) ทีล่ อดผ่ านตะแกรงเบอร์ 200
ถ่ านหิน (Coal) หรือ ลิกไนท์ (Lignite)
วัสดุอ่อน เช่ น รากไม้ เศษไม้ ใบไม้ เปลือกหอย
ข้อมูลมวลรวมในกำรออกแบบส่วนผสมคอนกรีต
ค่ำสำคัญของมวลรวม 4 ค่ำที่ตอ้ งนำมำใช้ คือ
1. การดูดซับความชืน
้ ของมวลรวม
(Absorption)
2. ความถวงจ
าเพาะของมวลรวม (Specific
่
Gravity)
3. หน่วยน้าหนักของมวลรวม (Unit Weight)
4. ส่วนคละของมวลรวม (Gradation)
1. กำรดูดซับควำมชื้นของมวลรวม (Absorption)
• มวลรวมมีรูพรุ นภายในบางส่ วนที่ติดต่อกับผิวนอก ดังนั้นมวลรวมจึง
สามารถดูดความชื้น และน้ าบางส่ วนยังสามารถเกาะบริ เวณผิวของมวลรวม
มวลรวมจึงมีความชื้นต่างกันไปตามสภาพธรรมชาติ
• หากมวลรวมอยูใ่ นสภาพแห้งก็จะดูดน้ าผสมเข้าไป ทาให้อตั ราส่ วนน้ าต่อ
ซี เมนต์จริ งลดลง หากเปี ยกอัตราส่ วนน้ าต่อซี เมนต์จริ งก็จะสู ง
ความชืน
้ คือ อัตราส่วน นน.น้าในมวลรวม ตอ
่
นน. แห้งสนิทของมวลรวม
สภำวะของควำมชื้น (States of Moisture)
แบ่งออกเป็ น 4 สภำวะ
1. อบแห้ง (Oven-dry, OD) หินทรายแห้งสนิท
ทาไดโดย
้
การอบในเตาอบทีอ
่ ุณหภูม ิ 105oC ไดน
้ ้าหนักอบแห้ง
2. แห้งในอำกำศ (Air-dry, AD) แห้ง แตชื
้ หรือมีน้า
่ น
เกาะทีผ
่ วิ เล็กน้อย
3. อิ่มตัวผิวแห้ง (Saturated Surface-dry, SSD) ดูดน้าหรือ
ความชืน
้ ไวบนผิ
วจนอิม
่ ตัว แตไม
้
่ มี
่ น้าอิสระ เรียก
ความชืน
้ นี้วา่ คาดู
้ (Absorption)
่ ดซึมความชืน
4. เปี ยก (Wet) น้ามาก มีน้าอิสระเยิม
้ ไหลออกมาจน
เปี ยกแฉะ
Oven-dry
Air-dry
Saturated-Surface dry
Wet
2. ควำมถ่วงจำเพำะ (Specific Gravity)
ควำมถ่วงจำเพำะของวัตถุ คือ
อัตรำส่วนระหว่ำงน้ำหนักของวัตถุ ต่อ
น้ำหนักของน้ำที่มีปริมำตรเท่ำวัตถุ
อุปกรณ์ หาค่ าความถ่ วงจาเพาะและการดูดซึมนา้
ควำมถ่วงจำเพำะ (Apparent Specific Gravity) ของมวลรวมต่ำงๆ
ชนิดมวลรวม
ความถ่ วงจาเพาะ
ช่ วงระหว่ าง
ค่ าเฉลีย่
ทราย
Sand
2.50 - 2.80
2.55
หินปูน
Limestone
2.50 - 2.80
2.66
หินทราย
Sandstone
2.40 - 2.60
2.50
2.60 - 2.70
2.69
แกรนิต Granite
หินแทรพ
Trap rock
2.70 - 3.00
2.90
แบไรท์
Barite
4.00 - 4.60
4.20
เฮมาไตท์
Hematite
4.60 - 5.20
4.80
4.60 - 5.20
4.80
แมกนีไตท์ Magnetite
3. ควำมหนำแน่น หรือ หน่วยน้ ำหนัก (Unit Weight)
หน่วยนำ้ หนัก  =
W
นำ้ หนกมวลรวม
=
กิโลกรม / ลบ.เมตร
ปริมำตรมวลรวม
V
ค่า Unit Weight ขึ้นกับความแน่นของมวลรวม
- สภาวะหลวม เรี ยกว่า ความหนาแน่นหลวม (Loose Unit Weight)
- สภาวะอัดแน่น เรี ยกว่า ความหนาแน่นอัดแน่น (Dry-rodded Unit Weight)
ร้อยละของช่องว่ำง (Percentage of Void)
คืออัตราส่วนระหวางปริ
มาตรช่องวาง
(Void) ใน
่
่
มวลรวม ตอปริ
มาตรรวม(Bulk volume) เพือ
่ แสดง
่
วามวลรวมมี
ช่องวางอยู
ร่ อยละเท
าไร
่
่
้
่
Vv
V
Vs
Vv
Percentage of void
=
V
X 100
อุปกรณ์ ทดสอบหาหน่ วยนา้ หนักและช่ วงว่ างในมวลรวม
4. ส่วนคละขนำดเม็ดของมวลรวม (Gradation of
Aggregate)
มวลรวมทีใ่ ช้ผสมคอนกรีตมีขนาดเม็ดหลายๆ
ขนาดคละปนกันในสั ดส่วนทีเ่ หมาะสม ทาให้
1. ความสามารถเทไดของคอนกรี
ตไหลลืน
่ ไดดี
ึ้
้
้ ขน
2. ประหยัดซีเมนตเพสต
์
์ เป็ นผลให้ราคาคอนกรีตถูกลง
การตรวจสอบส่วนคละขนาดเม็ดของมวลรวม
สามารถทาได้โดยวิธีการรอนผ
านตะแกรงมาตรฐาน
่
่
เรียกวาการวิ
เคราะหส
(Sieve analysis)
่
้
์ ่ วนคละดวยตะแกรง
ขนำดตะแกรงมำตรฐำน
ตะแกรงสาหรับร่ อนหิน
ขนาดตะแกรง
ตะแกรงสาหรับร่ อนทราย
ขนาดช่ องเปิ ด
มิลลิเมตร
ขนาดตะแกรง
ขนาดช่ องเปิ ด
มิลลิเมตร
63.5
3/8 นิว้
9.50
* 2 นิว้
50.8
No.4
4.76
1.5 นิว้
38.1
No.8
2.36
* 1 นิว้
25.4
No.16
1.18
3/4 นิว้
19.0
No.30
0.60
* 1/2 นิว้
12.7
No.50
0.30
3/8 นิว้
9.5
No.100
0.15
* 2.5 นิว้
ตะแกรงมาตรฐานจะมีขนาดเล็กลงครึ่งหนึ่งของขนาดตะแกรงทีถ่ ัดขึน้ ไป
ส่ วนที่มีเครื่องหมาย * หมายถึงตะแกรงขนาดกึง่ กลาง (Half size)
ตะแกรงร่ อนหิน
ตะแกรงร่ อนทราย
กำรปรับแก้สว่ นคละของมวลรวม (Adjustment of Gradation)
กรณี ที่มวลรวมมีส่วนคละไม่ได้ตามข้อกาหนด ASTM C 33 จะต้องทา
การปรับแก้ดว้ ยการนามวลรวมหนึ่งตัวอย่างหรื อสองตัวอย่างที่มีส่วนคละ
แตกต่างกัน มาผสมกันในสัดส่ วนที่เหมาะสม เพื่อให้ได้มวลรวมใหม่ที่มีส่วน
คละตามข้อกาหนด
วิธีการผสมมวลรวมเพือ่ ให้ ได้ ส่วนคละตามข้ อกาหนด ทาได้ 2 วิธี
1. สาหรับใช้ในห้องปฏิบตั ิการ
2. สาหรับใช้ในงานสนาม
กำรพองตัวของทรำย (Bulking of Sand)
เกิดจากแรงตึงผิวของน้าทีเ่ กาะอยูบนผิ
วของทราย
โดย
่
จะดึงให้อนุ ภาคของทรายหางจากกั
น
ทาให้ปริมาตรรวมของ
่
ทรายเพิม
่ ขึน
้ ทรายจะพองตัวเมือ
่ มีความชืน
้ สูงขึน
้ จนถึงจุดๆ
หนึ่ง การพองตัวของทรายจะกลับลดลงจนมีปริมาตรเทาเดิ
่ ม
เนื่องจากแรงตึงผิวของน้าลดลงเมือ
่ ปริมาณน้ามากขึน
้
การพองตัวของทรายละเอียดจะมากกวาการพองตั
วของ
่
ทรายหยาบ
เพราะเม็ดทรายละเอียดน้าหนักเบากวาเม็
่ ดทราย
หยาบ
การพองตัวไมเกิ
้ ในหิน เพราะหินมีขนาดใหญและ
่ ดขึน
่
น้าหนักมาก
แรงตึงผิวของน้าไมสามารถดึ
งให้เม็ดหินหาง
่
่
ออกจากกันได้
ก
ก
40
40
ทรายละเอียด
ปริมาตรเพิม่ ขึ้น ( %)
ข
ค
ค
ข
30
30
20
20
10
10
0
การพองตัวของทรายในภาวะต่ างๆ
ก) ทรายแห้ ง ข) ทรายชื้น ค) ทรายอิม่ ตัว
ทรายหยาบ
0
0
5
5
10
10
15
15
ความชื้น (% โดยน้ าหนัก)
20
20
THE END
นางสาว เทพสุดา สุดเสนาะ
5210110214